พื้นที่บริหารจัดการน้ำต้นแบบโดยชุมชนของอ่างเก็บน้ำชลประทานขนาดกลางในเขตจังหวัดน่าน Flipbook PDF

00401965 สรุปผลการนำเสนอผลการศึกษาโครงการวิจัย เรื่อง “พื้นที่บริหารจัดการน้ำต้นแบบโดยชุมชนของอ่างเก็บน้ำชลประทานขนาดกลา

69 downloads 102 Views 3MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

วัน วัอังอัคารที่ วัน วัอังอัคารที่ ที่ 2 สิงหาคม 2565 วัน วัอังอัคารที่ ที่ 2 สิงหาคม 2565 ที่ 2 สิงหาคม 2565 เวลา 13.30 - 16.30 นาฬิฬิฬิฬิกฬิฬิา ผ่ผ่ผ่ผ่ผ่ผ่านช่ช่ช่ช่ช่ช่องทาง Online www.researchexpo.nrct.go.th เอง เององ "พื้น พื้ ที่บริหาร ดการ"พื้พื้ พื้พื้ น พื้พื้ ที่ที่ ที่ที่ บริริ ริริ หารดการนแบบ โดยชุมชนของางเบโดยชุชุ ชุชุ มชนของางเบชลประทาน ขนาดกลางในเขตงหดาน" จัจัจัดจัจัจั โดย สำสำสำสำสำสำนันันักนันันังานการวิวิวิวิวิวิจัจัจัยจัจัจัแห่ห่ห่ห่ห่ห่งชาติติติติติติ(วช.) กระทรวงการอุอุอุอุอุอุดมศึศึศึกศึศึศึษา วิวิวิวิวิวิทยาศาสตร์ร์ร์ร์ร์ร์วิวิวิวิวิวิจัจัจัยจัจัจัและนวัวัวัตวัวัวักรรม ร่วมกับกัหน่วยงานเครือข่ายในระบบวิจัยจัทั่ ร่ร่ร่ร่วมกักับกักัหน่น่น่น่วยงานเครืรืรืรือข่ข่ข่ข่ายในระบบวิวิวิวิจัจัยจัจัทั่ทั่ทั่ทั่ทั่วทั่ทั่ประเทศ เอกสารวิชาการ สรุปประเด็นโดย : ณัฏณัฐกิตติ์ ปัทมะ สำ นักนัวิชาการ โทร. 0 28319306, 9309 00401965


มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2565 สรุปผลการน าเสนอผลการศึกษาโครงการวิจัย เรื่อง “พื้นที่บริหารจัดการน้ าต้นแบบโดยชุมชนของอ่างเก็บน้ าชลประทานขนาดกลาง ในเขตจังหวัดน่าน” 1 สรุปโดย : นายณัฏฐกิตติ์ ปัทมะ วิทยากรเชี่ยวชาญ กลุ่มงานวิจัยและข้อมูล ส านักวิชาการ นายชวกร ริ้วตระกูลไพบูลย์วิศวกรชลประทาน ช านาญการพิเศษ กรมชลประทาน ในฐานะ นักวิจัยโครงการ ได้น าเสนอผลการศึกษาโครงการวิจัย เรื่อง “พื้นที่บริหารจัดการน้ าต้นแบบโดยชุมชน ของอ่างเก็บน้ าชลประทานขนาดกลางในเขตจังหวัดน่าน” งบประมาณ 2,304,4000 บาท ระยะเวลา ด าเนินการ : 12 เดือน เริ่มต้น 29 กันยายน 2563 สิ้นสุดโครงการ 29 กันยายน 2564 สถานที่ท าวิจัย อ่างเก็บน้ าน้ าแหง อ าเภอนาน้อย และห้วยน้ าฮิอ าเภอเวียงสา จังหวัดน่าน โครงการชลประทานน่าน ส านักชลประทานที่ 2 กรมชลประทาน โดยได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากส านักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สรุปได้ดังนี้ 1. ความส าคัญและที่มาของปัญหา กรมชลประทานมุ่งเน้นการบริหารจัดการน้ าของอ่างเก็บน้ าขนาดใหญ่ ปัจจุบันอ่างเก็บน้ าขนาด กลางก าลังประสบกับปัญหาในการบริหารจัดการน้ า สาเหตุหนึ่งมาจากการสื่อสารระหว่างเกษตรกรและ ผู้ใช้น้ ากับเจ้าหน้าที่กรมชลประทาน จึงมีแนวคิดในการศึกษาวิจัยพื้นที่บริหารจัดการน้ าต้นแบบ โดยชุมชนของอ่างเก็บน้ าขนาดกลาง โดยมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของเกษตรกรและผู้ใช้น้ ากับเจ้าหน้าที่ กรมชลประทาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้ าให้สามารถประหยัดน้ า และเพิ่มผลตอบแทน ทางด้านเศรษฐศาสตร์และเป็นต้นแบบของระบบบริหารจัดการน้ ายุคใหม่ โดยเลือกอ่างเก็บน้ า 2 แห่ง คือ อ่างเก็บน้ าน้ าแหง อ าเภอนาน้อย และอ่างเก็บน้ าห้วยน้ าฮิอ าเภอเวียงสา 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลด้านข้อมูลการใช้น้ าของกลุ่มผู้ใช้น้ าทั้งสองแห่ง 2.2 เพื่อพัฒนาเครื่องมือการพยากรณ์และการจัดสรรน้ าที่เหมาะสมกับความต้องการ สรุปผลการน าเสนอผลการศึกษาโครงการวิจัย เรื่อง “พื้นที่บริหารจัดการน้ าต้นแบบโดยชุมชนของอ่างเก็บน้ าชลประทานขนาดกลาง ในเขตจังหวัดน่าน” มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2565 (Thailand Research Expo 2022) เมื่อวันอังคารที่ 2 สิงหาคม 2565 เวลา 09.00-12.00 นาฬิกา ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯ


มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2565 สรุปผลการน าเสนอผลการศึกษาโครงการวิจัย เรื่อง “พื้นที่บริหารจัดการน้ าต้นแบบโดยชุมชนของอ่างเก็บน้ าชลประทานขนาดกลาง ในเขตจังหวัดน่าน” 2 2.3 เพื่อสร้างนวัตกรรมระบบการบริหารจัดการน้ าพื้นที่อ่างเก็บน้ าน้ าแหง และพื้นที่อ่างเก็บน้ า ห้วยน้ าฮิให้เป็นต้นแบบการบริหารจัดการน้ าที่เหมาะสมกับบริบทของชุมชนของจังหวัดน่าน 2.4 เพื่อประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ด้านเกษตรกรรมในพื้นที่อ่างเก็บน้ าน้ าแหง และพื้นที่ อ่างเก็บน้ าห้วยน้ าฮิ 2.5 เพื่อศึกษาเชิงเปรียบเทียบด้านประสิทธิภาพชลประทาน และประสิทธิผลด้านเศรษฐศาสตร์ ระหว่างพื้นที่โครงการ 2.6 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการทรัพยากรน้ าส าหรับพื้นที่อ่างเก็บทั้งสองแห่ง 3. ผลการศึกษาวิจัย 3.1 เครื่องมือการพยากรณ์และการจัดสรรน้ า ได้มีการปรับปรุงและพัฒนาต่อยอดโปรแกรมวางแผน การใช้น้ าชลประทาน พัฒนาโดยส านักวิจัยและพัฒนา กรมชลประทาน เป็นโปรแกรมวางแผนการใช้น้ า ชลประทาน ส าหรับอ่างเก็บน้ าน้ าแหง และอ่างเก็บน้ าห้วยน้ าฮิ ด้วยโปรแกม (Water Allocation in Paddy Field, WAPF 4.0) 3.2 นวัตกรรมการบริหารจัดการน้ าและการสื่อสาร ได้พัฒนาขึ้นในรูปแบบของ Line Application ที่รวบรวมฐานข้อมูลของเกษตรกร ลักษณะของโครงการอ่างเก็บน้ า รายละเอียดของชนิดพืช และ แผนการปลูกพืช อีกทั้งยังเชื่อมต่อกับข้อมูลเว็บไซต์ต่าง ๆ ของกรมชลประทาน ท าให้แสดงข่าวสาร และ ข้อมูลสถานการณ์น้ าในอ่างเก็บน้ า นวัตกรรมการบริหารจัดการน้ าและการสื่อสารยังสามารถติดต่อได้ 2 ทาง ระหว่างเจ้าหน้าที่ของโครงการและเกษตรกรด้วย 3.3 สภาพน้ าต้นทุนของอ่างเก็บน้ า ปริมาณน้ าท่าไหลเข้าอ่างเก็บน้ าน้ าแหงและอ่างเก็บห้วยน้ าฮิ รายเดือนสูงสุดเกิดช้ากว่าปริมาณฝนประมาณ 1 เดือน (กันยายน) โดยปริมาณน้ าท่ารายปีของอ่างเก็บน้ า น้ าแหงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติส่วนอ่างเก็บห้วยน้ าฮิไม่มีนัยส าคัญทางสถิติ 3.4 สภาพความต้องการใช้น้ าจากอ่างเก็บน้ า การใช้น้ าเพื่อการเกษตรที่ต้องส่งจากอ่างเก็บน้ า น้ าแหงในฤดูแล้ง อยู่ในช่วง 3.352-7.337 ล้าน ลบ.ม. ส่วนในฤดูฝนอยู่ในช่วง 4.576-5.324 ล้าน ลบ.ม. ส่วนการใช้น้ าเพื่อการเกษตรที่ต้องส่งจากอ่างเก็บน้ าห้วยน้ าฮิในฤดูแล้ง อยู่ในช่วง 0.127-0.200ล้าน ลบ.ม. ส่วนในฤดูฝน เท่ากับ 0.475 ล้าน ลบ.ม. 3.5 พืชชนิดใหม่ที่เหมาะสมในกรณีปรับเปลี่ยนพืช พบว่า พืชที่เหมาะสมของทั้ง 2 อ่างเก็บน้ า ได้แก่ ข้าวโพดหวาน ถั่วเหลือง ถั่วลิสง ถั่วเขียว กระเทียม หอม ฟักทอง กะหล่ าดอก ผักกาดขาวปลีห่อ กะหล่ าปลี มะระ บวบ ถั่วฝักยาว คะน้า ผักกาดเขียว กวางตุ้ง และผักชี โดยพืชทั้งหมดจะมีอายุสูงสุด เพียง 110 วัน ทั้งนี้ เปลี่ยนแปลงพืชเฉพาะในช่วงฤดูแล้งของอ่างเก็บน้ าไม่ส่งผลกระทบต่อแผนการ ปลูกพืชในฤดูฝน


มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2565 สรุปผลการน าเสนอผลการศึกษาโครงการวิจัย เรื่อง “พื้นที่บริหารจัดการน้ าต้นแบบโดยชุมชนของอ่างเก็บน้ าชลประทานขนาดกลาง ในเขตจังหวัดน่าน” 3 3.6 การลดลงของปริมาณการใช้น้ าในกรณีปรับเปลี่ยนพืช 1) อ่างเก็บน้ าน้ าแหง ได้ก าหนดการปลูกพืชชนิดใหม่ในฤดูแล้ง โดยปรับเปลี่ยนการปลูกพืช เต็มพื้นที่ ด้วยการก าหนดแผนการปลูกพืชที่เหมาะสมกับพื้นที่ ได้แก่ แผนการปลูกข้าวโพดหวาน แผนการปลูกถั่วเหลือง แผนการปลูกถั่วลิสงแผนการปลูกถั่วเขียว แผนการปลูกกระเทียม หอม และฟักทอง แผนการปลูกกะหล่ าดอก ผักกาดขาวปลีห่อ และกะหล่ าปลี แผนการปลูกมะระ บวบ และถั่วฝักยาว และ แผนการปลูกคะน้า ผักกาดเขียว กวางตุ้ง และผักชี ซึ่งพบว่า พืชชนิดใหม่สามารถลดการใช้น้ าลง ร้อยละ 4-24.8 โดยเฉพาะคะน้า ผักกาดเขียว กวางตุ้ง และผักชี สามารถลดปริมาณการใช้น้ าได้สูงถึง ร้อยละ24.8 และถั่วเขียว ลดปริมาณการใช้น้ าได้สูงถึง ร้อยละ 20.4 รวมทั้งพืชที่เกษตรกรต้องการปลูก คือ กระเทียม และหอม สามารถลดปริมาณการใช้น้ าลง ร้อยละ 8.8 2) อ่างเก็บน้ าห้วยน้ าฮิได้ก าหนดแผนการปลูกพืชชนิดใหม่ในฤดูแล้ง และปรับเปลี่ยนพืช ร้อยละ 50 ของพื้นที่และอีกร้อยละ 50 ปลูกข้าวเป็นหลัก ประกอบด้วย แผนการปลูกข้าวโพดหวาน แผนการปลูกถั่วเหลือง แผนการปลูกถั่วลิสง แผนการปลูกถั่วเขียว แผนการปลูกกระเทียม หอม และ ฟักทอง แผนการปลูกกะหล่ าดอก ผักกาดขาวปลีห่อ และกะหล่ าปลี แผนการปลูกมะระ บวบ และ ถั่วฝักยาว และแผนการปลูกคะน้า ผักกาดเขียว กวางตุ้ง ผักชี ซึ่งพบว่า พืชชนิดใหม่ลดการใช้น้ าลง ร้อยละ 1-21.4 ขึ้นอยู่กับปริมาตรน้ าและปริมาณน้ าไหลเข้าอ่าง โดยเฉพาะการปลูกคะน้า ผักกาดเขียว กวางตุ้ง และผักชี สามารถลดปริมาณการใช้น้ าได้ร้อยละ 21.4 ส่วนพืชที่เกษตรกรต้องการปลูก คือ กระเทียม และหอม สามารถลดปริมาณการใช้น้ าลง ร้อยละ 11.4 3.7 การเพิ่มขึ้นของมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ด้านเกษตรกรรมในกรณีปรับเปลี่ยนพืช 1) การปรับเปลี่ยนพืชชนิดใหม่ของอ่างเก็บน้ าน้ าแหงแทนการปลูกพืชเดิม (ข้าวโพดเลี้ยง และสัตว์) ได้ผลตอบแทนสุทธิเพิ่มขึ้น อยู่ในช่วง ร้อยละ 101-1,970 แต่ท าให้มีต้นทุนการผลิตเพิ่มขึ้น ร้อยละ 16-386 โดยพืชที่เกษตรกรสนใจคือ หอม และกระเทียม ซึ่งให้ผลตอบแทนสูงกว่าถึง ร้อยละ 1,770 แต่มีต้นทุนเพิ่มขึ้นจากการปลูกข้าวโพดถึง 4 เท่า 2) ส่วนอ่างเก็บน้ าห้วยน้ าฮิ เป็นพื้นที่ปลูกข้าว ร้อยละ 50 ของพื้นที่ และปรับเปลี่ยนพืช ชนิดใหม่ส่วนที่เหลืออีก ร้อยละ 50 ของพื้นที่แทนการปลูกพืชเดิม (ข้าวโพดและเลี้ยงสัตว์) ได้ผลตอบแทน สุทธิเพิ่มขึ้น ร้อยละ 23-446 แต่ท าให้มีต้นทุนการผลิตของการปลูกพืชเพิ่มขึ้น ร้อยละ 14-191 โดยพืชที่ เกษตรกรสนใจ คือ หอม และกระเทียม ซึ่งให้ผลตอบแทนสูงกว่าถึง ร้อยละ 404 แต่มีต้นทุนเพิ่มขึ้นจาก การปลูกพืชปัจจุบันถึง 2 เท่า


มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2565 สรุปผลการน าเสนอผลการศึกษาโครงการวิจัย เรื่อง “พื้นที่บริหารจัดการน้ าต้นแบบโดยชุมชนของอ่างเก็บน้ าชลประทานขนาดกลาง ในเขตจังหวัดน่าน” 4 3.8 ความแตกต่างของโครงการที่มีระบบคลองส่งน้ าชลประทานกับคลองธรรมชาติ อ่างเก็บน้ าที่มีระบบส่งน้ าด้วยคลองชลประทานมีประสิทธิภาพชลประทานที่ดีกว่า และ เหมาะสมกับการปรับเปลี่ยนพืชที่ท าให้ลดการใช้น้ าและเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ได้มากกว่า ระบบส่งน้ าด้วยคลองธรรมชาติ เนื่องจากคลองธรรมชาติมีการสูญเสียจากการรั่วซึมมากกว่า การส่งน้ า จึงต้องส่งมากขึ้นเพื่อทดแทนการสูญเสียดังกล่าว อีกทั้งระบบการส่งด้วยคลองธรรมชาติยังไม่สามารถ เข้าถึงพื้นที่บางส่วน จึงเป็นข้อจ ากัดในการปรับเปลี่ยนพืชอย่างมีนัยส าคัญ 4. ข้อเสนอแนะ 4.1 ข้อเสนอแนะส าหรับการน าผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้ 1) ผู้บริหารส านักงานชลประทานที่ 2 กรมชลประทาน ของโครงการอ่างเก็บน้ าน้ าแหงและ ห้วยน้ าฮิสามารถน าผลการวิจัยที่ได้ทั้งองค์ความรู้และนวัตกรรม มาก าหนดเป็นแนวทางในการบริหาร จัดการน้ าของทั้ง 2 อ่าง และก าหนดเป็นนโยบายให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบโครงการอ่างเก็บน้ าขนาดกลาง อื่น ๆ ในขอบเขตพื้นที่ความรับผิดชอบ 2) เจ้าหน้าที่ของกรมชลประทาน ผู้รับผิดชอบโครงการอ่างเก็บน้ าน้ าแหงและห้วยน้ าฮิ สามารถน าผลการวิจัยที่ได้ทั้งองค์ความรู้และนวัตกรรม มาใช้ในการวางแผนและบริหารจัดการน้ าของ โครงการ 3) หัวหน้ากลุ่มผู้ใช้น้ าในโครงการอ่างเก็บน้ าน้ าแหงและห้วยน้ าฮิ สามารถน าผลการวิจัยที่ได้ จากการวิจัยครั้งนี้ทั้งองค์ความรู้และนวัตกรรม มาใช้ในการท าความเข้าใจกับเกษตรกร ติดตามข่าวสาร และติดต่อประสานกับเจ้าหน้าที่ของกรมชลประทานผู้รับผิดชอบโครงการ 4) เกษตรกรในโครงการอ่างเก็บน้ าน้ าแหงและห้วยน้ าฮิ สามารถน าองค์ความรู้เกี่ยวกับ การใช้น้ าและการเพิ่มขึ้นของผลตอบแทนสุทธิเมื่อปรับเปลี่ยนพืช มาเป็นข้อมูลในการตัดสินใจ ปรับเปลี่ยนพืช และน านวัตกรรมการบริหารจัดการน้ าและการสื่อสาร 5) ผู้บริหารส านักงานอื่น ๆ ภายในกรมชลประทาน สามารถน าผลการวิจัยที่ได้ทั้งองค์ความรู้ และนวัตกรรม มาก าหนดเป็นนโยบายให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบโครงการอ่างเก็บน้ าขนาดกลางในขอบเขต พื้นที่ของส านักงาน เพื่อให้เป็นต้นแบบแนวทางในการศึกษาอ่างเก็บน้ าขนาดกลางทั้งหมดในพื้นที่ 6) เจ้าหน้าที่โครงการอื่น ๆ ของกรมชลประทาน สามารถน ากระบวนการที่ได้ไปเป็นแนวทาง การศึกษาอ่างเก็บน้ าขนาดกลาง และน านวัตกรรมโปรแกรมวางแผนการใช้น้ าชลประทาน (WAPF 4.0) ไปปรับปรุงส าหรับใช้ในพื้นที่ของตนเอง


มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2565 สรุปผลการน าเสนอผลการศึกษาโครงการวิจัย เรื่อง “พื้นที่บริหารจัดการน้ าต้นแบบโดยชุมชนของอ่างเก็บน้ าชลประทานขนาดกลาง ในเขตจังหวัดน่าน” 5 4.2 ข้อเสนอแนะในการท าวิจัยต่อไป 1) การพัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการน้ าและการสื่อสาร และควรติดตั้งเครื่องวัดน้ าฝน และวัดระดับน้ าแบบอัตโนมัติ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นปัจจุบันและต่อเนื่อง ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการเพิ่ม ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการบริหารจัดการน้ า 2) ควรศึกษาพื้นที่เป็นรายแปลงเพื่อให้สามารถปรับเปลี่ยนพืชได้เหมาะสมกับพื้นที่มากยิ่งขึ้น เนื่องจากในการวิจัยครั้งนี้ได้พิจารณาปรับเปลี่ยนพืชโดยพิจารณาเป็นพื้นที่ภาพรวมทั้งโครงการที่มี ความแตกต่างกันทั้งในสภาพภูมิประเทศของพื้นที่และลักษณะดิน 3) ควรเชื่อมระบบอัตโนมัติ และพัฒนาระบบพยากรณ์ปริมาณน้ าไหลเข้าอ่างจากข้อมูลฝน ที่ได้จากการติดตั้งเครื่องมือวัดอัตโนมัติ เพื่อลดบุคลากรในการท างานและเพิ่มประสิทธิภาพในการท างาน ของนวัตกรรมที่พัฒนาขึ้น เนื่องจากการประเมินน้ าท่าบางส่วนด้วยการประยุกต์ใช้แบบจ าลอง คณิตศาสตร์(Hydrologic Modeling System : HEC-HMS) วางแผนการการปลูกพืชด้วยโปรแกรมวาง แผนการใช้น้ าชลประทานและสื่อสารด้วย Line Application ยังไม่ได้เชื่อมโยงกันอย่างอัตโนมัติ 4) ควรมีวิธีการเพิ่มเติมที่จะส่งเสริมให้เกษตรกรได้มีส่วนร่วม นอกเหนือจากการใช้ Line Application เนื่องจากเกษตรกรบางคนยังไม่ได้เข้าถึงการใช้งาน เช่น การท าป้ายประกาศเป็นจุด กระจายข่าวสาร เป็นต้น 5) ควรท าการวิจัยเพิ่มเติมในส่วนของการน าองค์ความรู้และนวัตกรรมไปใช้งานจริงทั้งในส่วน ของเจ้าหน้าที่โครงการ กลุ่มผู้ใช้น้ า และเกษตรกร เพื่อติดตามประเมินผลและหาแนวทางในการใช้งาน ให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด **************************


อ อ ก แ บ บ ป ก : สุ ว ร ร ณ า สุ พ ง ษ์


Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.