วิกฤตไฟป่าออตเตเลีย Flipbook PDF


9 downloads 115 Views 1MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

วิกฤตในไฟป่ าออสเตรเลีย

https://www.thairath.co.th/scoop/1742863

เมื่อ 3 ปี ท่ีแล้วออตเตเลียได้เกิดวิกฤตไฟป่ า รัฐนิวเซาท์เวลส์เผชิญกับไฟป่ าครัง้ รุนแรงที่สุดโดยมี พืน้ ที่ถกู ทาลายไป 4 หมื่น ตร.กม. แล้ว บ้านมากกว่า 1.3 พันหลังพังเสียหาย และผูค้ นหลายพันต้องอพยพ ออกจากพืน้ ที่ ทั่วประเทศมีผูเ้ สียชีวิตไป 20 คนแล้ว รวมถึงนักดับเพลิง 3 คน โดยส่วนใหญ่เหตุเกิดที่นิว เซาท์เวลส์ ถ้านับรวมพืน้ ที่เสียหายในรัฐวิกตอเรียด้วย จะกินพืน้ ที่ถึงกว่า 4.8 หมื่น ตร.กม. หรือกว่า 30 ล้านไร่ ไฟป่ าความสูง 70 เมตร ได้เผาผลาญกินพืน้ ที่มากกว่า 6 รัฐ (นิวเซาท์เวลส์, วิคตอเรีย, ควีนส์ แลนด์, เซาท์ออสเตรเลีย, เวิสเทิรน์ ออสเตรเลีย และทัสมาเนีย) รวมกันแล้วขนาดมากถึง 8.4 ล้านเฮกตาร์ หรือราว 84,000 ตารางกิโลเมตร หากเทียบกับประเทศใดประเทศหนึ่ง บนโลก ก็ตอ้ งบอกว่า ไฟป่ าใน ออสเตรเลียมีขนาดใหญ่กว่า ‘ศรีลงั กา’ ซะอีก (ขนาด 65,610 ตารางกิโลเมตร) ขณะที่ การคาดการณ์ของ นักวิช าการด้านสิ่ ง แวดล้อมในต่างประเทศมองว่ า ระยะเวลาตั้ง แต่เดื อ นกันยายน 2562 มาจนถึง 7 มกราคม 2563 ไฟป่ าน่าจะเผาผลาญไปแล้วมากกว่า 163,169 ตารางกิโลเมตร จนทาให้ประชนต้องสละ ทิง้ บ้านเรือนตนเองและอพยพออกจากพืน้ ที่นบั พันราย

https://ichef.bbci.co.uk/news/640/cpsprodpb/000C/production/_110421000_f16d7321-12a6-4fb6b825-20219d451139.jpg

ปั ญหาของไฟป่ าไม่ได้มีเพียงแค่การสูญเสียพืน้ ที่และบ้านเรือนแต่เพียงเท่านัน้ จากการเผาไหม้ท่ี เกิดขึน้ ได้ทาให้อณ ุ หภูมิในออสเตรเลียพุ่งสูงขึน้ ในช่วงเดือนธันวาคม 2562 อุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ท่ี 48.9 องศา เซลเซี ยส ซึ่ง ในวันที่รอ้ นที่สุด คือ วันที่ 18 ธั นวาคม 2562 มี อุณหภูมิ เฉลี่ยตลอดทั้ง วันที่ 41.9 องศา เซลเซียส ส่วนวันที่ 8 มกราคม 2563 ก็ไม่นอ้ ยหน้าเช่นกัน อุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ท่ี 42 องศาเซลเซียส เท่านัน้ ยังไม่พอการเผาไหม้ของไฟป่ ายังทาให้เกิดเขม่าควันลอยคลุง้ อย่าง ‘แคนเบอร์รา’ เมือง หลวงของออสเตรเลีย ที่เคยเป็ นหนึ่งในเมืองหลวงที่คณ ุ ภาพอากาศดีท่ีสุดมาโดยตลอด ในวันนีก้ ลับติด 1 ใน 10 อันดับเมืองหลักที่มีคุณภาพอากาศย่าแย่ท่ีสุด แย่ยิ่งกว่าเมืองนิวเดลีของอินเดีย แย่ยิ่งกว่าเมือง ธากาของบังกลาเทศ และแย่ยิ่งกว่าเมืองลาฮอร์ของปากีสถาน โดยวันที่เมืองแคนเบอร์รามีคณ ุ ภาพอากาศ ย่ าแย่ท่ีสุด คือ วันที่ 1 มกราคม 2563 เปิ ดทศวรรษใหม่ ด้วยค่าความเข้ม ข้นเฉลี่ย PM2.5 ที่ 855.6 µg/m³ สูงเกินค่ามาตรฐานองค์การอนามัยโลก (WHO) มากเกินกว่า 34 ครัง้ และถูกจัดให้อยู่ระดับ เป็ นอันตรายต่อสุขภาพอย่างร้ายแรง (Hazardous Levels)

https://www.thairath.co.th/scoop/1742863

หากนับตัง้ แต่วนั ที่ 20 ธันวาคม 2562 ถึง 2 มกราคม 2563 ค่าความเข้มข้นเฉลี่ย PM2.5 ในออสเตรเลีย อยู่ท่ี 200.1 µg/m³ ขณะที่ เมืองท่องเที่ยวยอดฮิตของไทยอย่าง ‘ซิดนีย’์ ก็แตะค่าความ เข้มข้นเฉลี่ย 400 µg/m³ มาแล้ว

https://mthai.com/app/uploads/2019/11/73498029_1142125742661267_8514854960188358656_o. jpg

อีกหนึ่งความเสียหายที่เป็ นความสูญเสียครัง้ ใหญ่จากวิกฤตการณ์ไฟป่ าในออสเตรเลียครัง้ นี ้ คือ ชีวิตของชาวออสซี่และสัตว์ป่าหลากหลายชนิด โดย ณ ขณะนี ้ (7 ม.ค. 63) มีชาวออสซี่เสียชีวิตแล้วอย่าง น้อย 25 ราย และสัตว์ป่าหรือสัตว์ตามธรรมชาติ ที่เป็ นสัตว์เลีย้ งลูกด้วยนม สัตว์ปีก และสัตว์เลือ้ ยคลาน (ยกเว้นแมลง ค้างคาว และกบ) ตายแล้วกว่า 500 ล้านตัว ในจานวนนีม้ ี ‘โคอาล่า’ เกือบ 8,000 ตัว คิดเป็ น สัดส่วน 1 ใน 3 ของประชากรโคอาล่าในรัฐนิวเซาท์เวลส์

https://www.thairath.co.th/scoop/1742863

ทัง้ นีท้ งั้ นัน้ มีการคาดการณ์จากนักวิชาการด้านสิ่งแวดล้อมแห่งมหาวิทยาลัยซิดนียว์ ่า ไฟป่ าในครัง้ นีอ้ าจสร้างความเสียหายและคร่าชีวิตสัตว์ป่ามากถึง 1 พันล้านตัว ผศ.ดร.นันทชัย พงศ์พฒ ั นานุรกั ษ์ อาจารย์ประจาภาควิชาป่ าไม้ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิเคราะห์ถึงความเป็ นไปได้ของ ‘ภาวะการ สูญพันธุ’์ หรือที่เรียกกันว่า The Sixth Mass Extinction http://research.ku.ac.th/fores t/ForestImages/Picture/Perso n/480307.jpg

ภาวะการสูญพันธุ์’ ว่า เป็ นแค่การคาดการณ์โดยนักวิชาการเท่านัน้ พืน้ ที่เหล่านีส้ ตั ว์ป่าค่อนข้าง ปรับตัวได้ยาก ฉะนัน้ การมีสิ่งเร้าไปทาลายพืน้ ที่ ทาลายระบบนิเวศ ทาให้ปัจจัยที่สาคัญของสัตว์ป่าหายไป โดยเฉพาะพืน้ ที่หากินกับพืน้ ที่ท่ีจะเป็ นตัวปกคลุมให้สัตว์ป่าอาศัยอยู่ไ ด้ แต่ ณ เวลานี ้ มันหายไปเลย นับเป็ นเรื่องที่เลวร้าย "หากจะบอกว่าเป็ นการสูญ พันธุ์ครั้ง ใหญ่ (Mass Extinction) อาจเกินเลยไป ไฟป่ าใน ออสเตรเลียครัง้ นีไ้ ม่ได้ถึงขนาดในอดีต ที่มีภูเขาไฟระเบิดหรืออุกกาบาตทาลายล้างไดโนเสาร์ให้หายไปได้ แต่ปฏิเสธไม่ได้ว่า ประชากรสัตว์ในพืน้ ที่ลดลงแน่นอน"

ผศ.ดร.นันทชัย ยังมีอีกหนึ่งข้อกังวลที่อาจเป็ นผลกระทบตามมาจากการที่ประชากรสัตว์ล ดลง ว่า อาจมีส่วนทาให้ความหลากหลายทางพันธุจกั รน้อยลง ถ้าหากมีจานวนประชากรที่นอ้ ยเกินไปการปรับตัว ของสัตว์ก็ยิ่งแย่ภายใต้สภาพของถิ่นที่อยู่อาศัยที่หายไป ถ้าสัตว์ปรับตัวไม่ได้เร็วเท่ากระแสวนของการทาให้ ฉับพลัน กล่าวได้ว่า ตัวที่ทนทานไม่ได้ก็ตอ้ งฉับพลันไปอย่างแน่นอน

https://www.one31.net/uploads/media/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9 %83%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B9%88/Golf/2563/0163/050163/%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B9%82%E0%B8%88%E0%B9%89/S__10821697.jpg

สัตว์ท่ีอยู่ในทวีปออสเตรเลียส่วนใหญ่จะมีวิวัฒนาการที่แปลกแยกออกไปจากแผ่นดินใหญ่ โดย ส่วนมากจะเป็ นสัตว์ท่ีอยู่ในกลุ่มสัตว์มีถุงหน้าท้อง ที่มีการปรับตัว วิวัฒนาการปรับตัว ที่ไม่ค่อยมีคู่การ แข่ง ขันมากนัก การปรับตัวในอากาศที่รุนแรงจากการเกิดไฟป่ าจึงยากต่อการปรับตัว เพราะไฟป่ าใน ออสเตรเลียไม่เหมือนกับไฟป่ าในบ้านเราที่อยู่บนพืน้ ดิน ในออสเตรเลียจะเป็ นการไหม้ในระดับเนินยอดเขา และมีความแห้งแล้งสูง ค่อนข้างเป็ นการสร้างเชิงการทาลายหรือทาให้หมดไปจากพืน้ ที่ได้ "ในออสเตรเลีย สัตว์เกือบทุกตัวจะเป็ นสัตว์เฉพาะถิ่น เป็ นกลุ่มสัตว์ท่ีเรียกกันว่า ‘ถุงหน้าท้อง’ โค อาล่าก็ไม่มีท่ีอ่ืน นอกจากออสเตรเลีย ในนิวซีแลนด์เองก็ไม่มี ในพืน้ ที่ท่ีมีการกระจายที่ค่อนข้างจากัดก็ อาจจะเป็ นสัตว์ท่หี าง่ายในระดับท้องถิ่น แต่ในระดับโลกมันหายาก ฉะนัน้ กล่าวได้ว่า สัตว์กลุม่ นีท้ งั้ หมด ไม่ ว่าจะเป็ น จิงโจ้ โคอาล่า หรือสัตว์อ่นื ๆ ที่มีถงุ หน้าท้องแต่เป็ นผูล้ า่ ทัง้ หมด ถือว่าเป็ นสัตว์หายากทัง้ หมดของ โลก แต่ว่าในภูมิภาคของเขาเป็ นสัตว์ท่ีพบได้ท่ ัวไป อีกทั้งในกลุ่มสัตว์ท่ีมีถุงหน้าท้องยังเป็ นสัตว์ท่ีมีการ ปรับตัวไม่ดีอยู่แล้ว ในแนวโน้มมองว่า สิ่งที่ทุกคนกังวลในประเด็นเดียวกันหมด ก็คือ สัตว์มนั จะปรับตัวได้ ไหม เพราะถิ่นที่อยู่อาศัยกับแหล่งอาหารถูกทาลายไปแบบหน้ามือเป็ นหลังมือในเวลาจากัด"

ผศ.ดร.นันทชัย วิเคราะห์ขอ้ ฉุกคิดอีกหนึ่งอย่างที่น่าสนใจนอกเหนือจาก ‘ภาวะการสูญพันธุ’์ นัน้ คือ อนาคตหลังจากนีข้ องสัตว์ป่าในออสเตรเลีย

https://www.thairath.co.th/scoop/1742863

"ในระยะยาวต้อ งรอฟั ง ข่ า วว่ า สัต ว์ป่ ากว่ า 300-500 ล้า นตั ว ที่ ไ ด้รับ ผลกระทบ ตั้ง แต่ สัตว์เลือ้ ยคลาน สัตว์ครึ่งบกครึ่งนา้ นก ไปจนกระทั่งสัตว์เลีย้ งลูกด้วยนมขนาดใหญ่จะเป็ นอย่างไร แต่สตั ว์ ที่มีการเคลื่อนที่สูง อย่าง ‘นก’ ไม่ได้น่าห่วงนัก สัตว์เลือ้ ยคลานที่สามารถหลบซ่อนในพืน้ ที่บางส่วนที่มี ความชืน้ ในที่อยู่ใกล้กับลานา้ ก็ไม่ได้น่าเป็ นห่วงเท่าสัตว์ท่ีมีความสามารถในการเคลื่อนที่ชา้ เช่น โคอาล่า เพราะไม่ได้เป็ นสัตว์ท่สี ามารถเคลื่อนที่ได้เร็ว สัตว์บางกลุม่ จึงเป็ นกลุม่ ที่เสี่ยงต่อการสูญพันธุ"์ ส่วนสัตว์ท่ีอาศัยอยู่ใต้ดินต่ากว่า 20-30 เซนติเมตร ผศ.ดร.นันทชัย มองว่า แทบไม่มีผลกระทบ แต่น่าห่วงว่า หลังจากไฟไหม้ "เมื่อขึน้ มาบนพืน้ ดินมันจะกินอะไร? ปรับตัวอย่างไร?" ตรงนีเ้ ป็ นบทบาท ของมนุษย์ท่จี ะเข้ามาช่วยเหลือ มันจะกลายเป็ นเรื่องของการจัดการถิ่นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าและประชากร ของสัตว์ป่า "ภาพรวม คือ การจัดการสัตว์ป่าที่จะทาให้เกิดมิติใหม่ของแนวความคิดในการจัดการของพืน้ ที่นี ้ ต้องปรับ ตัว นักวิช าการต้องมามองดูในเรื่ อ งของเป้า การจัด การในอนาคต ว่า หลัง จากป่ าไหม้เ สร็จ เรียบร้อยแล้ว มันจะมีเป้าหมายของการจัดการอย่างไรต่อไป เป้าการจัดการระยะสัน้ จะทาให้การจัดการ สัตว์ป่าสามารถอยู่รอดต่อไปได้อย่างไร ในระยะสัน้ จึงเป็ นเรื่องสาคัญมากที่สดุ "

https://static.thairath.co.th/media/PZnhTOtr5D3rd9ocLjqV7RVL7ZXBzsa3Ekafl6joSf9kqK9.webp

แม้จะมีเสียงก่นด่าของชาวออสซี่ถึงรัฐบาลออสเตรเลียให้ได้เห็นบนหน้าสื่อต่างประเทศอยู่เป็ น ระยะ แต่ ผศ.ดร.นันทชัย ยังเชื่อว่า รัฐบาลออสเตรเลียจะมีแนวทางการจัดการถิ่นที่อยู่อาศัยให้กลับคืนมา ได้ แต่อาจต้องใช้ระยะเวลาที่มากหน่อย (รัฐบาลออสเตรเลียคาดการณ์งบประมาณการฟื ้ นฟูท่ี 4.5 หมื่น ล้านบาท) "การจะฟื ้ นฟูให้กลับคืนมาเลยคงเป็ นไปได้ยาก ฉะนัน้ คิดว่าสิ่งที่ทางรัฐบาลออสเตรเลียจะทา ต่อไปนัน้ คือ การติดตามผลกระทบที่เกิดขึน้ ซึ่งหลายพืน้ ที่ในโลกก็เคยเกิดขึน้ ในลักษณะที่เกิดไฟป่ าเช่นนี ้ เหมือนกัน เช่น อุทยานแห่งชาติเยลโลว์สโตน เมื่อ 30 ปี ท่ีแล้ว ทุกคนต่างก็กลัวว่า สัตว์ป่าและป่ าไม้จะ สูญเสียระบบนิเวศ แต่ปัจจุบนั ด้วยกลไกการจัดการที่มีอยู่ในสหรัฐอเมริกาก็สามารถทาให้อทุ ยานแห่งชาติ เยลโลว์สโตนมีหน้าตาเปลี่ยนไปไปอีกแบบหนึ่งที่น่าสนใจ นี่จึงเป็ นผลกระทบเชิงลบในช่วงแรก แต่เป็ น ผลกระทบที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ทาให้เกิดการจัดการในตัวประชากรสัตว์ป่าและถิ่นที่อยู่อาศัยของ สัตว์ป่าตามมา ทาให้สามารถเอาชนะความเลวร้ายที่เกิดขึน้ นีไ้ ด้"

ผศ.ดร.นันทชัย กล่าวกับทีมข่าวเฉพาะกิจฯ อีกกว่า หากปล่อยให้ป่าทดแทนตามธรรมชาติหลังไฟ ป่ าไปแล้ว ก็ใช้เ วลาเป็ นหลักร้อยถึง พันปี โดยเฉพาะในพืน้ ที่เขตอบอุ่น ที่เป็ นพืน้ ที่บริเวณตรงนั้น แต่ โดยทั่วไปในความคิดของตนนัน้ ในเรื่องการทดแทนที่จะกลับมาเป็ นแบบเดิมมันก็อาจจะเป็ นคาถามหนึ่ง แต่ในอีกคาถามหนึ่งที่น่าสนใจและส าคัญกว่า คือ ในช่วงที่ไม่เป็ นแบบเดิม เราจะจัดการพืน้ ที่อย่างไร เพื่อให้สตั ว์ป่าสามารถมีชีวิตและสืบพันธุ์ต่อไปได้ ส่วนตัวคิดว่า คาถามนีจ้ ึงเป็ นคาถามหลักที่นกั วิชาการ พยายามจะหาคาตอบอยู่ เพราะว่าการจัดการป่ ากับการจัดการสัตว์เป็ นของที่จะต้องดาเนินไปร่วมกันมัน จะแยกออกจากกันไม่ได้

https://themomentum.co/wp-content/uploads/2020/01/AUSTRALIA-FIRE-9.jpg

"ต่อไปพืน้ ที่ท่ีไม่รุนแรงนักก็ฟื้นตัวได้เร็ว แต่ในพืน้ ที่ท่ีรุนแรงมันก็ฟื้นช้า ถามว่าจะฟื ้ นแบบไหน ใน มุมมองตนเชื่อว่า ออสเตรเลียมีนกั จัดการป่ าไม้ท่ีค่อนข้างจะใส่ใจในเรื่องของการจัดการโครงสร้างป่ าไม้อยู่ แล้ว ไม่ตอ้ งไปห่วงเขา เขาทาได้แน่ ในเรื่องนีไ้ ม่น่าเป็ นห่วงในระยะยาว แต่ในระยะสั้นเป็ นห่วงในเรื่อง ประชากรสัตว์ป่า ว่า มันหายไปจนกระทั่งมันไม่สามารถฟื ้ นคืนมาได้หรือเปล่า"

บรรรณานุกรม ไทยรัฐออนไลน์. 14 ก.พ. 2563. ออสเตรเลียเฮ ควบคุมไฟป่ านิวเซาท์เวลส์ได้ ทุกแห่งแล้ ว หลังฝนตกหนัก. สืบค้นเมื่อ 23 มกราคม พ.ศ.2566. ไทยรัฐออนไลน์. 9 ม.ค. 2563. "ไฟป่ าออสเตรเลีย" เผาผลาญ ทาลายชีวิต สัญญาณเตือน ภาวะสูญพันธุ์ครัง้ ใหญ่?. สืบค้นเมื่อ 23 มกราคม พ.ศ.2566 BCC NEWS ไทย. 4 ม.ค. 2563. ไฟป่าออสเตรเลีย : วิกฤตใหญ่ทเี่ ผาผลาญพืน้ ที่ 2 ร ัฐไป แล้วกว่า 30 ล้านไร่ น ับแต่กลางปี ทีแ ่ ล้ว. สืบค้นเมื่อ 23 มกราคม พ.ศ.2566

https://skywardplus.jal.co.jp/wp-content/uploads/2020/07/eyecatch_dogday_main.jpg

สมาชิกกลุม่ 1. นายพุทธิ วัฒ น ฮุย รหัส นักศึกษา 16422075 คณะมนุษยศาสตร์และสัง คมสาศาตร์ สาขา ภาษาญี่ปนุ่ 2. นายธันญพงษ์ บุญมาวงศ์ รหัสนักศึกษา16422411คณะมนุษยศาสตร์และสังคมสาศาตร์ สาขา ภาษาญี่ปนุ่

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.