ไอเอส ปูนปั้น Flipbook PDF


41 downloads 113 Views 519KB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

โครงงานการศึกษาปูนปั้นประดับ จัดทำโดย นายเมธวัจน์

หิรัญพรฐานนท์ เลขที่ 9

นางสาวพิมพิศา โตเพ็ง

เลขที่ 30

นางสาวธันยชนก เชื้อพระคา

เลขที่ 38

นางสาวศิรดา

เลขที่ 42

สายมณี

นางสาวอทิตยา บัลลังน้อย

เลขที่ 44

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/7 เสนอ คุณครูอารยา บัววัฒน์ รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการสื่อสารและการนำเสนอ รหัสวิชา I30202 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา๒

กิตติกรรมประกาศ โครงงานวิจัยฉบับนี้สำเร็จอย่างสมบูรณ์แบบได้ด้วยความช่วยเหลือจาก ครูอารยา บัววัฒน์ คุณครูที่ปรึกษาที่ได้ให้คำแนะนำปรึกษาและให้ข้อมูลต่างๆ ขอกราบขอบพระคุณอย่างสูง ณ โอกาสนี้ ขอขอบพระคุณคุณครูโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา ๒ ที่ได้ให้คำแนะนำตลอดจน ตรวจสอบเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย อนึ่ง ผู้วิจัยหวังว่า งานวิจัยฉบับนี้จะมีประโยชน์อยู่ไม่น้อย จึงขอมอบส่วนดีทั้งหมดนี้ให้แก่เหล่า อาจารย์ที่ได้ประสิทธิ์ประสาทวิชาจนทำให้ผลงานวิจัยเป็นประโยชน์ต่อผู้เกี่ยวข้องและขอมอบความ กตัญญูกตเวทิตาคุณแด่บิดา มารดา และผู้มีพระคุณทุกท่านตลอดจนเพื่อนๆ ที่คอยให้ความช่วยเหลือ และสำหรับกำลังใจ คณะผู้จัดทำ

บทคัดย่อ โครงงานเรื่องปูนเครื่องประดับจัดทำขึ้นวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ปูนสามารถปั้นเป็นอะไรได้บ้าง (2) สามารถต่อยอดได้อย่างไรบ้าง (3) เพื่อศึกษาวิธีการปั้นปูน ในการทดลองนี้คณะผู้จัดทำได้ใช้อุปกรณ์ในการปั้นปูนปั้น จากโครงงานเรื่องการศึกษาการทำ ปูนปั้นประดับ โดยประกอบด้วย (1)ปูนปั้น (2) น้ำ (3) สี (4) น้ำยาเคลือบ (5) พู่กัน จานสี (6) อุปกรณ์ แกะสลัก (7) แก้วใส่น้ำ (8) ผ้าขี้ริ้ว (9) ไดร์เป่าผม 1 เตรียมปูนปั้นเละน้ำเปล่าให้ปูนปั้นนิ่ม 2 ปั้นปูน ปั้นเครื่องประดับ 3 เป่าปูนปั้นให้แห้งโดยใช้ไดร์เป่าผม 4 ทาสีปูนปั้นที่แห้งแล้ว 5 ใช้น้ำยาเคลือบ เคลือบเงา จากการศึกษารวบรวมข้อมูล ส่วนผสมต่างๆและวิธีการทำรวมถึงความเป็นมาของวัสดุที่ใช้ พบว่าปูนปั้นสามารถนำมาใช้งานในชีวิตได้จริง และสามาระทำเป็นเครื่องประดับสร้างรายได้และใช้เวลา ว่างให้เกิดประโยชน์ระหว่างการเรียนได้จริง

สารบัญ หน้า บทคัดย่อ................................................................................................................................................ก กิตติกรรมประกาศ..................................................................................................................................ข สารบัญสาร............................................................................................................................. ................ค สารบัญตาราง......................................................................................................................................... ง สารบัญรูปภาพ............................................................................................................................ ........... จ บทที่ 1 บทนำ.....................................................................................................................................1-2 ที่มาและความสำคัญ...............................................................................................................................1 วัตถุประสงค์ของการศึกษา.....................................................................................................................1 ขอบเขตของกำรศึกษา............................................................................................................................ 2 สมมติฐานของการศึกษา..........................................................................................................................2 ตัวแปรที่ศึกษาค้นคว้า..............................................................................................................................2 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง...............................................................................................................3-10 บทที่ 3 วิธีกำรดำเนินการ..............................................................................................................11-19 บทที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูล...........................................................................................................20-23 บทที่ 5 สรุปผล กำรอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ.......................................................................24-25 บรรณานุกรม.........................................................................................................................................26 ภาคผนวก

สารบัญตาราง ตารางที่ 1 ลักษณะทางกายภาพของปูนปั้นประดับ...........................................................................18 ตารางที่ 2 การเปรียบเทียบประสิทธิภาพจากปูนปั้นทำเองและปูนปั้นจากท้องตลาด.......................18 ตำรำงที่ 3 ระดับความพึงพอใจประสิทธิภาพของปูนปั้นประดับ........................................................19 ตำรำงที่ 4 แสดงข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม.........................................................................21 ตำรำงที่ 5 แสดงการวิเคราะห์ผลความพึงพอใจต่อปูนปั้นประดับ......................................................22

สารบัญรูปภาพ หน้า ภาพที่ 1 แสดงขั้นตอนการทำขั้นที่ 1...........................................................................................................................................................28 ภาพที่ 2 แสดงขั้นตอนการทำขัน้ ที่ 2...........................................................................................................................................................28

บทที่ 1 บทนำ 1.1 ที่มาและความสำคัญของโครงงาน เราอาจจะมีภาพจำเกี่ยวกับปูนปั้นหรือเครื่องปั้นดินเผาที่ต้องการทำออกมาเป็นเครื่องมือถ้วย ต่างๆแต่กลุ่มเราอยากยกระดับปูนปั้นให้ทันสมัยและเข้ากับแฟชั่นวัยรุ่นสมัยนี้ เพื่อให้มีความคิด สร้างสรรค์มากขึ้น เราจะทำปูนปั้นให้เป็นเครื่องประดับต่างๆ เช่น แหวน กำไลข้อมือและอีกมากมาย ซึ่ง เราคิดวิธีการโดยนำปูนปั้นมาทำเครื่องประดับต่างๆซึ่งจะใช้งบประมาณที่น้อยและประหยัดจึงทำให้กลุ่ม เราสามารคทำได้ ได้เรียนรู้วิธีการปั้นปูนที่ชาวบ้านหลายท้องถิ่นทำ ทำให้เรานำความรู้เกี่ยวกับการสืบ ทอดต่ออาชีพในท้องถิ่นเพื่อให้คนได้รับความสนใจและได้ความทันสมัยขึ้น นอกจากนี้เราอยากเสนอ ความคิดสร้างสรรค์ในการเอาปูนมาปั้นเป็นเครื่องประดับ เพื่อให้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

1.1 วัตถุประสงค์ของศึกษา 1.2.1 เพื่อศึกษาว่าปูนสามารถปั้นเป็นอะไรได้บ้าง 1.2.2เพื่อศึกษาว่าสามารถต่อยอดได้อย่างไรบ้าง 1.2.3เพื่อศึกษาวิธีการปั้นปูน

1.2 ขอบเขตการศึกษา 1.3.1ยกระดับเครื่องปั้นของไทยได้ 1.3.2ทำให้คนยุคใหม่สนใจเรื่องปูนปั้น 1.3.3ทุกคนแต่งตัวได้หลากหลายมากขึ้น

1.3 สมตติฐานของการศึกษา 1.4.1สิ่งประดิษฐ์ปูนปั้นประดับสามารถนำมาประกอบอาชีพได้ 1.4.2ปูนปั้นประดับจะตอบสนองความต้องการของผู้ซื้อได้ ผู้ซื้อมีความสุขและสนุก กับการแต่งตัวมากขึ้น

1.4

ตัวแปรที่ศึกษาค้นคว้า 1.5.1 ตัวแปรต้น -ปูนปั้น 1.5.2 ตัวแปรตาม -สามารถปั้นปูนเป็นเครื่องประดับใช้งานได้จริง 1.5.3 ตัวแปรควบคุม -ปริมาณปูนปั้น

-ระยะเวลาในการแห้งของปูนปั้น -ชนิดของปูนปั้น

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การศึกษาเรื่องการปั้นปูนประดับ อยากยกระดับปูนปั้นแบบที่ชาวบ้านในแต่ละท้องถิ่นทำให้ดู ทันสมัยมากขึ้น เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภคโดยใช้วัสดุที่ดีและสามารถนำมาใช้ได้จริงใน ชีวิตประจำวัน โดยผู้จัดทำได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นพื้นฐานและสนับสนุนแนวคิด ในการทำโครงงานดังนี้

หัวข้อที่ศึกษามีดังนี้ 1.ปูนปั้น 2.น้ำ 3.สี 4.น้ำยาเคลือบ

ปูนปั้น (http://www.cvc.ac.th/cvc2011/external_links.php?links=464) (2554) 1.ลักษณะทั่วไป ปูนเป็นวัสดุได้มาจากหินปูน หรือเปลือกหอยทะเล เผาไหม้ทำให้เป็นผง ถ้าปูนทำขึ้นจากหินปูน เรียกว่า ปูนหิน ถ้าทำขึ้นจากเปลือกหอยเรียกว่า ปูนหอย ปูนทั้งสองชนิดนี้สีขาวจึงมีชื่อเรียกอีกอย่าง หนึ่งว่า "ปูนขวา" ปูนหิน ปูนหอย หรือปูนขาวนี้ลักษณะเป็นผงสีขาว เมื่อนำมาแช่น้ำไว้สักพักหนึ่งแล้วนำมานวด หรือตำให้เนื้อ ปูนจับตัวเข้าด้วยกันเนื้อปูนจะเหนียวเกาะกันแน่นพอสมควร ขณะที่เนื้อปูนยังอ่อนตัวอยู่ นี้เหมาะเป็นวัสดุดิบนำมาใช้ ปั้นทำเป็นรูปภาพหรือทำเป็นลวดลายต่างๆ ใช้ตามวัตถุประสงค์ต่างๆ ที่ ต้องการภายหลังที่เนื้อปูนแห้งสนิทจะจับตัว แข็งคงรูปดั่งที่ปั้นแต่งขึ้นไว้แต่แรกไม่เปลี่ยนแปลง และเป็น วัสดุดิบที่มีคุณภาพแข็งถาวรอยู่ได้นานๆ ปี ดังนี้ ปูนขาว ซึ่งได้จากหินปูนก็ดี เปลือกหอยทะเลก็ดี จึง เป็นวัสดุดิบที่ช่างปั้นได้นำมาใช้สร้างทำงานปั้นแต่โบราณกาลมากระทั่ง ปัจจุบัน 2.ประโยชน์ของปูนปั้น งานปั้นปูน ซึ่งได้รับการสร้างขึ้นเป็นงานปั้นแบบไทยประเพณี เป็นความรู้และวิธีการเฉพาะงานของ ช่างปั้น แต่โบราณนั้น อาจลำดับวิธีและกระบวนการปั้นงานปูนปั้นให้ทราบดังต่อไปนี้ ปูนปั้นและการเตรียมปูน ปูนที่เป็นวัสดุดิบนำมาใช้ทำงานปั้นปูน คือปูนขาวจะต้องได้รับการเตรียมการให้มีคุณภาพ เหนียวและจับตัว แข็งแกร่งเมื่อภายหลังปูนปั้นนั้นแห้งสนิทแล้ว ด้วยการประสมน้ำยาและวัสดุบางชนิด เพื่อเพิ่มคุณภาพ คือ น้ำกาว อย่างหนึ่งกับน้ำมันพืชอย่างหนึ่ง ปูนขาวซึ่งเนื้อปูนพร้อมจะใช้ทำงานปั้นได้ เรียกว่า ปูนน้ำกาว ส่วนปูนขาวซึ่งเนื้อ ปูนผสมด้วนน้ำมันขึ้นเป็นเนื้อปูนเรียกว่า ปูนน้ำมัน

ปูนน้ำกาวประกอบด้วย ปูนขาวทรายแม่น้ำ กาวหนังสัตว์ น้ำตาลอ้อย และกระดาษฟาง เล็กน้อย เหตุที่ต้องใช้ กระดาษฟาง และน้ำตาลอ้อยผสมร่วมกับเนื้อปูน เพราะกระดาษฟางนั้นเป็นสิ่ง ช่วยเสริมโครงสร้างในเนื้อปูนให้ยึด กันมั่นคงและช่วยให้ปูนไม่แตกร้าวเมื่อเกิดการหดหรือขยายตัว ส่วน น้ำตาลอ้อยที่นำมาใช้ผสมปูนก็เพื่ออาศัยเป็นตัว เร่งให้ปูนจับตัวแข็งแรงเร็วขึ้น อาจทรงตัวอยู่ได้ใน ขณะที่ยังทำการปั้นไม่แล้วเสร็จ ปูนน้ำมันประกอบด้วย ปูนขาว ชัน น้ำมันตั้งอิ้ว ซึ่งเป็นน้ำมันพืชที่สกัดมาจากเมล็ดในของ ผลไม้จากต้น "ทั้ง" หรือ "ทั่ง" (Aleurites Fordii) น้ำมันชนิดนี้ทำมาแต่เมืองจีน เรียกว่า ทั้งอิ้ว แปลว่า น้ำมันจากต้นทั้ง คนไทยเรียกตาม ถนัดปากว่า "ตั้งอิ้ว" และกระดาษฟางเล็กน้อย

น้ำยาเคลือบแก้ว (http://www.armorth.com/content_005/)(2560) น้ำยาเคลือบแก้ว คือ ผลิตภัณฑ์ประเภทสารเคลือบ ที่ถูกพัฒนาขึ้นมาโดยมีจุดประสงค์เพื่อใช้ในการ ปกป้องพื้นผิวของวัสดุประเภทต่างๆ ให้มีความคงทน ทำความสะอาดง่าย และมีความเงางามน่ามอง ซึ่ง ในความเป็นจริงสารเคลือบชนิดนี้สามารถใช้งานได้หลายหลายไม่ได้จำกัดอยู่เพียงแค่การ เคลือบสี ของ รถหรือยวดยานพาหนะ เพียงแต่ว่าเมื่อนำมาใช้งานกับรถแล้วมันเพิ่มความเงาที่มองดูแล้วสวยงาม เพิ่ม ความแข็งแรง ป้องกันรอยขีดข่วน และทำให้สามารถทำความสะอาดได้ง่าย เหมาะสำหรับคนที่ไม่ค่อยมี เวลาดูแลรถ จึงเกิดความนิยมใช้งานในด้านนี้ และส่วนใหญ่เราจะรู้จักการ เคลือบแก้ว ก็ในฐานะ น้ำยา เคลือบสีรถ นี่เอง คุณสมบัติของ น้ำยาเคลือบแก้ว สำหรับคุณสมบัติของ น้ำยาเคลือบแก้ว ที่เราเอามาลงเคลือบที่ผิวรถที่พูดถึงกันทั่วไปในงานด้านการ ดูแลรักษารถ จะมีอยู่ 3 เรื่อง หลักๆ คือ คุณสมบัติด้านความแข็ง ซึ่งเป็นการวัดจากความแข็งของสารเคลือบเมื่อตกผลึกแข็งตัวแล้ว ส่วนใหญ่จะ พูดแทนกันด้วยตัวเลขตามด้วยตัวอักษร H เช่น มีความแข็ง 6H , มีความแข็ง 7H ซึง่ H นี้ย่อมาจาก Hardness สำหรับค่าความแข็งสูงสุดในปัจจุบันคือความแข็งระดับ 9H คุณสมบัติด้านความหนา ซึ่งเป็นการวัดจากความหนาของชั้นฟิล์มบนพื้นผิวเมื่อทำการเคลือบลงไปแล้ว มีหน่วยการวัดเป็น ไมครอน (1 ไมครอน = 1/1,000,000 เมตร) ความหนามีผลต่อการปกป้องสีจริง ของรถเอาไว้ด้านล่าง คุณสมบัติด้านความลื่น ซึ่งเป็นการวัดกันที่องศาการไล่น้ำ สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า จากการสังเกต ความกลมของเม็ดน้ำที่เกาะบนผิวรถ ส่วนใหญ่ที่มีวางจำหน่ายในท้องตลาดจะมีค่าองศาไล่น้ำอยู่ระหว่าง 90 – 140 องศา นี่เป็นคุณสมบัติของ น้ำยาเคลือบแก้ว ที่ผู้สนใจทำ เคลือบแก้ว ควรทำความเข้าใจก่อนเลือกใช้ เพื่อให้ สามารถตัดสินใจได้อย่างชัดเจนมากขึ้น และสำรวจความต้องการที่แท้จริงของตนเองได้ว่าเราต้องการ ได้รับประสิทธิภาพของ น้ำยาเคลือบแก้ว เหล่านี้อย่างครบถ้วยหรือว่าเราต้องการเพียงเรื่องของความเงา มันและความสวยงาม เพื่อที่จะได้ดำเนินการได้ถูกจุด และได้ผลลัพธ์ออกมาตรงกับความต้องการของเรา มากที่สุด

สี (https://www.novabizz.com/CDC/Interior/Interior_Colour01.htm)(2560) 1. ความหมายและการเกิดสี คำว่า สี (Colour) ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน หมายถึง ลักษณะของแสง ที่ปรากฏแก่ สายตาเรา ให้เห็นเป็น สีขาว ดำ แดง เขียวฯลฯหรือการสะท้อนรัศมีของแสงมาสู่ตาเรา สี ทีป่ รากฏ ในธรรมชาติ เกิดจากการสะท้อนของแสงสว่าง ตกกระทบ กับวัตถุแล้ว เกิดการหักเหของ แสง ( Spectrum ) สีเป็นคลื่นแสงชนิดหนึ่ง ซึ่งปรากฏให้เห็น เมื่อแสงผ่านละอองไอน้ำ ในอากาศ หรือ แท่งแก้วปริซึม ปรากฏเป็นสีต่างๆ รวม 7 สี ได้แก่ สีแดง ม่วง ส้ม เหลือง น้ำเงิน คราม และเขียว เรียกว่า สีรุ้ง ที่ปรากฏบนท้องฟ้า 2. ประเภทของสี สี มีอยู่ทั่วไปในสิ่งแวดล้อมรอบๆตัวเรา สีที่ปรากฏอยู่ในโลกสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ 2.1 สีที่เกิดในธรรมชาติ มีอยู่ 2 ชนิดคือ ก. สีที่เป็นแสง ( Spectrum ) คือ สีที่เกิดจากการหักเหของแสง เช่น สีรุ้ง สีจากแท่งแก้วปริซึม ข. สีที่อยู่ในวัตถุ หรือเนื้อสี ( Pigment ) คือ สีที่มีอยู่ในวัตถุธรรมชาติทั่วไป เช่น สีของพืช สัตว์ หรือแร่ ธาตุต่างๆ 2.2 สีที่มนุษย์สร้างขึ้น คือ สีที่ได้จากการสังเคราะห์ เพื่อใช้ประโยชน์ในงานต่างๆ เช่น งานศิลปะ อุตสาหกรรม การพาณิชย์ และในชีวิตประจำวัน โดยสังเคราะห์จากวัสดุธรรมชาติ และจากสารเคมี ที่ เรียกว่า สีวิทยาศาสตร์ ซึ่งสีที่ได้จาก การสังเคราะห์สามารถนำมาผสมกัน ให้เกิดเป็น สีต่างๆอีกมากมาย น้ำ (https://www.setsocialimpact.com/Article/Detail/60974) (2545) น้ำเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับชีวิตทุกชีวิต ไม่ว่าจะเป็นมนุษย์ สัตว์เล็กหรือสัตว์ใหญ่ ตลอดจนพืชถ้าขาดน้ำก็จะต้องแห้งเหี่ยวและเฉาตายในที่สุด มนุษย์ต้องใช้น้ำสัมพันธ์อยู่กับ ชีวิตประจำวันอย่างเห็นได้ชัด เช่น ใช้น้ำสำหรับดื่ม ใช้หุงต้มอาหาร ใช้ชะล้างสิ่งสกปรกต่าง ๆ ใช้ซัก เสื้อผ้า ใช้ในเครื่องทำความร้อน เครื่องลดความร้อน เช่นในโรงงานอุตสาหกรรมบางประเภท และใช้กับ เครื่องปรับอากาศ เป็นต้น ในการเกษตรกรรม การทำเรือกสวนไร่นา ทำสวนครัว เลี้ยงสัตว์ ก็ต้องใช้เป็นองค์ประกอบที่ สำคัญทั้งสิ้น แม้แต่ในการอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น ในการหล่อเย็น ในพลังไอน้ำก็ดี พลังงานไฟฟ้าก็ดี การกำจัดน้ำทิ้งและขยะก็ดี ตลอดจนถึงการดับไฟเมื่อเกิดไฟไหม้ น้ำเป็นองค์ประกอบที่สำคัญทั้งนั้น นอกจากนี้แหล่งน้ำยังเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ สำหรับท่องเที่ยว ตกปลา ว่ายน้ำ ตลอดจนใช้ประกอบ อาชีพ เช่นการประมงอีกด้วย คงรู้ถึงประโยชน์ของน้ำที่มีผลต่อการดำเนินชีวิตของเราแล้ว ทรัพยากรทุก อย่างใช่ว่าจะมีให้ใช้ได้อย่างไม่จำกัด เพราะฉะนั้นเราควรมีวิธีอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำให้อยู่ และมีใช้ให้นาน ที่สุด ซึ่งมีวิธีอนุรักษ์ดังนี้ บำบัดน้ำเสียและดูแลระบบบำบัดน้ำเสียให้สามารถดำเนินการได้อย่างมี ประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่องใช้บ่อดักไขมันและนำไขมันไปจัดการให้ถูกต้อง ลดปริมาณ การใช้นำอย่าง ประหยัด และความสกปรกของของเสียและน้ำเสียที่ระบายจากสถานประกอบการ หรือแหล่งกำเนิด

มลพิษประเภทต่างๆ การนำน้ำที่ผ่านการบำบัดแล้วไปใช้ประโยชน์ในด้านอื่นๆอีก สามารถนำน้ำที่ใช้ แล้วกลับมาหมุนเวียนใช้ได้ใหม่อีก โดยเฉพาะการเกษตรในพื้นที่ข้างเคียงควบคุมไม่ให้เกิดมลพิษแก่ แหล่งน้ำ ควบคุมไม่ให้มีการปล่อยสิ่งสกปรกลงไปในแหล่งน้ำ ไม่ทิ้งขยะมูลฝอย น้ำเสียและของเสียลงสู่ แหล่งน้ำและทางระบายน้ำสาธารณะสอดส่องและเป็นหูเป็นตาร่วมกับภาครัฐในการตรวจสอบและเฝ้า ระวังการระบายมลพิษจากแหล่งกำเนิดในบริเวณข้างเคียง การควบคุมรักษาต้นน้ำลำธาร ไม่มีการ อนุญาตให้มีการตัดต้นไม้ทำลายป่าอย่างเด็ดขาด

บทที่ 3 วิธีการดำเนินการทดลอง การศึกษาค้นคว้า ปูนปั้นประดับ เป็นการศึกษาค้นคว้าที่มุ่งศึกษาเกี่ยวกับการศึกษา ประสิทธิภาพของปูนปั้น 5 ด้าน 1.ด้านความละเอียดของชิ้นงาน 2.ด้านความมันเงาของชิ้นงาน 3.ด้าน ความสะอาดของชิ้นงาน 4.ด้านความสวยงาม 5.ด้านภาพรวมและความพึงพอใจต่อผู้ใช้งาน ความพึง พอใจในการใช้ปูนปั้นประดับ โดยการเก็ลรวบรวมข้อมูลการประมินความพึงพอใจจากความคิดเห็นของ นักเรียนและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ ศึกษามัธยมเขต 2 ทางแก้ไขปรับปรุงพัฒนาจุดบกพร่องปูนปั้นประดับ เพื่อให้ปูนปั้นประดับทำให้มี คุณภาพมากที่สุดทำการศึกษาค้นคว้าโดยวิธีการและขั้นตอนตามลำดับดังนี้ 1.ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2.เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า 3.การเก็บรวบรวมข้อมูล 4.การวิเคราะห์ข้อมูล 5.สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ 6.วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือ 1.ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในกํารศึกษาค้นคว้าได้แก่ นักเรียนและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียน นวมินท ราชินูทิศ สตรีวิทยา๒ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 กรุงเทพมหานคร จํานวน 100 คน 2.เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า วิธีการสร้างเครื่องมือในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ผู้ศึกษาได้ใช้แบบสอบถามที่ผู้ศึกษาจัดทำขึ้นเป็น เครื่องมือ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลซึ่งผู้ศึกษาได้ได้สร้างแบบสอบถามให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ องค์การศึกษา และขอบเขตของการศึกษาซึ่งประกอบด้วยคําถาม 2 ส่วนดังนี้ ส่วนที่ 1 เป็น แบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูล ปัจจัย ด้านบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามมีลักษณะแบบสอบถามปลายปิด (Close Ended Respmonse question) ส่วนที่ 2 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับคุณภาพของปูนปั้น ประดับตามความเห็นของได้แก่ นักเรียนและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา ๒ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 กรุงเทพมหานคร มีลักษณะคําถามเป็น คําถาม มาตรส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับตํามวิธีของลิเคิร์ท (Likert) คือ น้อยที่สุด น้อย ปาน กลาง มาก และมากที่สุด โดยมีเกณฑ์การให้คะแนนและเกณฑ์การให้คะแนนและเกณฑ์การจัดระดับ ดังนี้

ระดับความคิดเห็น

ค่าน้ำหนักคะแนนของตัวเลือกตอบ

น้อยที่สุด กำหนดค่าเท่ากับ 1 คะแนน น้อย กำหนดค่าเท่ากับ 2 คะแนน ปานกลาง กำหนดค่าเท่ากับ 3 คะแนน มาก กำหนดค่าเท่ากับ 4 คะแนน มากที่สุด กำหนดค่าเท่ากับ 5 คะแนน เกณฑ์ในการแปลความหมายค่าร้อยละของคะแนนระดับความเห็นเพื่อจัดระดับคะแนน การศึกษา สภาพการดำเนินกิจกรรมต่างๆกําหนดเป็นช่วงคะแนนดังต่อไปนี้ ช่วงคะแนนร้อยละ 80 คะแนนขึ้นไป = ดีมาก ช่วงคะแนนร้อยละ70-79คะแนน =ดี ช่วงคะแนนร้อยละ60-69คะแนน =ปานกลาง ช่วงคะแนนร้อยละ50-59คะแนน =พอใช้ ช่วงคะแนนร้อยละ40-49คะแนน =ปรับปรุง 3.เก็บรวบรวมข้อมูล ในการดําเนินการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลในครั้งนี้ผู้ศึกษาได้ดําเนินการตามลาดับขั้นตอน ดังนี้ ขอความร่วมมือจากนักเรียนและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนนวมินทราชินูทิศสตรีวิทยา๒ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 กรุงเทพมหานคร ในการทาแบบสอบถามเพื่อ การ จัดเก็บรวบรวมข้อมูลจากบุคลากรทางสถานศึกษาโรงเรียนในสังกัด ผู้ศึกษานําแบบสอบถามไปแจกด้วยตนเองทั้งหมดในระหว่างวันที่ 25 – 27 กันยายน 2563 จํานวน 50 ชุด ชุดเมื่อถึงกําหนดวันนัดหมายผู้ศึกษาไปขอรับและแบบสอบถามคืนตนเองพร้อมตรวจสอบ ถูกต้อง ความเรียบร้อยความสมบูรณ์ของข้อมูลในการตอบแบบสอบถามในแต่ละชุดและจํานวนข้อมูลที่ ได้รับ จํานวน 50 ชุด ผู้ศึกษานําแบบสอบถามหรือข้อมูลที่เก็บรวบรวมในแต่ละสถานศึกษาเพื่อนําไปวิเคราะห์และ แปลผลข้อมูล 4. การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้ศึกษาค้นคว้าดําเนินการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลตามลำดับและผู้ ศึกษา ค้นคว้านําข้อมูลมาประมวลผลและวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติโดยใช้สถิติวิเคราะห์ ดังนี้ การวิเคราะห์ข้อมูลตอนที่ 1 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถามโดยใช้ความถี่ร้อยละ ตอนที่ 2 ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปูนปั้นประดับ จําแนกตามสถานภาพ ได้แก่ นักเรียน ครู/อาจารย์ บุคคลทั่วไป และเพศ ได้แก่ ชาย หญิง

5.สถิตที่ใช้ในการวิเคราะห์ การวิเคราะห์ข้อมูลผู้ศึกษาค้นคว้าได้วิเคราะห์และประมวลผลโดยใช้โปรแกรมสําเร็จรูปด้วย ระบบคอมพิวเตอร์สถิติที่ใช้ คือ สถิติพรรณนาการหาค่าความถี่ค่าร้อยละค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานการหา ค่าความถี่โดยวิธีนับ คํานวณ สูตรการหาค่าร้อยละ =

𝑋 𝑥 100 𝑁

6.วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือ 6.1.1 อุปกรณ์หลักที่ต้องใช้ ชนิดอุปกรณ์ ปูนปั้น น้ำยาเคลือบ สี 6.1.2 วัสดุและอุปกรณ์ท่ีตอ้ งจัดหา ชนิดอุปกรณ์ พู่กัน จานสี แก้วใส่น้ำ ไดร์เป่าผม

วิธีการทดลอง 1. นำปูนปั้นมาแช่น้ำและปั้นเป็นเครื่องประดับที่เราต้องการ

จำนวน 2 ก้อน 1 ขวด 1ถาด จำนวน 3 ด้าม 1 ถาด 2 ใบ 1 เครื่อง

2.นำปูนปั้นที่ปั้นแล้วมาระบายสีตามที่เราต้องการ

3.ใช้ไดร์เป่าผม เป่าให้แห้งสนิท

4.รอให้แห้งและนำไปเคลือบเงาเป็นอันเสร็จ

บทที่ 4 ผลการทดลอง การศึกษาค้นคว้าการทำปูนปั้นซึ่งเป็นสิ่งที่สามารถสร้างรายได้ได้คณะผู้จัดทำจึงนำมาแปรรูป ปั้นเป็นเครื่องประดับเพื่อเพิ่มมูลค่าและเพิ่มรายได้ให้แก่คนในชุมชน การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้เป็นนี้เป็น การศึกษาและรวบรวมข้อมูลเพื่อนำมาจัดทำเป็นโครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์โดยภาพหลังจากที่ทำ ผลิตภัณฑ์เสร็จสมบูรณ์แล้ว ทางคณะผู้จัดทำจึงได้นำผลิตภัณฑ์มาให้นักเรียนและบุคลากรภายใน โรงเรียนนวมินทราชินูทิศสตรีวิทยา๒ ได้ลองใช้ และทำแบบประเมินความพึงพอใจต่อคุณภาพของ ผลิตภัณฑ์และร่วมกันเสนอแนะ 4.1 วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของนักเรียนและบุคลากรภายในโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา๒ 4.2 วิเคราะห์คะแนนความพึงพอใจต่อปูนปั้นของนักเรียนและบุคลากรภายในโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา๒ 4.1 วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของนักเรียนและบุคลากรภายในโรงเรียนนวมินทราชินูทิศสตรีวิทยา๒ ตารางที่ 4.1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม รายการ ข้อมูลส่วนตัว จำนวน ร้อยละ ชาย 27 45.8 เพศ หญิง 32 54.2 รวมทั้งสิ้น 59 100 15-18 26 44.1 อายุ 19-23 20 33.9 24 ปีขึ้นไป 13 22.0 รวมทั้งสิ้น 59 100 โสด 56 95.0 สถานภาพ สมรส 3 5.0 รวมทั้งสิ้น 59 100 ปวช. 10 17.0 มัธยมศึกษาตอนต้น 1 1.7 ระดับการศึกษา มัธยมศึกษาตอนปลาย 44 74.6 ปริญญาตรี 4 6.7 รวมทั้งสิ้น 59 100 จากตารางที1่ พบว่าพื้นฐานของนักเรียนและบุคลากรภายในโรงเรียน มีดังนี้ 1. เพศ ผู้ทำแบบสอบถามส่วนมากเป็นเพศหญิง ร้อยละ 54.2 รองลงมาคือ เพศชาย ร้อยละ 45.8 2. อายุ ผู้ทำแบบสอบถามส่วนมากมีอายุ 15-18 ปี ร้อยละ 44.1 รองลงมาคือ อายุ 19-23 ปี ร้อย ละ 33.9 ลำดับสุดท้ายคือ มีอายุมากกว่า 24ปีขึ้นไป ร้อยละ 22.0

3..ระดับการศึกษา ผู้ทำแบบสอบถามส่วนมากอยู่ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ร้อยละ 74.6 รองลงมาคือ ปวช. ร้อยละ 17.0 รองลงมาคือ ปริญญาตรี ร้อยละ 6.7 และน้อยที่สุดคือ มัธยมศึกษา ตอนต้นร้อยละ 1.7 4.2 วิเคราะห์คะแนนความพึงพอใจต่อปูนปั้นของนักเรียนและบุคลากรภายในโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา2 ตารางที่ 4.2 การวิเคราะห์ผลความพึงพอใจต่อปูนปั้น ลำดับ ระดับความพึงพอใจ รายการประเมิน ดี ดี ปาน พอ ปรับ มาก กลาง ใช้ ปรุง ร้อยละ แปล ผล 5 4 3 2 1 1 ความคงทนของ 21 29 9 - 84.07 ดีมาก ผลิตภัณฑ์ 2 กลิ่นของผลิตภัณฑ์ 21 29 7 1 82.37 ดีมาก 3 ความคุ้มค่าของ 16 20 20 1 1 75.60 ดี ผลิตภัณฑ์ 4 ประหยัดต้นทุนเมื่อ 26 26 5 1 1 85.42 ดีมาก เทียบในท้องตลาด 5 ง่ายต่อการเก็บและ 25 25 8 - 1 82.17 ดีมาก พกพา 6 ง่ายต่อการใช้งาน 26 28 3 - 1 84.07 ดีมาก 7 หลังจากการทดลอง 20 29 9 - 1 77.62 ดีมาก ผลิตภัณฑ์ 8 ความสวยงามของ 25 23 10 - 1 82.40 ดีมาก บรรจุภัณฑ์ 9 การระคายเคืองเมื่อ 16 24 16 2 1 77.62 ดี ผลิตภัณฑ์สัมผัสกับ ผิว รวม 82.40 ดีมาก เกณฑ์การให้คะแนน ช่วงคะแนนร้อยละ 80 ดีมาก ช่วงคะแนนร้อยละ 50-59 พอใช้ ช่วงคะแนนร้อยละ 70-79 ดี ช่วงคะแนนร้อยละ 40-49 ปรับปรุง จากตารางการวิเคราะห์ผลความพึงพอใจต่อปูนปั้นทั้ง 9 ข้อ พบว่าภาพรวมของผลิตภัณฑ์อยู่ในเกณฑ์ดี มาก โดยด้านที่มีคะแนนมากที่สุด คือ ด้านความคุ้มค่าของผลิตภัณฑ์และง่ายต่อการเก็บและพกพา มีค่า ร้อยละ 85.42 รองลงมาคือ ด้านประหยัดต้นทุนเมื่อเทียบกับผลิตภัณฑ์ในท้องตลาด มีค่าร้อยละ 84.74 และด้านที่เหลือมีระดับคะแนนอยู่ในเกณฑ์ดีถึงดีมาก

ข้อเสนอแนะ ความคิดเห็นส่วนใหญ่แนะนำให้ปรับปรุงบรรจุภัณฑ์ใหม่ให้มีความสวยมากขึ้นเพื่อจะเพิ่มมูลค่าและ ยอดขาย

ผลการทดลอง 1.ผลการศึกษาปูนปั้นประดับ ได้แก่ แหวน และ กำไลข้อมือ ตารางที่ 1 ลักษณะทางกายภาพปูนปั้นประดับ ปูนปั้นประดับ ลักษณะผิวเนื้อ สี แหวน ผิวเรียบ หลายสี กำไลข้อมือ ผิวเรียบ หลายสี

ความมันวาว มันวาว มันวาว

ตารางที่ 2 การเปรียบเทียบประสิทธิภาพปูนปั้นประดับทำเอง และ ปูนปั้นประดับจากโรงงานตาม ท้องตลาด ประสิทธิภาพ ชนิดผลิตภัณฑ์ปูนประดับ ก่อนใช้ผลิต หลังใช้ผลิต ปูนปั้น แหวาน กำไลข้อมือ มันวาว มันวาว มันวาว มันวาว ปูนปั้นประดับตามโรงงาน ไม่มันวาว ไม่มันวาว 2. ผลการเปรียบเทียบประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปูนปั้นประดับจากท้องตลาด โดยใช้ แบบประเมิน ความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างผู้ใช้ ปูนปั้นประดับ ตารางที่ 3 ระดับความพึงพอใจประสิทธิภาพของปูนปั้นประดับ ชนิดผลิตภัณฑ์ รายละเอียด ระดับความพึงพอใจ ร้อยละความพึงพอใจ ปูนปั้นประดับ ของอุปโภคระดับมากถึง ค่าเฉลี่ย แปลความ มากที่สุด ลักษณะเนื้อผิว 4.54 มากที่สุด 86.86 สี 4.40 มาก 82.48 ปูนปั้นประดับ กลิ่น 3.09 ปานกลาง 27.37 แหวน กำไล ความมันวาว 4.40 มากที่สุด 91.24 รายละเอียด ระดับความพอใจ ร้อยละความพึงพอใจ ของผู้บริโภคมากถึงมาก ค่าเฉลี่ย แปลความ ที่สุด ลักษณะเนื้อผิว 2.78 ปานกลาง 25.55 ปูนปั้นประดับตาม สี 1.74 น้อย 8.76 ท้องตลาด กลิ่น 3.08 น้อย 13.50 ความมันวว 4.33 มาก 88.69

บทที่ 5 สรุปผล อภิปราย และข้อเสนอแนะ การทำแหวนจากปูนปั้น มีวัตถุประสงค์ 4 ข้อ คือ (1)เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของปูนว่าปั้นเป็น อะไรได้บ้าง (2)สามารถต่อยอดอะไรได้บ้าง (3)เพื่อศึกษาวิธีการปั้นปูน (4)เพื่อประหยัดต้นทุนการผลิต (5)เพื่อเป็นการนำแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในการทำโครงงาน ดังนี้ กลุ่มเป้าหมายที่เราใช้ในการศึกษาครังนี้ เป็นนักเรียนโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา๒ และ บุคลากรภายในโรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ แบบสอบถามความคิดเห็นความพึงพอใจในการ ใช้แหวนที่ทำจากปูนปั้นโดยแบบสอบถามคือ Google From ซึ่งเรานั้นให้สแกน QR Code โดยมี คำถามสำรวจจำนวน 8 ข้อ การวิเคราะห์ข้อมูลผู้ศึกษาได้วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติที่ใช้ในการศึกษา ครั้งนี้คือการการ้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

สรุปผลการศึกษาทดลอง จากการศึกษาทดลองการทำแหวนจากปูนปั้นสมารถสรุปได้ว่าแหวนทำจากปูนปั้นมีลักษณะที่ แข็งแรงสวยงามและมีความเงาจากสารเคลือบเงา ซึ่งปูนปั้นมีความแห้งไม่สนิทจะไม่แข้งแรงและไม่เป็น รูปร่าง อาจเนื่องจากสภาพอากาศความแน่นของปูน

อภิปราย จากการศึกษาค้นคว้าเรื่องการทำแหวนจากปูนปั้น ตามความคิดเห็นความคิดเห็นจากนักเรียน และบุคลากรภายในโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา๒ สามารถอภิปรายได้ดังนี้ จาการสอบถามความคิดเห็นความพึงพอใจของนักเรียนและบุคคลากรในโรงเรียนนวมินทราชินู ทิศ สตรีวิทยา๒ ในเรื่องการทำแหวนปูนปั้นพบว่าระดับมากที่สุด

ข้อเสนอแนะ จากการศึกษาข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลจากผลการสำรวจมีข้อเสนอแนะดังนี้ 1. ควรปรับปรุงเรื่องการเคลือบให้เงามากกว่าเดิม 2. ศึกษาการปั้นปูนประดับให้หลากหลายเพื่อตอบรับผู้บริโภค

บรรณานุกรม จงดี จนงคงกาญน์. (2562). ประติมากรรมปูนปั้นความงามศาสตร์และศิลป์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ วาดศิลป์. เนตรนารี ความมีทรัพย์. (2556). สนุกกับตุ๊กตาปูนปลาสเตอร์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ วาดศิลป์. ปราการเกียรติ. (2555). น้ำคือชีวิต. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ ปาเจรา ปูนปั้น//.ประโยชน์ของปูนปั้น/.สืบค้น 5 ตุลาคม 2565,จาก (http://www.cvc.ac.th/cvc2011/external_links.php?links=464)(2554) น้ำยาเคลือบแก้ว//.ประโยชน์ของน้ำยาเคลือบแก้ว/.สืบค้น 11 ตุลาคม 2565,จาก (http://www.armorth.com/content_005/)(2560) สี//.ประโยชน์ของสี/.สืบค้น 11 ตุลาคม 2565,จาก (https://www.novabizz.com/CDC/Interior/Interior_Colour01.htm)(2560) น้ำ//.ประโยชน์ของน้ำ/.สืบค้น 12 ตุลาคม 2565,จาก (https://www.setsocialimpact.com/Article/Detail/60974) (2545)

ภาคผนวก

ภาพที่1 นำปูนปั้นมาแช่น้ำและปั้นเป็นเครื่องประดับที่เราต้องการ

ภาพที่2 นำปูนปั้นที่ปั้นแล้วมาระบายสีตามที่เราต้องการ

ประวัติผู้ศึกษาค้นคว้า ชื่อ-นามสกุล วันเดือนปีเกิด ที่อยู่ปัจจุบัน สถานที่ศึกษาปัจจุบัน ประวัติการศึกษา ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา

นายเมธวัจน์ หิรัญพรฐานนท์ 11 ธันวาคม 2548 หทัยราษฏร์24/1 เขตคลองสามวา แขวงสามวาตะวันตก 28/52หมู่บ้านพนาสนธิ์การ์เด้นโฮม5 10510กรุงเทพมหานคร โรงเรียนนวมิทราชินูทิศ สตรีวิทยา2 สำนักเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมเขต2 สารสาสน์นิมิตรใหม่ เอกบูรพาวิเทศศึกษา

ประวัติผู้ศึกษาค้นคว้า ชื่อ-นามสกุล วันเดือนปีเกิด ที่อยู่ปัจจุบัน สถานที่ศึกษาปัจจุบัน ประวัติการศึกษา ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา

นางสาวพิมพิศา โตเพ็ง 15 ธันวาคม 2548 บ้านเลขที่26/65 หมู่14 คลอง10-14 ซอยสิบ แขวงคลองสิบ เขตหนองจอก จังหวัดกรุงเทพมหานคร 10530 โรงเรียนนวมินทราชินทู ิศ สตรีวิทยา2 สำนักเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมเขต2 ศาลาคู้ มีนบุรี ศาลาคู้ มีนบุรี

ประวัติผู้ศึกษาค้นคว้า ชื่อ-นามสกุล วันเดือนปีเกิด ที่อยู่ปัจจุบัน สถานที่ศึกษาปัจจุบัน ประวัติการศึกษา ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา

นางสาวธันยชนก เชื้อพระคา 26 ธันวาคม 2548 47/109 ม.ลีลา ซอยนิมิตใหม่3/1 ถนนนิมิตใหม่ แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร โรงเรียนนวมินทราชินทู ิศ สตรีวิทยา2 สำนักเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมเขต2 โรงเรียนเตรียมบัณฑิต (บริบูรณ์ศิลป์ศึกษา) โรงเรียนบางแคเหนือ (ชั้น-จำนงค์ฉ่องสวนอ้อยอนุสรณ์)

ประวัติผู้ศึกษาค้นคว้า ชื่อ-นามสกุล วันเดือนปีเกิด ที่อยู่ปัจจุบัน สถานที่ศึกษาปัจจุบัน ประวัติการศึกษา ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา

นางสาวศิรดา สายมณี 12 พฤศจิกายน 2548 22/1 ม.3 ต.บึงคำพร้อย อ.ลำลูกกา จ.ปทุมธานี โรงเรียนนวมินทราชินทู ิศ สตรีวิทยา2 สำนักเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมเขต2 โรงเรียนเฟื่องฟ้าวิทยา โรงเรียนธัญวิทยา

ประวัติผู้ศึกษาค้นคว้า ชื่อ-นามสกุล วันเดือนปีเกิด ที่อยู่ปัจจุบัน สถานที่ศึกษาปัจจุบัน ประวัติการศึกษา ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา

นางสาวอทิตยา บัลลังน้อย 1 มกราคม 2549 8ซอยประชาร่วมใจ72 ถนนประชาร่วมใจ แขวงทรายกองดินใต้ เขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร โรงเรียนนวมินทราชินทู ิศ สตรีวิทยา2 สำนักเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมเขต2 โรงเรียนเซนต์เทเรซา หนองจอก โรงเรียนเซนต์เทเรซา หนองจอก

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.