การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ Flipbook PDF


71 downloads 113 Views 4MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

การเพาะเลี้ยง tissue culture "เนื้อเยื่อ"

นางสาว กฤตยา เฉลิมพรกุล เลขที่ 10 ม.6/10 นางสาว นันทิตา สุรินธรรม เลขที่ 14 ม.6/10

คำนำ e-bookเรื่องการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อถือเป็ นส่วนหนึ่งใน รายวิชาเกษตร เพื่อให้ได้ศึกาาหาความรู้ในเรื่องการเพาะเลี้ยง เนื้อเยื่อ และศึกษาอย่างเข้าใจเพื่อเป็ นประโยชน์ต่อการเรียน หรือผุ้คน ผู้จัดทำได้เลือกหัวข้อนี้ในการทำe-bookเนื่องมาจาก เป็ นเรื่องที่น่าสนใจ ได้รู้ถึงประโยชน์ของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ มาเรียบเรียงให้ผู้อ่ านได้อ่ านแล้วเข้าใจ ผู้จัดทำหวังว่ าe-bookเล่มนี้จะเป็ นประโยชน์ต่อผุ้อ่ าน หรือนักเรียน นักศึกษาที่เข้ามาศึกษาในเรื่องนี้หรือกำลังหา ข้อมูลเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ หากมีข้อแนะนำหรือข้อ ผิดพลาดประการใด ผู้จัดทำขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้

คณะผู้จัดทำ นางสาวกฤตยา เฉลิมพรกุล นางสาวนันทิตา สุรินธรรม

สารบัญ 1.บทนำ 2.การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อคืออะไร 3.พืชที่นิยมนำมาเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 4.ประโยชน์ของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 5.ทำไม...ต้องมีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 6.ข้อจำกัดของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 7.ขั้นตอนการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 8.อุ ปกรณืที่ใช้ในห้องเพาะเลี้งเนื้อเยื่อ 9.ห้องเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 10.การเจริญของชิ้นส่วนพืชที่นำามาเพาะเลียงบน อาหารสังเคราะห์เพือให้เกิดเป็ นต้นพืชที่สมบู รณ์ 11.บรรณานุกรม

1

2

3

4

5

7

8

11

14

15



16

1

บทนำ

ประเทศไทยเป็ นประเทศที่มีความ



หลากหลาย ทางชีวภาพ มีวิถีชีวิต ความเป็ นอยู่และวัฒนธรรมที่มี ส่วนเกี่ยวข้องกับพืชพรรณต่างๆ มากมาย การปลูกฝั ง เยาวชนรุ่น ใหม่ให้เห็นถึงคุณค่าและความ งดงามของ พืชพรรณ จนเกิด ความสนใจที่จะทำการศึกษาทดลอง อย่างง่ าย ในห้องปฏิบัติการ วิทยาศาสตร์ในโรงเรียน เป็ น แนวทางหนึ่งในการบ่มเพาะให้ เยาวชนมีจิตสำ นึก ในการอนุรักษ์ พันธุ กรรมพืช คณะผู้จัดทำ ได้นำ พรรณไม้ ดอกปทุมมาและหงส์เหิน ที่อยู่ในวิถีการดำ รงชีวิต ของไทย และมีการนำ ไปใช้ประโยชน์เชิง ธุ รกิจที่มีมาตรฐาน การยอมรับใน ระดับสากล มาเป็ นตัวอย่างพืช พรรณไม้ดอก ในการสร้างความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับหลักการพื้น ฐาน ของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเบื้อง ต้น

2

การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ หมายถึง การนำเอาส่วนใดส่วน หนึ่งของพืช ไม่ว่ าจะเป็ นอวัยวะเนื้อเยื่อเซลล์ หรือเซลล์ ไม่มีผนัง มาเลี้ยงในอาหารเลี้ยงในสภาพปลอดเชื้อจุลิ ทรีย์ และอยู่ในสภาพควบคุมอุ ณหภูมิ แสงและความชื้น เพื่อให้เซลล์พืชที่นำมาเพาะเลี้ยงนั้น ปราศจากเชื้อที่มา รบกวนและทำลายการเจริญเติบโตของพืช

3

พืชที่นิยมนำมาเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื้อ นิยมใช้กับพืชที่มีปั ญหาในเรื่องของ การขยายพันธุ์ หรือพืชที่มีปั ญหาเรื่องโรค เช่ น ขิง กล้วยไม้หรือ พืชเศรษฐกิจ เช่ น กุหลาบ ดาวเรือง ข้าว แครอท คาร์เนชั่นเยอ บีร่า เป็ นต้น

4 ประโยชน์ของการเพาะ เลี้ยงเนื้อเยื่อ 1. เพื่อการผลิตต้นพันธุ์ พืชปริมาณมากในเวลาอัน รวดเร็ว 2. เพื่อการผลิตพืชที่ ปราศจากโรค 3. เพื่อการปรับปรุงพันธุ์ พืช

4. เพื่อการผลิตพืชพันธุ์ ต้านทาน 5. เพื่อการผลิตพืชพันธุ์ ทนทาน 6. เพื่อการผลิตยาหรือสาร เคมีจากพืช 7. เพื่อการเก็บรักษาพันธุ์พืช มิให้สูญพันธุ์

5 ขยายพันธุ์พืช - ผลิตต้นพันธุ์ปลอดโรคปริมาณ มากในระยะ เวลาอันรวดเร็ว ตัวอย่างเช่ น เพิ่มปริมาณได้ 10 เท่า ต่อการย้ายเนื้อเยื่อลงอาหาร ใหม่ทุก เดือน เมื่อเวลา 2 เดือน สามารถผลิตต้นพันธุ์ พืชได้ถึง 100 ต้น - ต้นพันธุ์ที่ได้มีลักษณะตรงตาม พันธุ์เหมือน ต้นแม่

ทำไม..ต้องมีการเพาะเลี้ยง เนื้อเยื่อ

ปรับปรุงพันธุ์พืช - การเพาะเลี้ยงเอ็มบริโอ (Embryo culture) เป็ นการสร้างลูกผสมโดย ช่ วยชีวิตเอ็มบริโอ ซึ่งรอดชีวิตได้ ยากในสภาพธรรมชาติ - การเพาะเลี้ยงอับละอองเรณูและ ละอองเรณูเป็ นการสร้าง ต้น Haploid plant เพื่อลดระยะเวลาใน การสร้างพันธุ์แท้

6

อนุรักษ์เชื้อพันธุ กรรมพืช - การเก็บรักษาพันธุ์พืชหายาก โดยชักนำ ให้พืช ในขวดเพาะ เลี้ยงมีอัตราการเจริญอย่างช้าๆ สามารถคงสภาพและมีชีวิตได้ใน เวลาที่ยาว นาน เป็ นการ ประหยัดพื้นที่และแรงงาน - การ เก็บรวบรวมพันธุ์พืชในขวดเพาะ เลี้ยง เพื่อเป็ นแหล่งพันธุ กรรมที่ มีสำ รองตลอด เวลา

แลกเปลี่ยนพันธุ์พืชระหว่ าง ประเทศ - การแลกเปลี่ยนพันธุ์พืชที่อยู่ใน สภาพปลอดเชื้อ ช่ วยลดความ เสี่ยงของการแพร่กระจายโรคของ พืช

ผลิตสารทุติยภูมิ - การผลิตสารต่างๆ ที่ใช้ทาง ด้านการแพทย์ และการเกษตร

7

ข้อจำกัดของการเพาะ เลี้ยงเนื้อเยื่อพืช 1. การสร้างห้องปฏิบัติงาน เนื่องจากการปฏิบัติงาน ต้องมีการจัดการพื้นที่ ทำงาน และการใช้เครื่องมือ และสารเคมีที่มีราคาค่อน ข้างสูง ค้นคว้าวิจัยในการ ค้นหาเทคนิคและสูตรอาหาร เพาะเลี้ยงพืชที่เหมาะสม

2. การอบรมและฝึ กฝนผู้ ปฏิบัติงาน เนื่องจากการ ทำ งานการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมี การทำ งานด้วย เทคนิค ปลอดเชื้อและทำ งานตาม ลำดับขั้นตอน ตั้งแต่การฟอก ฆ่าเชื้อ วิธีการตัดและวาง เนื้อเยื่อพืช การเพิ่มปริมาณ ต้น การชักนำ ราก รวมถึง การ ฆ่าเชื้อเพื่อทำความ สะอาดของเครื่องมือที่ใช้

8 ขั้นตอนการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 1. การเตรียมอาหาร คือ การเตรียมอาหาร คือ การนำ ธาตุอาหารหลักที่พืชต้องการในการ เจริญเติบโต และธาตุอาหารรองมา ผสมกับวุ้น ฮอร์โมนพืช วิตามินและน้ำตาล ในอัตราส่วนที่เหมาะ สม แล้วนำไปฆ่าเชื้อ ใส่ลงในขวดอาหารเลี้ยง บางครั้งอาจหยดสี ลงไป เพื่อให้สวยงามและสังเกตได้ชัดเจน

ธาตุอาหารที่พืชต้องการ



• ธาตุอาหารหลัก ได้แก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โปรตัสเซียม แคลเซียม แมกนีเซี่ยมและกำมะถัน • ธาตุอาหารรอง ได้แก่ ธาตุอาหารที่จำเป็ นน้อย เช่ น เหล็ก แมงกานีส สังกะสี ทองแดง

9 2. การฟอกฆ่าเชื้อส่วน เนื้อเยื่อ คือ เป็ นวิธีการใช้สารเคมีหรือวิธี การต่าง ๆ ที่ทำให้ชิ้นส่วนของ พืชที่นำมาเลี้ยงในอาหารเลี้ยง ปราศจากเชื้อจุลินทรีย์ต่าง ๆ

3. การนำเนื้อเยื่อลงขวด เลี้ยง เป็ นการนำเอาชิ้นส่วนของพืชที่ ฟอกฆ่าเชื้อแล้ว วางลงบนอาหาร เลี้ยง โดยใช้เครื่องมือและปฏิบัติ การในห้องโดยเฉพาะ

4. การนำขวดเลี้ยงเนื้อเยื่อ ไปเลี้ยง เป็ นการนำเอาขวดอาหารเลี้ยงที่ มีชิ้นส่วนของเนื้อเยื่อไปเลี้ยงไว้ บนเครื่องเขย่า เพื่อให้อากาศได้ คลุกเคล้าลงไปในอาหาร ทำให้แร่ธาตุ, ฮอร์โมนและสารอาหารต่าง ๆ ช่ วยกระตุ้นให้ เนื้อเยื่อที่นำมาเลี้ยงบนอาหารนั้น เกิดต้นอ่ อนของพืชจำนวน มาก

10

5. การย้ายเนื้อเยื่อออกจากขวด เมื่อกลุ่มของต้นอ่ อนเกิดขึ้น ให้แยกต้นอ่ อน ออกจากกัน เพื่อนำไปเลี้ยงบนอาหารเลี้ยงใหม่ จนต้นอ่ อนแข็งแรงดีแล้ว จึงนำต้นอ่ อนที่ สมบู รณ์ออกจากขวด ปลูกในแปลงเลี้ยงต่อไป

11 อุ ปกรณ์ที่ใช้ในห้องเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

เครื่องกรองน้ำ

สารเคมี

กระบอกตวง

ขวดปรับปริมาณ

12

ขวดรูปชมพู่

ปิ เปต ดูดสารละลาย

บีกเกอร์

13 ใบมีดผ่าตัด

เครื่องวัดความกรด-ด่าง

เครื่องกวน

ปากคีบ

ตะเกียงแอลกอฮอล์

ตู้อบความร้อนแห้ง

14 ห้องเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ห้องปฏิบัติการเพาะเลี้ยเนื้อเยื่อ แบ่งออกเป็ น 3 ห้องหลัก คือ 1. ห้องเตรียมอาหารและเก็บ สารเคมี 2. ห้องย้ายเนื้อเยื่อ 3. ห้องเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

อุ ปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ใน งานเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การจัดวางเครื่องมือแลอุ ปกรณ์ ต้องคำ นึงถึง ความสะดวกใน การใช้งานภายในห้องต่างๆ ดังนี

15 การเจริญของชิ้นส่วนพืชที่นำามาเพาะเลียงบนอาหาร สังเคราะห์เพือให้เกิดเป็ นต้นพืชที่สมบู รณ์ มีกระบวนการเปลี่ยนแปลงของเนื้อเยื่อ 3 แบบ คือ

แคลลัส คือ กลุ่มเซลล์ที่ยังไม่ พัฒนาเป็ นยอดและราก

ยอดหรือราก โดยเกิดเป็ นอิสระต่อกัน เรียกกระบวนการนี้ว่ า organogenesis

เอ็มบริออยด์ มีขั้นตอนการพัฒนาเหมือน เอ็มบริโอจนเป็ นต้น มีจุดกำ เนิดจากเซลล์ ร่างกาย เรียก ว่ า embryogenesis

16 บรรณานุกรม https://waa.inter.nstda.or.th/stks/pub/20 20/20200604-plant-tissue-culture.pdf



https://www.trueplookpanya.com/learnin g/detail/917



https://forprod.forest.go.th/forprod/tech transfer/document/%E0%B8%84%E0%B8%



http://www.facagri.cmru.ac.th/research/s ubject_file/20210629140015.pdf



https://www.google.com/search? q=%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0 %B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B2%E0%B8% B0%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.