คลื่น Flipbook PDF

คลื่น

62 downloads 106 Views 16MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

บทที ่ 1 เรื ่ อง “คลื ่ น” - Ê×è Í » à Р¡ Í º ¡ Ò Ã à ÃÕ Â ¹ ¡ Ò Ã Ê Í ¹ Ã Ò Â ÇÔ ª Ò ÇÔ · Â Ò È Ò Ê µ Ï ¾×é ¹ ° Ò ¹ Á . 6 -


บทที ่ 1 เรื ่ อง คลื ่ นกล คลื ่ นเสียง คลื ่นแม่เหล็กไฟฟา ้ บทที ่ 2 เรื ่ อง กัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์ CONTENT


คลื่ น (wave) ? คลื่ นบนผิวนํ้ า


คลื ่ น (wave) ? คลื ่ นเสียง


คลื ่ น (wave) ? “เป็นปรากฏการณ” ์ ที ่ เกิดจากการ ทําให้มีการแผ่หรือถ่ายโอนพลังงาน จากการสั่นสะเทือนไปยังจุดต่าง ๆ การถ่ายเทพลังงานผ่านตัวกลาง หรือไม่ผ่านตัวกลาง (through matter or space) 1. คลื ่ นที ่ ถ่ายเทพลังงาน ผ่านตัวกลาง เรียกว่า 2. คลื ่ นที ่ ถ่ายเทพลังงานโดย ไม่ต้องอาศัยตัวกลาง เรียกว่า


คลื่ นกล (Mechanical waves) คือ คือ คลื ่ นที ่ ต้อง อาศัยตัวกลาง ในการเคลื่ อนที ่หรือถ่ายโอนพลังงาน อัตราเร็วของคลื่ นกล ขึ ้ นอยู่กับความยืดหยุ่นของตัวกลาง ที ่ คลื ่ นเคลื ่ อนผ่าน ตัวอย่างเช่น • คลื ่ นในเส้นเชือก • คลื ่นในสปริง • คลื ่ นน ํ้ า • คลื ่ นเสียง


ตอนที่ 1 : ประเภทคลื่ นกล มี 2 ประเภท เป็นคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางเคลื่อนทีตาม ่ หรือขนานกับทิศการเคลื่อนทีของคลื ่ ่ น เช่น คลื่นเสียง คลื่นตามยาวบนขดลวดสปริง ที่เกิดจากการดึงหรืออัดสปริง เป็นคลื่นที่อนุภาคของตัวกลางเคลื่อนทีขวาง ่ หรือ ตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนทีของคลื ่ ่ น เช่น คลื่นผิวนํ้า คลื่นในเชือก 1. คลื่ นตามยาว (longitudinal wave) 2. คลื่ นตามขวาง (transverse wave)


คลื่ นตามขวาง (Transverse Wave ) คลื่ นตามยาว (Longitudinal Wave or Compression Waves) VS


คลื่ นกล (Mechanical waves) องค์ประกอบ 1. สันคลื่น (Crest) เป็นตําแหน่งสูงสุดของคลื่นจากระดับสมดุล เช่น ตําแหน่ง A, F, J ซึ่งเป็นตําแหน่งที่อยู่สูงสุด 2. ท้องคลื่น (Trough) เป็นตําแหน่งตํ่าสุดของคลื่นจากระดับสมดุลเช่นตําแหน่ง C, H, L


0.3 -0.3


คลื่ นกล (Mechanical waves) 4. ความยาวคลื ่ น(Wavelength) เป็นความยาวของหนึ่งลูกคลื่ น ซึ ่งสามารถวัดได้จาก สันคลื ่ นถึงสันคลื ่ นที ่ อยู่ถัดกัน หรือ ท้องคลื ่ นถึงท้องคลื ่ นที ่ อยู่ถัดกัน หรือ ระยะที ่ คลื ่ น เคลื ่ อนที ่ ครบหนึ ่งรอบ แทนด้วยสัญลักษณ์ λ อ่านว่า แลมดา ความยาวคลื ่นมีหน่วยเป็นเมตร (m) เช่น ระยะจากตําแหน่ง A ถึง F,ระยะจากตําแหน่ง C ถึง H,ระยะจากตําแหน่ง G ถึง K องค์ประกอบ λ


คลื่ นตามยาว (Longitudinal Wave or Compression Waves) อัด ขยาย อัด ขยาย λ λ *สรุป : ระยะทางจากส่วนอัดถึงส่วนอัดอันถัดกัน = λ ระยะทางจากส่วนขยายถึงส่วนขยายถัดกัน = λ


คลื่ นกล (Mechanical waves) 1. คาบ (Period) : T คือ ช่วงเวลาที ่ เคลื ่ อนที ่ได้หน่ ึงลูกคลื ่ น ความถี ่ = จํานวนลูกคลื ่ น ช่วงเวลาทั้งหมด หรือ f = 1 T 2. ความถี ่ (Frequency) : f คือ จํานวนลูกคลื่ นในเวลาหน่ ึงวินาที หน ่วยเป็ น เฮิรตซ์ Hertz (Hz) คาบ = ช่วงเวลาทั้งหมด จํานวนลูกคลื ่ น หรือ T = 1 f


แบบฝึกหัดหนาที ้ ่ 3-5


อัตราเร็วของคลื่ น (Wave speed) : v คลื่ นกล (Mechanical waves) คือ ระยะทางที ่ เคลื ่ อนที ่ ได้ในหน่งหน ึ ่ วยเวลา หรือ อัตราเร็วคลื่ น = ผลคูณของความถีและความยาวคลื ่ ่ น และอัตราเร็ว = ระยะทาง เวลา v = f λ v = λ T v = S t 1 2 3 คาบ


แบบฝึกหัดหนาที ้ ่ 6-7


สมบัติของคลื่ น เกิดได้ทั้งในคลื่ นและอนภาค ุ เกิดได้เฉพาะในคลื่ น เรียกว่า “สมบัติเฉพาะของคลื ่ น”


สมบัติของคลื่ น เราจะเรียก เหตุการณน ์ ี ้ ว่า อย่างไร ?


1. การสะท้อนคลื ่ น เมื่อคลื่นเคลื่ อนที่ ไปถึงจุด สุดขอบเขต (Boundary) ของตัวกลาง เช่น • ปลายสุดของตัวกลาง • รอยต่อระหว่างตัวกลาง “จะเกิดการสะท้อนกลับในตัวกลางเดิม”


การหาตําแหน่งที ่ อยู่ของวัตถุ โดยใช้เสียงสะท้อน (echolocation) ในสัตว์ ค้างคาวมันใช้การหาตําแหน่งที่ อ ยู่ ข อ ง ว ั ต ถุ โ ด ย ใ ช้ เ สี ย ง ส ะ ท้ อ น (echolocation) เพื่อนําทางและล่าเหยื่อ โดยมันปล่อยคลื่นเหนือเสียงออกมา สรุปว่า ค้างคาวสามารถบินในตอน กลางคืนที่มืดมิดได้โดยไม่ชนกับผนังถํ้าหรือ สิ่งอื่นๆ รวมถึงคนตาบอดบางคนสามารถ พัฒนาทักษะพิเศษหลบหลีกสิ่งกีดขวางได้ โดยอาศัยการฟังเสียงสะท้อนที่เกิดขึ ้ นจาก เสียงเท้าของตน หรือการเคาะไม้เท้านําทาง สําหรับค้างคาวใช้การปล่อยเสียงที่มีความถี่ 30,000-70,000 เฮิรตซ์ในการนําทางและจับแมลงต่างๆเป็นอาหาร


2. การหักเหของคลื ่ น (Refraction) “เกิดจากคลื ่ นเคลื ่ อนที ่ ผ่าน ตัวกลางทีต่างกัน ่ แล้วทําให้อัตราเร็ว เปลี่ยนไป แต่ความถีเท่าเดิม ่ ”


Ray Optics The Broken Pencil • ตัวอย่างการหักเห เช่น เมื ่ อเรามองดินสอ ภายในแก้วที่ มีนํ้ า • จะเห็นเป็นรอยต่อคล้ายดินสอหักต่อกัน • เป็ นเพราะคลื ่ นแสงเกิดการหักเห *เมื ่ อเคลื ่ อนที ่ จากอากาศ สู่แก้วและนํ้า ตามลําดับ http://www.physicsclassroom.com/Class/refrn/u14l2b.html


2. การหักเหของคลื ่ น (Refraction) เพิ่มเติม เช่น เมื่อคลื่นผิวนํ้าเคลื่อนที่ผ่าน บริเวณนํ้าลึกกับบริเวณนํ้าตื้ น โดยทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นไม่ ตั้งฉากกับรอยต่อ คลื่นที่ผ่านเข้าไป บริเวณนํ้าตื้ น จะมีความยาวคลื่น เปลี่ยนแปลงและทิศการเคลื่อนที่ ของคลื่นก็เปลี่ยนแปลงด้วย ทําให้อัตราเร็วเปลี่ยนแปลงด้วย แต่ความถี่ของคลื่นมีค่าเท่าเดิม


เมื ่ อเสียงเคลื ่ อนที ่ จากตัวกลางที ่ มีความหนาแน่ นนอย ้ (อากาศ) เข้าสู่ตัวกลางที ่ มีความหนาแน่นมากกว่า(น ํ้ า) เสียงจะหักเหออกจาก เส้นตั้งฉาก ตัวอย่าง การหักเหของคลื ่ นเสียง ทั้งนี้เพราะอากาศใกล้พื้นดินมี อุณหภูมิสูงกว่าอากาศข้างบน ทําให้การเคลื่อนที่ของเสียงเคลื่อนที่ ได้ในอัตราที่ต่างกัน คือ เคลื่อนที่ในอากาศทีมี อุณหภูมิ่ สูงได้เร็วกว่าในอากาศทีมีอุณหภูมิตํ่า ่ ดังนั้น เสียงจึงเคลื่อนที่เบนขึ้นทีละ น้อย ๆ จนข้ามหัวเราไป จึงทําให้ ไม่ได้ยินเสียงฟ้าร้อง


3. การเลี ้ ยวเบนของคลื ่ น (Diffraction) “เกิดเมื่อคลื่นเคลื่อนที่ กระทบกับสิ่งกีดขวาง” . ซึ ่งกั้นทางเดินของคลื่ น เพียงบางส่วน . จึงมีคลื ่ นส่วนหนึ ่ งแผ่จาก ขอบของสิ ่งกีดขวางไปทาง ด้านหลังของสิ่งกีดขวาง


light diffraction cloud


4. การแทรกสอด (Interference) เป็นปรากฎการณ์ที่ เกิดขึ ้นได้เมื่ อคลื่ นสอง ขบวนเคลื่อนที่ บนตัวกลาง เดียวกันมาพบกัน “ทําให้เกิด การซ้อนทับกัน”


การแทรกสอดกันของคลื ่ นมี 2 แบบ คือ 1. การแทรกสอดแบบเสริม (Constructive interference) 2. การแทรกสอดแบบหักล้าง (Destructive interference) แบบที ่ 1 การแทรกสอดแบบเสริมกัน การเกิดในลักษณะนี้มีได้สองกรณีคือ เมื่อสันคลื่นมาเจอกับสันคลื่น และเมื่อท้องคลื่ นมา เจอกับท้องคลื่ น แบบที ่ 2 การแทรกสอดแบบหักล้าง จะเกิดขึ ้ นเมื่อคลื่นหรือส่วนของคลื่นที่มาเจอกันมี การกระจัดในทิศตรงข้ามกัน คือ สันคลื่นมาเจอกับท้องคลื่ น


ตัวอย่าง การตั้งลําโพง 2 อันไว้หนาห้อง แล้วเป ้ ิดเสียงพร้อมกัน เสียงที่กระจายออกจากลําโพงทั้งสองตัวจะ เกิดการแทรกสอด - ถ้าผู้ฟังอยู่แนว A (Antinode) หรือ บริเวณแนวปฏิบัพนี ้จะเป็นแนวที่ เกิดเสียงดัง - ถ้าผู้ฟังอยู่แนว N (Node) แนวบัพ คือ แนวที่ส่วนอัดกับส่วน ขยายมาพบกันก็จะ เกิดการหักล้างกันของคลื่นเสียง จะเป็น แนวที่เกิดเสียงค่อย


สรุป สมบัติของคลื ่ น (wave properties) คลื่นทุกชนิดแสดงสมบัติ 4 อย่าง คือ 1. การสะท้อน (reflection) เกิดจากคลื่นเคลื่อนที่ไปกระทบสิ่ งกีดขวาง แล้วเปลี่ยนทิศทางกลับสู่ ตัวกลางเดิม 2. การหักเห (refraction) เกิดจากคลื่นเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางที่ต่างกัน แล้วทําให้อัตราเร็วเปลี่ยนไป 3. การแทรกสอด (interference) เกิดจากคลื่นสองขบวนที่เหมือนกันทุกประการเคลื่อนที่มาพบกัน แล้วเกิดการ ซ้อนทับกัน ถ้าเป็นคลื่นแสงจะเห็นแถบมืดและแถบสว่างสลับกัน ส่วนคลื่นเสียงจะได้ ยินเสียงดังเสียงค่อยสลับกัน 4. การเลี ้ ยวเบน (diffraction) เกิดจากคลื่นเคลื่อนที่ไปพบสิ่งกีดขวางทําให้คลื่นส่วนหนึ่ง อ้อมบริเวณของสิ่งกีดขวางแผ่ไปทางด้านหลังของสิ่ งกีดขวางนั้น


แบบฝึกหัดหนาที ้ ่ 11-13


สรุปเกี่ ยวกับสมบัติ ของคลื่นทั้ง 4 สมบัติ - ต้องมีรายละเอียด - และรูปภาพประกอบ 1. การสะท้อน 2. การหักเห 3. การเลี ้ ยวเบน 3. การแทรกสอด “งานมาแล้วว”


ตอนที ่ 2 คลื ่ นเสียง 5. การเกิดบีตส์ (Beats) คือ ปรากฏการณที ์ ่ คลื ่ น เสียงสองคลื ่ นที ่ มีความถี ่ ต่างกันเกิดรวมคลื ่ นกันขึ ้ น (แทรกสอดกัน) ทําให้เกิดเสียงดัง-ค่อย สลับกันไป ดัง ค่อย ดัง ค่อย บีตส์ ∆f


= คนจะได้ยินเสียงบีตส์ไม่เกิน 7 บีตส์ ต่อ 1 วินาที ถ้ามากกว่านี ้จะไม่สามารถแยกเสียงได้ออก b 1 2 ∆f ff f = − (เสียงสูง-ตํ่า) (เสียงค่อยเป็นค่อยไปสมํ่าเสมอ) มีหน่วยเป็น บีตส์ เฮิรตซ หรือ ครั้งต่อวินาที มีหน่วยเป็น เฮิรตซ์


= (เสียงสูง-ตํ่า) มีหน่วยเป็น เฮิรตซ์ มนุษย์สามารถได้ยินเสียงที่มี ความถี่อยู่ในช่วงระหว่าง 20 Hz ถึง 20,000 Hz • ถ้าความถี ่ f นอย ้ จะได้ยินเสียง ทุ้ม (Bass) หรือเสียงตํ่า • ถ้าความถี ่ f มาก จะได้ยินเสียง แหลม (Treble)


แบบฝึกหัดหนาที ้ ่ 15-16


6. เสียงและการได้ยิน “เสียง เป็นคลื่นกลทีเกิดจากการ ่ สั่นสะเทือนของวัตถุ” เมื ่อวัตถุสั่นสะเทือน ก็จะทําให้เกิดการอัด ตัวและขยายตัวของคลื ่ นเสียง และถูกส่งผ่านตัวกลาง เช่น อากาศ ไปยังหู “คลื่นเสียง” เป็นคลื่นตามยาวเกิดจากการสั่นของวัตถุ


ส่วนอัดและส่วนขยายของคลื ่นเสียงในอากาศ อัด ขยาย อัด ขยาย เสียงเกิดจากการสั่นของวัตถุ . ในขณะทีมีการสั่น โมเลกุลของ ่ ตัวกลางจะมีการถ่ายทอด พลังงานทําให้เกิดความดัน อากาศทีเปลี ่ ยนแปลงไปตาม ่ ตําแหน่ง


ส่วนอัดและส่วนขยายของคลื ่นเสียงในอากาศ อัด ขยาย อัด ขยาย 1. ส่วนอัด = บริเวณที่โมเลกุลของอากาศอยู่ ชิดกันมาก มีความหนาแน่ นและ ความดันสูง 2. ส่วนขยาย = บริเวณที่โมเลกุลของอากาศอยู่ ห่างกันมาก มีความหนาแน่นและ ความดันตํ่ากว่าปกติ 3. ระหว่างส่วนอัดกับส่วนขยาย = บริเวณที่โมเลกุลของอากาศมี ระยะห่างปกติ ความหนาแน่นและ ความดันปกติ


ระดับเสียง (Pitch) “ระดับเสียงเป็นสิ่งบอกความแตกต่างของเสียงนั้นๆ” คือ เป็นสิ่งกําหนด ความทุ้ม – แหลมของเสียง ระดับเสียงจะขึ ้ นอยู่กับความถี่ของเสียงนั้น โดย มนุษย์สามารถได้ยินเสียงที่มีความถี่อยู่ในช่วงระหว่าง 20 Hz ถึง 20,000 Hz โดยที่คลื่นเสียงที่มีความถี่สูงกว่า 20,000 Hz เราเรียกว่า อัลตราโซนิก (ultrasonic) และคลื่นเสียงที่มีความถี่ตํ่ากว่า 20 Hz เราเรียกว่า คลื่นอินฟราโซนิก (infrasonic) 1. เสียงทุ้ม (Bass) เป็นเสียงที่มีระดับเสียงตํ่า หรือความถี ่ น้อย 2. เสียงแหลม (Treble) เป็นเสียงที่มีระดับเสียงสูงหรือความถี ่ มาก


ความเข้มเสียง (Sound Intensity) “เป็นตัวกําหนดความดัง-ค่อยของเสียง” มีนิยามคือ “พลังงานของเสียงที่แผ่ออก จากแหล่งกําเนิดในเวลาหนึ่งหน่วย ขีดความสามารถในการได้ยินเสียง (Range of audibility of the human ear) 1. เสียงเบาทีสุดที ่ คนเราเริ ่ ่มได้ยิน (Threshold of hearing) เสียงมีความเข้มเสียงตํ่าสุด 2. เสียงดังทีสุดที ่ มนุษย์ทนฟังได้ ่ (Threshold of feeling) โดยไม่เป็นอันตรายต่อหู มีค่าความเข้มเสียงสูงสุด 12 2 0 I Wm 10 / − = 2 mI 1/ ax = W m


ระดับความเข้มเสียง (Sound Intensity level) “เป็นตัวกําหนดความดัง-ค่อยของเสียง” เหมือนกับความ เข้มของเสียง แต่หน่วยต่างกัน ระดับความเข้มเสียงตํ่าสุดหรือเสียงเบา ที ่ มนษย์ได้ยินมีค่าเป ุ ็ น 0 dB และเสียงดังที ่ สุดที ่ มนษย์ทนฟ ุ ังได้มีค่า เป็ น 12 dB ระดับความเข้มเสียงมีหน่วยเป็ น เดซิเบล (decible : dB) องค์การอนามัยโลกจึงกําหนดว่าเสียงที่ ปลอดภัยต้องมีความเข้มไม่เกิน 85 dB เมื่อต้องได้ยินติดต่อกันวันละ 8 ชั่วโมงขึ้น ไป เสียงที่ดังไม่ถึงขั้นเป็นอันตรายกับหู แต่อาจมีผลกระทบทางด้านจิตใจได้ เช่น ทําให้เกิดความเครียด ไม่มีสมาธิ เป็นต้น


คุณภาพของเสียง (quality) หมายถึง เอกลักษณ์ของเสียงจากแหล่งกําเนิดเสียงต่างชนิดกัน วงดนตรีวงหนึ่งนั้น เครื่องดนตรี ทุกชนิดจะเล่นเพลงเดียวกัน แต่เรา สามารถแยกได้ว่า เสียงที่ได้ยินนั้นมา จากดนตรีประเภทใด เช่น มาจาก ไวโอลิน หรือเปียโน เป็นต้นการที่เรา สามารถแยกลักษณะของเสียงได้นั้น เพราะว่าคลื่นเสียงทั้งสองมีคุณภาพ ของเสียงต่างกัน


แบบฝึกหัดหนาที ้ ่ 19-20


ตอนที ่ 3 คลื ่นแม่เหล็กไฟฟา ้ 7. คลื่นแม่เหล็กไฟฟา คือ ้ คลื ่ นที ่ เคลื ่ อนที ่ โดยไม่ต้องอาศัยตัวกลาง ความยาวคลื่น สนามแม่เหล็ก ทิศทางการเคลื่อนทีของคลื ่ ่น ส่วนประกอบของคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้า E สนามไฟฟา ้ B สนามแม่เหล็ก E ทิศคลื่ น • ในคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า จะมีสนามไฟฟ้า (E) และสนามแม่เหล็กรวมกัน (B) • สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก มีค่าเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา • ทิศสนามไฟฟ้า ทิศนามแม่เหล็ก ทิศคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีทิศตั้งฉากกัน เสมอ


การคํานวณคลื ่นแม่เหล็กไฟฟา ้ คลื่นแม่เหล็กไฟฟาทุกชน ้ ิดมีอัตราเร็วแสง คือ c = 3 × 108 m/s เมื ่ อ c = อัตราเร็วคลื่นแม่เหล็กไฟฟาหรืออัตราเร็วแสง ้ (m/s) f = ความถี ่ คลื ่นแม่เหล็กไฟฟา ้ (Hz) λ = ความยาวคลื ่นแม่เหล็กไฟฟา ้ (m) สมการ อัตราเร็ว = ความถี ่ × ความยาวคลื ่ น c = fλ


สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟา ้ คือ คลื ่นแม่เหล็กไฟฟามีความถี ้ ่ ต่อเน ่ ืองกันเป็นช่วงกว้าง และมีชื่อเรียกช่วงต่าง ๆ ของความถี่ต่างกันตามแหล่งกําเนิดและวิธีการตรวจวัดคลื่น


ข้อมูลเบื ้ องต้นสเปกตรัมคลื ่นแม่เหล็กไฟฟา ้ 1. คลื่ นวิทยุ 1.1 ระบบเอเอ็ม (A.M. = amplitude modulation) ระบบเอเอ็ม มีช่วงความถี่530 - 600 kHz (กิโลเฮิรตซ์ ) สื่อสารโดยใช้คลื่นเสียงผสมเข้าไปกับคลื่นวิทยุ เรียกว่า "คลื่นพาหะ" โดยแอมพลิจูดของคลื่นพาหะจะเปลี่ยนแปลงตาม สัญญาณคลื่นเสียง สามารถส่งคลื่นได้ทั้งคลื่นดินเป็นคลื่นที่เคลื่อนที่ในแนว เส้นตรงขนานกับผิวโลก โดยคลื่นจะไปสะท้อนที่ชั้นบรรยากาศ ไอโอโนสเฟียร์แล้วสะท้อนกลับลงมา จึงไม่ต้องใช้สายอากาศ ตั้งสูงรับ คลื่นวิทยุมีความถีช่วง ่ 104 - 109 Hz( เฮิรตซ์ ) ใช้ในการสื่อสาร คลื่นวิทยุมีการส่งสัญญาณ 2 ระบบคือ


1.2 ระบบเอฟเอ็ม (F.M. = frequency modulation) ระบบเอฟเอ็ม มีช่วงความถี่ 88 - 108 MHz (เมกะเฮิรตซ์) สื ่อสารโดยใช้คลื่ นเสียงผสมเข้ากับคลื ่นพาหะ โดยความถี่ ของคลื ่ น พาหะจะเปลี ่ ยนแปลงตามสัญญาณคลื ่ นเสียง ส่งคลื่นได้เฉพาะคลื่นดินอย่างเดียว ถ้าต้องการส่งให้คลุมพื้ นที ่ ต้องมีสถานีถ่ายทอดและเครื ่องรับต้องตั้งเสาอากาศสูง ๆ รับ


2. คลื่นโทรทัศนและไมโครเวฟ ์ “คลื่นโทรทัศน์และไมโครเวฟมีความถีช่วง ่ 108 - 1012 Hz” • ไม่สะท้อนกับบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์จึงส่งเป็นเส้นตรงแล้วใช้สถานีถ่ายทอด เป็นระยะหรือใช้คลื่นไมโครเวฟนําสัญญาณโทรทัศน์ไป ยังดาวเทียม • คลื่นโทรทัศน์มีความยาวคลื่นสั้นจึงเลี้ ยวเบนผ่านสิ่งกีดขวางใหญ่ๆ เช่น รถยนต์ หรือเครื่องบินไม่ได้ ดังนั้นจะเกิดการสะท้อนกับเครื่องบิน กลับมา แทรกสอดกับคลื่นเดิม ทําให้เกิด คลื่นรบกวนได้


Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.