แผนจัดการเรียนรู้ทุจริต Flipbook PDF

แผนจัดการเรียนรู้ทุจริต

39 downloads 107 Views 4MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

แผนการจ ั ดการเร ี ยนร ู ้ ม ุ่งเน ้ นฐานสมรรถนะบ ู รณาการเศรษฐกิจพอเพ ี ยง และป้ องกันการท ุ จริต รห ั สว ิ ชา 30201 – 9004 ว ิ ชา การบ ั ญช ี หน่วยงานภาคร ั ฐ หล ั กส ู ตรประกาศน ี ยบ ั ตรว ิ ชาช ี พช ั ้ นส ู ง พ ุ ทธศ ั กราช 256๓ ประเภทว ิ ชา บร ิ หารธ ุ รก ิ จ สาขาว ิ ชาการบ ั ญช ี จ ั ดท ํ าโดย นางก ั ญปภาณณ ั ฏฐ ์ นาทธ ี รน ั นท ์ ภาคเร ี ยนท ี่1 ปี การศ ึ กษา 2565 ว ิ ทยาล ั ยการอาช ี พลองอ ํ าเภอลอง จ ั งหว ั ดแพร่ส ํ าน ั กงานคณะกรรมการการอาช ี วศ ึ กษา


แผนการจ ั ดการเร ี ยนร ู ้ ม ุ่งเน ้ นฐานสมรรถนะบ ู รณาการเศรษฐกิจพอเพ ี ยง และป้ องกันการท ุ จริต รห ั สว ิ ชา 30201 – 9004 ว ิ ชา การบ ั ญช ี หน่วยงานภาคร ั ฐ หล ั กส ู ตรประกาศน ี ยบ ั ตรว ิ ชาช ี พช ั ้ นส ู ง พ ุ ทธศ ั กราช 256๓ ประเภทว ิ ชา บร ิ หารธ ุ รก ิ จ สาขาว ิ ชาการบ ั ญช ี จ ั ดท ํ าโดย นางก ั ญปภาณณ ั ฏฐ ์ นาทธ ี รน ั นท ์ ภาคเร ี ยนท ี่1 ปี การศ ึ กษา 2565 ว ิ ทยาล ั ยการอาช ี พลอง อ ํ าเภอลอง จ ั งหว ั ดแพร่ส ํ าน ั กงานคณะกรรมการการอาช ี วศ ึ กษา


คํานํา แผนการสอนรายวิชา การบัญชีหน่วยงานภาครัฐ รหัสวิชา ๓๐๒๐๑-๙๐๐๔ จัดทําขึ้นเพื่อ เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอน ให้มีประสิทธิภาพ ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร และเพื่อ เป็นหลักฐานในการปฏิบัติหน้าที่การสอนของผู้สอน และเป็นแนวทางสําหรับการสอนแทน เมื่อครูประจําวิชาไม่อยู่ต้องไปราชการ ซึ่งผู้จัดทําได้ศึกษารายละเอียดคําอธิบายรายวิชาของหลักสูตร โดย แบ่งเนื้อหาการสอนออกเป็น 10 หน่วยการเรียนหรือบทเรียน และมีการทดสอบก่อนและหลัง บทเรียนทุกครั้งเพื่อเก็บคะแนนและวัดความก้าวหน้าทางการเรียนของนักศึกษา แล้วนํามาปรับ กระบวนการเรียนการสอน เพื่อให้นักศึกษาเกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงสุดต่อไป สําหรับแผนการสอนรายวิชานี้ผู้จัดทําได้ทุ่มเทกําลัง กาย กําลังใจและเวลาในการศึกษาค้นคว้า ทดลอง เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพต่อการเรียนการสอน และการจัดการเรียนการสอนตามแนวทางหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจแบบพอเพียง และป้องกันการทุจริต ตามกระทรวงศึกษาธิการกําหนด ท้ายที่สุดนี้ผู้จัดทําขอขอบคุณผู้ที่สร้างแหล่งความรู้และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องต่าง ๆ ซึ่งเป็นส่วน สําคัญที่ทําให้แผนการสอนวิชาการบัญชีหน่วยงานภาครัฐ เล่มนี้เสร็จสมบูรณ์เป็นที่เรียบร้อย และหากผู้ใช้พบข้อบกพร่องหรือมีข้อเสนอแนะประการใด ขอได้โปรดแจ้งผู้จัดทําทราบด้วย จักขอบคุณยิ่ง (นางกัญปภาณณัฏฐ์นาทธีรนันท์) วิทยาลัยการอาชีพลอง


สารบัญ เรื่อง หน้า คํานํา ก สารบัญ ข ลักษณะรายวิชา ค ตารางการวิเคราะห์หลักสูตร ง กําหนดการสอน จ หน่วยที่1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีหน่วยงานภาครัฐ 1 1.1 การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินและการบัญชีหน่วยงานภาครัฐ 1.2 ระบบบริหารงบประมาณ 1.3 หลักการจําแนกประเภทรายได้และรายจ่ายของหน่วยงานภาครัฐ 1.4 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ GFMIS 1.5 ผังบัญชีและแบบฟอร์มของระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ GFMIS 1.6 การบริหารเงินงบประมาณของระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ GFMIS 1.7 การบันทึกบัญชีของระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ GFMIS 1.8 แนวทางการแก้ไขข้อผิดพลาดการปรับปรุงบัญชีและรายงานทางการเงิน 1.9 ระบบการควบคุมการเงินของหน่วยงานย่อย หน่วยที่2 การบริหารราชการแผ่นดินและการบัญชีหน่วยงานภาครัฐ 10 2.1 การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน 2.2 การพัฒนาการบัญชีของหน่วยงานภาครัฐ 2.3 เงินของแผ่นดิน 2.4 การบริหารการเงินของทางรัฐบาล 2.5 หลักการและนโยบายบัญชีทั่วไป 2.6 ประโยชน์ของการบัญชีหน่วยงานภาครัฐ 2.7 หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการบริหารการเงินและการบัญชีของหน่วยงานภาครัฐ หน่วยที่3 ระบบบริหารงบประมาณ 17 3.1 งบประมาณ 3.2 คําศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับงบประมาณ 3.3 ความสําคัญของระบบงบประมาณของประเทศไทย 3.4 รูปแบบของงบประมาณ 3.5 การจัดทํางบประมาณของประเทศไทย 3.6 การใช้จ่ายเงินงบประมาณ 3.7 การควบคุมงบประมาณ


สารบัญ (ต่อ) เรื่อง หน้า หน่วยที่4 หลักการจําแนกประเภทรายได้และรายจ่ายของหน่วยงานภาครัฐ 24 4.1 หลักการจําแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ 4.2 หลักการจําแนกประเภทเงินรายได้แผ่นดิน หน่วยที่5 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ GFMIS 26 5.1 เป้าหมายของระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ GFMIS 5.2 หลักการและขอบเขตของการดําเนินงาน ของระบบการบริหารการเงินการคลัง ภาครัฐ GFMIS 5.3 กระบวนงานของระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ GFMIS 5.4 กระบวนการวางแผนและจัดทํางบประมาณโดยสรุป 5.5 กระบวนงานการบริหารงบประมาณ 5.6 การเปรียบเทียบระหว่างระบบเดิมและระบบใหม่ GFMIS 5.7 ประโยชน์ของระบบ GFMIS หน่วยที่6 ผังบัญชีและแบบฟอร์มของระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ GFMIS 33 6.1 ผังบัญชีและแบบฟอร์มของระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ GFMIS 6.2 การบัญชีและเอกสารประกอบรายการ 6.3 การควบคุมเกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การนําเงินส่งคลัง และการเก็บรักษาเงิน 6.4 คําศัพท์ภาษาอังกฤษในระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ GFMIS 6.5 ความหมายของข้อมูลในแบบฟอร์มของระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ GFMIS 6.6 แบบฟอร์มของระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ GFMIS 6.7 งบการเงินของหน่วยงานภาครัฐ หน่วยที่7 การบริหารเงินงบประมาณของระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ GFMIS 40 7.1 การจัดซื้อ การจัดจ้าง การเช่า ผ่านระบบ GFMIS 7.2 หลักเกณฑ์ทั่วไปในการรับและนําส่งเงินในระบบ GFMIS หน่วยที่8 การบันทึกบัญชีของระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ GFMIS 42 8.1 กระบวนการบันทึกรายการเบิกจ่ายเงิน ในระบบ GFMIS 8.2 ระบบการเบิกจ่ายเงินงบประมาณในระบบ GFMIS 8.3เงินรายได้แผ่นดินในระบบ GFMIS 8.4 ระบบรับนําส่งเงินและการเบิกจ่ายเงินนอกงบประมาณฝากคลังในระบบ GFMIS 8.5 เงินนอกงบประมาณฝากธนาคารพาณิชย์ในระบบ GFMIS 8.6 ตัวอย่างการบันทึกบัญชีในระบบ GFMIS


สารบัญ (ต่อ) เรื่อง หน้า หน่วยที่9 แนวทางการแก้ไขข้อผิดพลาดการปรับปรุงบัญชีและรายงานทางการเงิน 48 9.1 หน่วยงานงานที่จัดเก็บรายได้แทนกัน 9.2 แนวทางการแก้ไขข้อผิดพลาดและการปรับปรุงทางบัญชี9.3 ตัวอย่างรายงานทางการเงินระบบ GFMIS หน่วยที่10 ระบบการควบคุมการเงินของหน่วยงานย่อย 51 10.1 ความหมายของหน่วยงานย่อย 10.2 การบัญชีสําหรับหน่วยงานย่อย (คู่มือการบัญชีสําหรับหน่วยงานย่อย พ.ศ.2515) 10.3 วิธีการปฏิบัติทางการเงินของหน่วยงานย่อย 10.4 กระบวนการวางแผนและจัดทํางบประมาณโดยสรุป 10.5 การควบคุมและตรวจสอบ 10.6 ระบบบัญชีส่วนราชการในส่วนที่เกี่ยวกับระบบการควบคุมการเงิน ของหน่วยงานย่อย 10.7 ตัวอย่างการบันทึกรายการควบคุมการเงินของหน่วยงานย่อย


ลักษณะรายวิชา รหัสวิชา ๓๐๒๐๑-๙๐๐๔ วิชา การบัญชีหน่วยงานภาครัฐ ระดับชั้น ปวส. สาขาวิชา การบัญชีจํานวน 3 หน่วยกิต จํานวน 72 ชั่วโมง จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้1. เข้าใจเกี่ยวกับความหมาย วัตถุประสงค์และพัฒนาด้านการบัญชีระบบบริหาร งบประมาณ นโยบายบัญชีระบบบัญชีวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการบัญชีของ หน่วยงานภาครัฐ 2. มีทักษะในการบันทึกบัญชีและจัดทํารายงานทางการเงินของหน่วยงานภาครัฐ 3. มีคุณลักษณะนิสัยที่พึงประสงค์และมีเจตคติที่ดีในการประกอบอาชีพ สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับลักษณะงานของหน่วยงานภาครัฐ 2. ปฏิบัติงานบัญชีของหน่วยงานราชการตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป คําอธิบายรายวิชา ศึกษาเกี่ยวกับความหมาย วัตถุประสงค์แนวคิด และ พัฒนาการด้านการบัญชีของหน่วยงาน ภาครัฐ ระบบการบริหารงบประมาณ หลักการนโยบายบัญชีระบบและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับ การบัญชีและ การจัดทํารายงานทางการเงินของหน่วยงานภาครัฐ


ตารางวิเคราะห์หลักสูตร รหัสวิชา๓๐๒๐๑-๙๐๐๔ ชื่อวิชา การบัญชีหน่วยงานภาครัฐ ระดับชั้น . ปวส. สาขาวิชา/กลุ่มวิชา/. การบัญชีพุทธิพิสัย ทัก ษะพิ สัย จิ ต พิ สัย ลําดับ ความ สําคัญ จํานวน คาบ ความรู้ความ ข้าใจ นําไปใช้วิเคราะห์/ สังเคราะห์ประเมิ น ค่าสร้างสรรค์ 1.หน่วยที่1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีหน่วยงานภาครัฐ √ √ √ √ 1 3 2. หน่วยที่2การบริหารราชการแผ่นดินและ การบัญชีหน่วยงานภาครัฐ √ √ √ √ √ 1 3 3.หน่วยที่3 ระบบบริหารงบประมาณ √ √ √ √ √ 1 3 4. หน่วยที่4 หลักการจําแนกประเภทรายได้และรายจ่ายของหน่วยงานภาครัฐ √ √ √ √ √ 1 3 5. หน่วยที่5 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบการ บริหารการเงินการคลังภาครัฐ GFMIS √ √ √ √ √ 1 3 6.หน่วยที่6 ผังบัญชีและแบบฟอร์มของ ระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ GFMIS √ √ √ √ √ 1 6 7.หน่วยที่7 การบริหารเงินงบประมาณของ ระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ GFMIS √ √ √ √ √ 1 3 8.หน่วยที่8 การบันทึกบัญชีของระบบการ บริหารการเงินการคลังภาครัฐ GFMIS √ √ √ √ √ 1 15 9.หน่วยที่9 แนวทางการแก้ไขข้อผิดพลาด การปรับปรุงบัญชีและรายงานทางการเงิน √ √ √ √ √ 1 6 10.หน่วยที่10 ระบบการควบคุมการเงิน ของหน่วยงานย่อย √ √ √ √ √ 1 9 สัดส่วน 20 60 20 54 รวม 100 พฤติกรรม ชื่อหน่วย


กําหนดการสอน ชื่อหน่วยการเรียนรู้/ รายการสอน สมรรถนะประจําหน่วย/ เกณฑ์การปฏิบัติงาน สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีหน่วยงาน ภาครัฐ 1.1 การจัดระเบียบบริหารราชการ แผ่นดินและการบัญชีหน่วยงานภาครัฐ 1.2 ระบบบริหารงบประมาณ 1.3 หลักการจําแนกประเภทรายได้และ รายจ่ายของหน่วยงานภาครัฐ 1.4 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบการ บริหารการเงินการคลังภาครัฐ GFMIS 1.5 ผังบัญชีและแบบฟอร์มของระบบ การบริหารการเงินการคลังภาครัฐ GFMIS 1.6 การบริหารเงินงบประมาณของระบบ การบริหารการเงินการคลังภาครัฐ GFMIS 1.7 การบันทึกบัญชีของระบบการบริหาร การเงินการคลังภาครัฐ GFMIS 1.8 แนวทางการแก้ไขข้อผิดพลาดการ ปรับปรุงบัญชีและรายงานทางการเงิน 1.9 ระบบการควบคุมการเงินของ หน่วยงานย่อย สมรรถนะ 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับลักษณะงานของ หน่วยงานภาครัฐได้2. แสดงความรู้เกี่ยวกับการบริหารการเงินของ หน่วยงานภาครัฐได้ 1 3 2. การบริหารราชการแผ่นดินและการ บัญชีหน่วยงานภาครัฐ 2.1 การจัดระเบียบบริหารราชการ แผ่นดิน 2.2 การพัฒนาการบัญชีของหน่วยงาน ภาครัฐ 2.3 เงินของแผ่นดิน 2.4 การบริหารการเงินของทางรัฐบาล 2.5 หลักการและนโยบายบัญชีทั่วไป 2.6 ประโยชน์ของการบัญชีหน่วยงาน ภาครัฐ สมรรถนะ1.แสดงความรู้เกี่ยวกับการบริหารราชการ แผ่นดินไทยได้2.แสดงความรู้เกี่ยวกับการบริหารการเงินและ การบัญชีของรัฐบาลไทยได้ 2 3


ชื่อหน่วยการเรียนรู้/ รายการสอน สมรรถนะประจําหน่วย / เกณฑ์การปฏิบัติงาน สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่3. ระบบบริหารงบประมาณ 3.1 งบประมาณ 3.2 คําศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับงบประมาณ 3.3 ความสําคัญของระบบงบประมาณ ของประเทศไทย 3.4 รูปแบบของงบประมาณ 3.5 การจัดทํางบประมาณของประเทศ ไทย 3.6 การใช้จ่ายเงินงบประมาณ 3.7 การควบคุมงบประมาณดูแลรักษา ไมโครมิเตอร์ สมรรถนะ 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับคําศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับ งบประมาณของประเทศไทยได้2.แสดงความรู้เกี่ยวกับระบบงบประมาณของ ประเทศไทยได้ 3 3 4.หลักการจําแนกประเภทรายได้และ รายจ่ายของหน่วยงานภาครัฐ 4.1 หลักการจําแนกประเภทรายจ่ายตาม งบประมาณ 4.2 หลักการจําแนกประเภทเงินรายได้แผ่นดิน สมรรถนะ1. จําแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณได้2. จําแนกประเภทเงินรายได้แผ่นดินได้4 3 5. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบการบริหาร การเงินการคลังภาครัฐ GFMIS 5.1 เป้าหมายของระบบการบริหาร การเงินการคลังภาครัฐ GFMIS 5.2 หลักการและขอบเขตของการ ดําเนินงาน ของระบบการบริหารการเงิน การคลังภาครัฐ GFMIS 5.3 กระบวนงานของระบบการบริหาร การเงินการคลังภาครัฐ GFMIS 5.4 กระบวนการวางแผนและจัดทํา งบประมาณโดยสรุป 5.5 กระบวนงานการบริหารงบประมาณ 5.6 การเปรียบเทียบระหว่างระบบเดิม และระบบใหม่ GFMIS 5.7 ประโยชน์ของระบบ GFMIS สมรรถนะ แสดงความรู้เกี่ยวระบบการบริหารการเงินการ คลังภาครัฐ GFMIS ได้5 3


ชื่อหน่วยการเรียนรู้/ รายการสอน สมรรถนะประจําหน่วย / เกณฑ์การปฏิบัติงาน สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่6. ผังบัญชีและแบบฟอร์มของระบบการ บริหารการเงินการคลังภาครัฐ GFMIS 6.1 ผังบัญชีและแบบฟอร์มของระบบการ บริหารการเงินการคลังภาครัฐ GFMIS 6.2 การบัญชีและเอกสารประกอบ รายการ 6.3 การควบคุมเกี่ยวกับการเบิกจ่ายเงิน จากคลัง การนําเงินส่งคลัง และการเก็บ รักษาเงิน 6.4 คําศัพท์ภาษาอังกฤษในระบบการ บริหารการเงินการคลังภาครัฐ GFMIS 6.5 ความหมายของข้อมูลในแบบฟอร์ม ของระบบการบริหารการเงินการคลัง ภาครัฐ GFMIS 6.6 แบบฟอร์มของระบบการบริหาร การเงินการคลังภาครัฐ GFMIS 6.7 งบการเงินของหน่วยงานภาครัฐ สมรรถนะ ปฏิบัติงานด้านบัญชีการเงินและพัสดุในระบบ GFMIS ได้ในทุกหน่วยงานภาครัฐได้6-7 6 7. การบริหารเงินงบประมาณของระบบ การบริหารการเงินการคลังภาครัฐ GFMIS 7.1 การจัดซื้อ การจัดจ้าง การเช่า ผ่าน ระบบ GFMIS 7.2 หลักเกณฑ์ทั่วไปในการรับและ นําส่งเงินในระบบ GFMIS สมรรถนะ 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างผ่าน PO ในระบบ GFMIS ได้2. ปฏิบัติงานด้านบัญชีการเงินและพัสดุในระบบ GFMIS ได้ในทุกหน่วยงานภาครัฐ 8 3 8.การบันทึกบัญชีของระบบการบริหาร การเงินการคลังภาครัฐ GFMIS 8.1 กระบวนการบันทึกรายการเบิกจ่าย เงิน ในระบบ GFMIS 8.2 ระบบการเบิกจ่ายเงินงบประมาณใน ระบบ GFMIS 8.3เงินรายได้แผ่นดินในระบบ GFMIS 8.4 ระบบรับนําส่งเงินและการเบิกจ่าย เงินนอกงบประมาณฝากคลังในระบบ GFMIS สมรรถนะ 1. บอกกระบวนการบันทึกรายการเบิกจ่ายเงิน ในระบบ GFMIS ได้2. บอก ระบบการเบิกจ่ายเงินงบประมาณใน ระบบ GFMIS ได้3. บอก เงินรายได้แผ่นดินในระบบ GFMIS ได้4. บอกระบบรับนําส่งเงินและการเบิกจ่ายเงิน นอกงบประมาณฝากคลังในระบบ GFMIS ได้5. บอกเงินนอกงบประมาณฝากธนาคาร พาณิชย์ในระบบ GFMIS 9-13 15


ชื่อหน่วยการเรียนรู้/ รายการสอน สมรรถนะประจําหน่วย / เกณฑ์การปฏิบัติงาน สัปดาห์ที่ ชั่วโมงที่8.5 เงินนอกงบประมาณฝากธนาคาร พาณิชยใ์นระบบ GFMIS 8.6 ตัวอย่างการบันทึกบัญชีในระบบ GFMIS 6. ตัวอย่างการบันทึกบัญชีในระบบ GFMIS 9. หน่วยที่9 แนวทางการแก้ไข ข้อผิดพลาดการปรับปรุงบัญชีและรายงาน ทางการเงิน 9.1 หน่วยงานงานที่จัดเก็บรายได้แทนกัน 9.2 แนวทางการแก้ไขข้อผิดพลาดและ การปรับปรุงทางบัญชี9.3 ตัวอย่างรายงานทางการเงินระบบ GFMIS สมรรถนะ 1. บอกหน่วยงานงานที่จัดเก็บรายได้แทนกันได้2. บอกแนวทางการแก้ไขข้อผิดพลาดและการ ปรับปรุงทางบัญชีระบบ GFMISได้3. เข้าใจตัวอย่างรายงานทางการเงินระบบ GFMIS 14-15 6 10. ระบบการควบคุมการเงินของ หน่วยงานย่อย 10.1 ความหมายของหน่วยงานย่อย 10.2 การบัญชีสําหรับหน่วยงานย่อย (คู่มือการบัญชีสําหรับหน่วยงานย่อย พ.ศ .2515) 10.3 วิธีการปฏิบัติทางการเงินของ หน่วยงานย่อย 10.4 กระบวนการวางแผนและจัดทํา งบประมาณโดยสรุป 10.5 การควบคุมและตรวจสอบ 10.6 ระบบบัญชีส่วนราชการในส่วนที่เกี่ยวกับระบบการควบคุมการเงิน ของหน่วยงานย่อย 10.7 ตัวอย่างการบันทึกรายการควบคุม การเงินของหน่วยงานย่อย สมรรถนะ 1. แสดงความรู้เกี่ยวกับหน่วยงานย่อย 2. แสดงความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชีการการเงิน ของหน่วยงานย่อย 16-18 9


1. สาระสําคัญ ผู้ที่จะปฏิบัติงานด้านการเงิน การบัญชีและการพัสดุของหน่วยงานภาครัฐ จําเป็นต้องศึกษาและ มีความรู้เกี่ยวกับ การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินและการบัญชีหน่วยงานภาครัฐ ระบบ บริหารงบประมาณ หลักการจําแนกประเภทรายได้และรายจ่ายของหน่วยงานภาครัฐ ความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ GFMIS ผังบัญชีและแบบฟอร์มของระบบการบริหาร การเงินการคลังภาครัฐ GFMIS การบริหารเงินงบประมาณของระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ GFMIS การบันทึกบัญชีของระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ GFMIS แนวทางการแก้ไข ข้อผิดพลาดการปรับปรุงบัญชีและรายงานทางการเงินของ GFMIS ระบบการควบคุมการเงินของ หน่วยงานย่อย 2. สาระการเรียนรู้1. การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินและการบัญชีหน่วยงานภาครัฐ 2. ระบบบริหารงบประมาณ 3. หลักการจําแนกประเภทรายได้และรายจ่ายของหน่วยงานภาครัฐ 4. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ GFMIS 5. ผังบัญชีและแบบฟอร์มของระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ GFMIS 6. การบริหารเงินงบประมาณของระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ GFMIS 7. การบันทึกบัญชีของระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ GFMIS 8. แนวทางการแก้ไขข้อผิดพลาดการปรับปรุงบัญชีและรายงานทางการเงิน 9. ระบบการควบคุมการเงินของหน่วยงานย่อย 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ประจําหน่วย 3.1 ด้านความรู้และทักษะ 1. บอกหัวข้อเกี่ยวกับการจัดระเบียบบริหารของหน่วยงานภาครัฐได้2. บอกหัวข้อที่จะศึกษาเกี่ยวกับการบริหารการเงินของหน่วยงานภาครัฐได้3. บอกหัวข้อที่จะศึกษาเกี่ยวกับการจัดทําบัญชีของหน่วยงานภาครัฐได้3.2 ด้านคุณธรรม จริยธรรม ที่พึงประสงค์1. มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีมีวินัยในตนเอง มีความขยันและอดทน มีความรับผิดชอบต่อการเรียน มีความ เชื่อมั่นในตนเอง มีน้ําใจต่อครูและเพื่อนร่วมชั้นเรียน และสามารถทํางานร่วมกับผู้อื่นได้2. มีความซื่อสัตย์สุจริต ต่อตนเองและงานที่ได้รับมอบหมาย 3. รู้จักความพอประมาณ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการประยุกต์ใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่า ให้เหมาะสมกับงาน แผนการจัดการเรียนรู้แบบเน้นสมรรถนะ และบูรณาการ หน่วยที่1 วิชา การบัญชีหน่วยงานภาครัฐ (Public Sect0r Accounting) จํานวน 3 ชั่วโมง บทเรียน : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีหน่วยงานภาครัฐ ทั้งหมด 54 ชั่วโมง


4. กิจกรรมการเรียนรู้กิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผู้เรียน แนะนําการเรียน 1. ครูกล่าวต้อนรับและแสดงความยินดีกับนักศึกษา ที่ได้เข้าเรียน วิชาการบัญชีหน่วยงานภาครัฐ 2. ครูแนะนําให้นักศึกษาทราบเกี่ยวกับ - ชื่อวิชา รหัสวิชา - จุดประสงค์รายวิชา - คําอธิบายรายวิชา - วิธีการเรียนการสอน - การวัดผลและประเมินผล กระบวนการเรียนการสอน (ใช้เวลา 3 ชั่วโมง) ขั้นนํา - ครูถามเกี่ยวกับความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการ บัญชีหน่วยงานภาครัฐ โดยให้นักศึกษา ยกตัวอย่าง - นักศึกษาทราบหรือไม่ว่า ความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับการบัญชีหน่วยงานภาครัฐ เราใช้ใน งานส่วนใดบ้าง ขั้นสอน - ครูบรรยาย โดยใช้กระดานไวท์บอร์ด ตามลําดับ หัวข้อดังนี้1. การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินและการ บัญชีหน่วยงานภาครัฐ 2. ระบบบริหารงบประมาณ 3. หลักการจําแนกประเภทรายได้และรายจ่ายของ หน่วยงานภาครัฐ 4. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบการบริหารการเงินการ คลังภาครัฐ GFMIS 5. ผังบัญชีและแบบฟอร์มของระบบการบริหาร การเงินการคลังภาครัฐ GFMIS 6. การบริหารเงินงบประมาณของระบบการบริหาร การเงินการคลังภาครัฐ GFMIS 7. การบันทึกบัญชีของระบบการบริหารการเงินการ คลังภาครัฐ GFMIS 8. แนวทางการแก้ไขข้อผิดพลาดการปรับปรุงบัญชีและรายงานทางการเงิน 1. นักศึกษาฟังและถาม-ตอบ 2. นักศึกษาฟังและตอบคําถาม ซักซ้อมความเข้าใจ 3. นักศึกษาตอบคําถามและยกตัวอย่าง เช่น 1. การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินและการ บัญชีหน่วยงานภาครัฐ ฉบับที่2 พ.ศ. 2546 มีวัตถุประสงค์ใช้กับ หน่วยงานภาครัฐ ดังนี้2. ระบบบริหารงบประมาณ พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2502 ได้ให้คํานิยาม งบประมาณไว้ว่า หมายถึง จํานวนเงินอย่างสูงที่อนุญาตให้จ่ายหรือให้ก่อหนี้ผูกพันได้ตามวัตถุประสงค์และภายในระยะเวลาที่กําหนดไว้3. หลักการจําแนกประเภทรายได้และรายจ่ายของ หน่วยงานภาครัฐ 1. หลักการจําแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ 2. หลักการจําแนกประเภทเงินรายได้แผ่นดิน 4. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบการบริหารการเงิน การคลังภาครัฐ GFMIS เป้าหมายของระบบ GFMIS คือ ออกแบบ จัดสร้าง ระบบบริหารงานการคลังภาครัฐของประเทศ ไทยอย่างสมบูรณ์แบบ ในด้านรายรับ รายจ่าย การ กู้เงิน เงินคงคลัง บัญชีการเงินแบบเกณฑ์คง ค้าง บัญชีสินทรัพย์ถาวร บัญชีต้นทุน บัญชีบริหาร แบบ SINGLE ENTRY ( การนําเข้าข้อมูลเพียงครั้ง เดียว) เป็นต้น 4. นักศึกษาดูกระดานไวท์บอร์ด, Power Point


9. ระบบการควบคุมการเงินของหน่วยงานย่อย ขั้นสรุปผล - ครูสรุปบทเรียนเรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการ บัญชีหน่วยงานภาครัฐ ทั่วไปที่ใช้ในหน่วยงานต่างๆ และความรู้อื่นที่เกี่ยวกับการบัญชีหน่วยงานภาครัฐ ที่นักศึกษาได้เรียนผ่านมา ขั้นการประเมินผล - แบบฝึกหัดหลังบทเรียนหน่วยที่1 ใช้เวลาประมาณ 20 นาที ถาม-ตอบ และจดบันทึก 5. นักศึกษาฟังและถาม-ตอบ เพื่อตรวจสอบความ เข้าใจในเนื้อหาที่เรียนผ่านมา 6. นักศึกษาทําแบบฝึกหัดหลังบทเรียนหน่วยที่1 งานที่มอบหมายหรือกิจกรรม ก่อนเรียน นักศึกษาเข้าแถวเช็คชื่อ เพื่อเตรียมความพร้อมในการเรียน และตรวจการแต่งกายตามระเบียบของสถานศึกษา เพื่อฝึกความมีระเบียบวินัย ขณะเรียน นักศึกษาฟังบรรยาย ถาม-ตอบ กับครูครูยกตัวอย่างประกอบการบรรยาย ทําแบบฝึกหัดเพื่อวัดความก้าวหน้าทางการเรียนระหว่างเรียน หลังเรียน นักศึกษาทําแบบฝึกหัดหลังบทเรียนหน่วยที่1 ใช้เวลาประมาณ 20 นาทีครูให้นักศึกษา จัดเก้าอี้และทําความสะอาดห้องเรียน เพื่อให้นักศึกษาเกิดกิจนิสัยรักความสะอาด มอบหมายให้นักศึกษาไปอ่านหนังสือมาล่วงหน้าและทําการทดสอบเนื้อหาที่เรียนผ่านมาในครั้งต่อไป 5. สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อสิ่งพิมพ์1. หนังสือวิชาการบัญชีหน่วยงานภาครัฐ (Public Sect0r Accounting) รหัสวิชา ๓๐๒๐๑-๙๐๐๔ ผู้เรียบเรียง กชพรรณ บ่อพืชน์ของสํานักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ 2558 2. แบบฝึกหัดหลังเรียนหน่วยที่1 และเฉลย 3. แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนหน่วยที่1 และเฉลย สื่อโสตฯ Power Point และ โปรเจคเตอร์6. หลักฐานการเรียนรู้1. แบบฝึกหัดท้ายบทในแบบหนังสือเรียนวิชาการบัญชีหน่วยงานภาครัฐ 2. แบบประเมินด้านคุณธรรม จริยธรรม


7. การวัดและประเมินผล 7.1 เครื่องมือประเมิน 1. แบบฝึกหัดท้ายบทในแบบหนังสือเรียนวิชาการบัญชีหน่วยงานภาครัฐ 2. แบบประเมินผลตามสภาพจริงที่ใช้ในการตรวจเช็คการให้คะแนนของนักศึกษา 3. แบบสังเกต ด้านคุณธรรม จริยธรรม ที่พึงประสงค์7.2 เกณฑ์การประเมิน 1. ทําแบบประเมินผลการเรียน เกณฑ์ผ่าน 60% 2. ร่วมทํากิจกรรมกลุ่ม ประเมินโดยใช้แบบประเมิน เกณฑ์ผ่าน 80% 8. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้8.1 ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้8.2 ปัญหาที่พบ 8.3 แนวทางแก้ปัญหา ลงชื่อ ...................................................... (นางกัญปภาณณัฏฐ์นาทธีรนันท์) ครูผู้สอน


Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.