วิเคราะห์สาระสุขศึกษาพลศึกษา Flipbook PDF


60 downloads 120 Views 263KB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

การวิเคราะห์ความสอดคล้อง หลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กลุ่มสาระการเรียนรูส้ ุขศึกษาพละศึกษา ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระที่ ๑ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ มาตรฐาน พ ๑.๑ เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ ชั้น ป.๑

ป. ๒

ป.๓

ตัวชี้วัด ๑. อธิบายลักษณะและหน้าที่ ของอวัยวะภายนอก

สาระการเรียนรู้แกนกลาง  ลักษณะและหน้าที่ของอวัยวะ ภายนอกที่มีการเจริญเติบโตและ พัฒนาการไปตามวัย - ตา หู คอ จมูก ผม มือ เท้า เล็บ ผิวหนัง ฯลฯ - อวัยวะในช่องปาก (ปาก ลิ้น ฟัน เหงือก) ๒. อธิบายวิธีดูแลรักษาอวัยวะ  การดูแลรักษาอวัยวะภายนอก ภายนอก - ตา หู คอ จมูก ปาก ลิ้น ฟัน ผม มือ เท้า เล็บ ผิวหนัง ฯลฯ - อวัยวะในช่องปาก (ปาก ลิ้น ฟัน เหงือก) ๑. อธิบายลักษณะ และหน้าที่ของ  ลักษณะ และหน้าที่ของอวัยวะ อวัยวะภายใน ภายในที่มีการเจริญเติบโตและ พัฒนาการไปตามวัย (สมอง หัวใจ ตับ ไต ปอด กระเพาะอาหาร ลาไส้ ฯลฯ) ๒. อธิบายวิธีดูแลรักษาอวัยวะ  การดูแลรักษาอวัยวะภายใน ภายใน - การระมัดระวังการกระแทก - การออกกาลังกาย - การกินอาหาร ๓. อธิบายธรรมชาติของชีวิตมนุษย์  ธรรมชาติของชีวิตมนุษย์ตั้งแต่ เกิดจนตาย ๑. อธิบายลักษณะและการ  ลักษณะการเจริญเติบโตของ เจริญเติบโตของร่างกายมนุษย์ ร่างกายมนุษย์ ที่มีความแตกต่าง

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

๒ ชั้น

ป. ๔

ป. ๕

ป.๖

ม.๑

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง กันในแต่ละบุคคล - ลักษณะรูปร่าง - น้าหนัก - ส่วนสูง ๒. เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของ  เกณฑ์มาตรฐานการเจริญเติบโต ตนเองกับเกณฑ์มาตรฐาน ของเด็กไทย ๓. ระบุปัจจัยที่มีผลต่อการ  ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโต เจริญเติบโต - อาหาร - การออกกาลังกาย - การพักผ่อน ๑. อธิบายการเจริญเติบโตและ  การเจริญเติบโตและพัฒนาการ พัฒนาการของร่างกายและจิตใจ ของร่างกายและจิตใจ ตามวัย ตามวัย (ในช่วงอายุ ๙ – ๑๒ ปี) ๒. อธิบายความสาคัญของกล้ามเนื้อ  ความสาคัญของกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อที่มีผลต่อสุขภาพ การ กระดูกและข้อ ที่มีผลต่อสุขภาพ เจริญเติบโตและพัฒนาการ การเจริญเติบโตและพัฒนาการ ๓. อธิบายวิธีดูแลกล้ามเนื้อ กระดูก  วิธีดูแลรักษากล้ามเนื้อ กระดูก และข้อ ให้ทางานอย่างมี และข้อให้ทางานอย่างมี ประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพ ๑. อธิบายความสาคัญของระบบย่อย  ความสาคัญของระบบย่อย อาหาร และระบบขับถ่ายที่มีผลต่อ อาหารและระบบขับถ่ายที่มีผลต่อ สุขภาพ การเจริญเติบโต และ สุขภาพ การเจริญเติบโต และ พัฒนาการ พัฒนาการ ๒. อธิบายวิธีดูแลระบบย่อยอาหาร  วิธีดูแลรักษาระบบย่อยอาหาร และระบบขับถ่ายให้ทางานตามปกติ และระบบขับถ่ายให้ทางาน ตามปกติ ๑. อธิบายความสาคัญของระบบ  ความสาคัญของระบบสืบพันธุ์ สืบพันธุ์ ระบบไหลเวียนโลหิตและ ระบบไหลเวียนโลหิต และระบบ ระบบหายใจ ที่มีผลต่อสุขภาพ การ หายใจที่มีผลต่อสุขภาพ การ เจริญเติบโตและพัฒนาการ เจริญเติบโตและพัฒนาการ ๒. อธิบายวิธีการดูแลรักษาระบบ  วิธีดูแลรักษาระบบสืบพันธุ์ สืบพันธุ์ ระบบไหลเวียนโลหิต ระบบไหลเวียนโลหิต และระบบ และระบบหายใจให้ทางานตามปกติ หายใจให้ทางานตามปกติ ๑. อธิบายความสาคัญของระบบ  ความสาคัญของระบบประสาท

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

๓ ชั้น

ตัวชี้วัด ประสาท และระบบต่อมไร้ท่อที่มีผล ต่อสุขภาพ การเจริญเติบโต และ พัฒนาการของวัยรุ่น ๒. อธิบายวิธีดูแลรักษาระบบ ประสาท และระบบต่อมไร้ท่อให้ ทางานตามปกติ ๓. วิเคราะห์ภาวะการเจริญเติบโตทาง ร่างกายของตนเองกับเกณฑ์มาตรฐาน ๔. แสวงหาแนวทางในการพัฒนา ตนเองให้เจริญเติบโตสมวัย

ม. ๒

๑. อธิบายการเปลี่ยนแปลงด้าน ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และ สติปัญญาในวัยรุ่น ๒. ระบุปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการ เจริญเติบโต และพัฒนาการด้าน ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และ สติปัญญา ในวัยรุ่น

ม. ๓

๑. เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลง ทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา แต่ละช่วง ของชีวิต

๒. วิเคราะห์อิทธิพลและความ คาดหวังของสังคมต่อการ เปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น

สาระการเรียนรู้แกนกลาง และระบบต่อมไร้ท่อที่มีผลต่อ สุขภาพ การเจริญเติบโต และ พัฒนาการของวัยรุ่น  วิธีดูแลรักษาระบบประสาท และระบบต่อมไร้ท่อ ให้ทางาน ตามปกติ  การวิเคราะห์ภาวะการ เจริญเติบโต ตามเกณฑ์มาตรฐาน และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง  แนวทางในการพัฒนาตนเองให้ เจริญเติบโตสมวัย  การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญ ญาในวัยรุ่น  ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการ เจริญเติบโตและพัฒนาการด้าน ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และ สติปัญญา - พันธุกรรม - สิ่งแวดล้อม - การอบรมเลี้ยงดู  การเปลี่ยนแปลง ด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และ สติปัญญาในแต่ละวัย - วัยทารก - วัยก่อนเรียน - วัยเรียน - วัยรุ่น - วัยผู้ใหญ่ - วัยสูงอายุ  อิทธิพลและความคาดหวังของ สังคมที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงของ วัยรุ่น

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

๔ ชั้น

ตัวชี้วัด ๓. วิเคราะห์ สื่อ โฆษณา ที่มี อิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและ พัฒนาการของวัยรุ่น

ม.๔–ม.๖ ๑. อธิบายกระบวนการสร้างเสริม และดารงประสิทธิภาพการทางาน ของระบบอวัยวะต่าง ๆ

๒. วางแผนดูแลสุขภาพตาม ภาวะการเจริญเติบโตและพัฒนาการ ของตนเองและบุคคลในครอบครัว

สาระการเรียนรู้แกนกลาง  สื่อ โฆษณา ที่มีอิทธิพลต่อการ เจริญเติบโตและพัฒนาการของ วัยรุ่น - โทรทัศน์ - วิทยุ - สื่อสิ่งพิมพ์ - อินเทอร์เน็ต  กระบวนการสร้างเสริมและ ดารงประสิทธิภาพการทางานของ ระบบอวัยวะ ต่าง ๆ - การทางานของระบบอวัยวะ ต่างๆ - การสร้างเสริมและดารง ประสิทธิภาพของอวัยวะต่างๆ (อาหาร การออกกาลังกาย นันทนาการ การตรวจสุขภาพ ฯลฯ)  การวางแผนดูแลสุขภาพของ ตนเองและบุคคลในครอบครัว

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

๕ สาระที่ ๒ ชีวิตและครอบครัว มาตรฐาน พ ๒.๑ เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการดาเนินชีวิต ชั้น ป. ๑

ตัวชี้วัด ๑. ระบุสมาชิกในครอบครัวและ ความรักความผูกพันของสมาชิกที่มี ต่อกัน ๒. บอกสิ่งที่ชื่นชอบ และภาคภูมิใจ ในตนเอง

๓. บอกลักษณะความแตกต่าง ระหว่างเพศชาย และเพศหญิง

ป. ๒

๑. ระบุบทบาทหน้าที่ของตนเอง และสมาชิกในครอบครัว

๒. บอกความสาคัญของเพื่อน ๓. ระบุพฤติกรรมที่เหมาะสมกับ เพศ

ป. ๓

๔. อธิบายความภาคภูมิใจในความ เป็นเพศหญิง หรือเพศชาย ๑. อธิบายความสาคัญ และความ แตกต่างของครอบครัวที่มีต่อตนเอง

สาระการเรียนรู้แกนกลาง  สมาชิกในครอบครัว  ความรักความผูกพันของ สมาชิกในครอบครัว  สิ่งที่ชื่นชอบและความ ภาคภูมิใจ ในตนเอง (จุดเด่น จุดด้อยของ ตนเอง)  ลักษณะความแตกต่างของเพศ ชาย เพศหญิง - ร่างกาย - อารมณ์ - ลักษณะนิสัย  บทบาทหน้าที่ของสมาชิกใน ครอบครัว - ตนเอง - พ่อ แม่ - พี่น้อง - ญาติ  ความสาคัญของเพื่อน (เช่น พูดคุย ปรึกษา เล่น ฯลฯ)  พฤติกรรมที่เหมาะสมกับเพศ - ความเป็นสุภาพบุรุษ - ความเป็นสุภาพสตรี  ความภาคภูมิใจในเพศหญิง หรือเพศชาย  ความสาคัญของครอบครัว ความแตกต่างของแต่ละครอบครัว - เศรษฐกิจ - สังคม

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

๖ ชั้น

ตัวชี้วัด

๒. อธิบายวิธีสร้างสัมพันธภาพใน ครอบครัวและกลุ่มเพื่อน ๓. บอกวิธีหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่ นาไปสู่การล่วงละเมิดทางเพศ

ป. ๔

ป. ๕

สาระการเรียนรู้แกนกลาง - การศึกษา

 วิธีการสร้างสัมพันธภาพใน ครอบครัวและกลุ่มเพื่อน  พฤติกรรมที่นาไปสู่การล่วง ละเมิดทางเพศ (การแต่งกาย การ เที่ยวกลางคืน การคบเพื่อน การ เสพสารเสพติด ฯลฯ)  วิธีหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่ นาไปสู่การล่วงละเมิดทางเพศ (ทักษะปฏิเสธและอื่น ๆ ) ๑. อธิบายคุณลักษณะของความเป็น  คุณลักษณะของความเป็นเพื่อน เพื่อนและสมาชิกที่ดีของครอบครัว และสมาชิกที่ดีของครอบครัว ๒. แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมกับ  พฤติกรรมที่เหมาะสมกับเพศ เพศของตนตามวัฒนธรรมไทย ของตนตามวัฒนธรรมไทย ๓. ยกตัวอย่างวิธีการปฏิเสธการ  วิธีการปฏิเสธการกระทาที่เป็น กระทาที่เป็นอันตรายและไม่ อันตรายและไม่เหมาะสมในเรื่อง เหมาะสมในเรื่องเพศ เพศ ๑. อธิบายการเปลี่ยนแปลงทางเพศ  การเปลี่ยนแปลงทางเพศ การ และปฏิบัติตนได้เหมาะสม ดูแลตนเอง  การวางตัวที่เหมาะสมกับเพศ ตามวัฒนธรรมไทย ๒. อธิบายความสาคัญของการมี  ลักษณะของครอบครัวที่อบอุ่น ครอบครัวที่อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย ตามวัฒนธรรมไทย (ครอบครัว ขยาย การนับถือญาติ) ๓. ระบุพฤติกรรมที่พึงประสงค์  พฤติกรรมที่พึงประสงค์และไม่ และไม่พึงประสงค์ในการแก้ไขปัญหา พึงประสงค์ ความขัดแย้งในครอบครัวและกลุ่ม ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งใน เพื่อน ครอบครัว

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

๗ ชั้น ป. ๖

ม. ๑

ม. ๒

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

๑. อธิบายความสาคัญของการสร้าง  ความสาคัญของการสร้างและ และรักษาสัมพันธภาพกับผู้อื่น รักษาสัมพันธภาพกับผู้อื่น  ปัจจัยที่ช่วยให้การทางานกลุ่ม ประสบความสาเร็จ - ความสามารถส่วนบุคคล - บทบาทหน้าที่ของสมาชิกใน กลุ่ม - การยอมรับความคิดเห็น และ ความแตกต่างระหว่างบุคคล - ความรับผิดชอบ ๒. วิเคราะห์พฤติกรรมเสี่ยงที่อาจ  พฤติกรรมเสี่ยงที่นาไปสู่การมี นาไปสู่การมีเพศสัมพันธ์ การติดเชื้อ เพศสัมพันธ์ การติดเชื้อเอดส์ และ เอดส์ และการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร การตั้งครรภ์ก่อนวัย อันควร ๑. อธิบายวิธีการปรับตัวต่อการ  การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย เปลี่ยนแปลงทางร่างกายจิตใจ อารมณ์ จิตใจ อารมณ์ และพัฒนาการทาง และพัฒนาการทางเพศอย่างเหมาะสม เพศ - ลักษณะการเปลี่ยนแปลงทาง ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และ พัฒนาการทางเพศ - การยอมรับและการปรับตัวต่อ การเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และพัฒนาการทางเพศ - การเบี่ยงเบนทางเพศ ๒. แสดงทักษะการปฏิเสธเพื่อ  ทักษะปฏิเสธเพื่อป้องกันการถูก ป้องกันตนเองจากการถูกล่วงละเมิด ล่วงละเมิดทางเพศ ทางเพศ ๑. วิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ  ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อเจตคติใน เจตคติในเรื่องเพศ เรื่องเพศ - ครอบครัว - วัฒนธรรม

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

๘ ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง - เพื่อน - สื่อ ๒. วิเคราะห์ปัญหาและผลกระทบที่  ปัญหาและผลกระทบที่เกิดจาก เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน การมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน ๓. อธิบายวิธีป้องกันตนเองและ  โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ หลีกเลี่ยงจากโรคติดต่อทาง  โรคเอดส์ เพศสัมพันธ์ เอดส์ และการตั้งครรภ์  การตั้งครรภ์โดยไม่พึง โดยไม่พึงประสงค์ ประสงค์

๔. อธิบายความสาคัญของความ เสมอภาคทางเพศ และวางตัวได้อย่าง เหมาะสม

ม.๓

 ความสาคัญของความเสมอ ภาคทางเพศ  การวางตัวต่อเพศตรงข้าม  ปัญหาทางเพศ  แนวทางการแก้ไขปัญหาทาง เพศ ๑. อธิบายอนามัยแม่และเด็ก  องค์ประกอบของอนามัยเจริญ การวางแผนครอบครัว และวิธีการ พันธุ์ ปฏิบัติตนที่เหมาะสม - อนามัยแม่และเด็ก - การวางแผนครอบครัว ๒. วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อ  ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการ การตั้งครรภ์ ตั้งครรภ์ - แอลกอฮอล์ - สารเสพติด - บุหรี่ - สภาพแวดล้อม - การติดเชื้อ - โรคที่เกิดจากภาวะการตั้งครรภ์ ๓. วิเคราะห์สาเหตุ และเสนอ  สาเหตุความขัดแย้งใน แนวทางป้องกัน แก้ไขความขัดแย้งใน ครอบครัว ครอบครัว  แนวทางป้องกัน แก้ไขความ ขัดแย้งในครอบครัว

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

๙ ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ม.๔–ม.๖ ๑. วิเคราะห์อิทธิพลของครอบครัว  อิทธิพลของครอบครัว เพื่อน เพื่อน สังคม และวัฒนธรรมที่มีผลต่อ สังคม และวัฒนธรรมที่มีต่อ พฤติกรรมทางเพศและการดาเนินชีวิต พฤติกรรมทางเพศ และการดาเนิน ชีวิต ๒. วิเคราะห์ค่านิยมในเรื่องเพศ  ค่านิยมในเรื่องเพศตาม ตามวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรม วัฒนธรรมไทย และวัฒนธรรมอื่น อื่น ๆ ๆ ๓. เลือกใช้ทักษะที่เหมาะสมในการ  แนวทางในการเลือกใช้ทักษะ ป้องกัน ลดความขัดแย้งและ ต่าง ๆ ในการป้องกัน ลดความ แก้ปัญหาเรื่องเพศและครอบครัว ขัดแย้ง และแก้ปัญหาเรื่องเพศ และครอบครัว - ทักษะการสื่อสารและสร้าง สัมพันธภาพ - ทักษะการต่อรอง - ทักษะการปฏิเสธ - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - ทักษะการตัดสินใจ และแก้ไข ปัญหา ฯลฯ ๔. วิเคราะห์สาเหตุและผลของความ  ความขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้น ขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้นระหว่างนักเรียน ระหว่างนักเรียนหรือเยาวชนใน หรือเยาวชนในชุมชน และเสนอแนว ชุมชน ทางแก้ไขปัญหา - สาเหตุของความขัดแย้ง - ผลกระทบที่เกิดจากความขัดแย้ง ระหว่างนักเรียน หรือเยาวชนใน ชุมชน - แนวทางในการแก้ปัญหาที่อาจ เกิดจากความขัดแย้งของนักเรียน หรือเยาวชนในชุมชน

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

๑๐ สาระที่ ๓ การเคลื่อนไหว การออกกาลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล มาตรฐาน พ ๓.๑ เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา ชั้น ป.๑

ป. ๒

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๑. เคลื่อนไหวร่างกายขณะอยู่กับที่  ธรรมชาติของการเคลื่อนไหว เคลื่อนที่และใช้อุปกรณ์ประกอบ ร่างกายในชีวิตประจาวัน - แบบอยู่กับที่ เช่น นั่ง ยืน ก้มเงย เอียง ซ้าย ขวา เคลื่อนไหวข้อมือ ข้อ เท้า แขน ขา - แบบเคลื่อนที่ เช่น เดิน วิ่ง กระโดด กลิ้งตัว - แบบใช้อุปกรณ์ประกอบ เช่น จับ โยน เตะ เคาะ ๒. เล่นเกมเบ็ดเตล็ดและเข้าร่วม  กิจกรรมทางกายที่ใช้ในการ กิจกรรมทางกายที่ใช้การเคลื่อนไหว เคลื่อนไหวตามธรรมชาติ ตามธรรมชาติ - การเล่นเกมเบ็ดเตล็ด ๑. ควบคุมการเคลื่อนไหวร่างกาย ขณะอยู่กับที่ เคลื่อนที่ และใช้ อุปกรณ์ประกอบ

๒. เล่มเกมเบ็ดเตล็ดและเข้าร่วม กิจกรรมทางกายที่วิธีเล่น อาศัยการ เคลื่อนไหวเบื้องต้นทั้งแบบอยู่กับที่ เคลื่อนที่และใช้อุปกรณ์ประกอบ ป. ๓

๑. ควบคุมการเคลื่อนไหวร่างกาย ขณะอยู่กับที่ เคลื่อนที่และใช้ อุปกรณ์ประกอบอย่างมีทิศทาง

 ลักษณะและวิธีการของการ เคลื่อนไหวร่างกาย แบบอยู่กับที่ เช่น กระโดด บิดตัว ดึง ผลัก แบบ เคลื่อนที่ เช่น กระโดดเขย่ง ก้าวชิด ก้าว วิ่งตามทิศทางที่กาหนด และ แบบใช้อุปกรณ์ประกอบ เช่น คีบ ขว้าง ตี  การเล่นเกมเบ็ดเตล็ด และเข้าร่วม กิจกรรมทางกายที่วิธีเล่นอาศัยการ เคลื่อนไหวเบื้องต้นทั้งแบบอยู่กับที่ เคลื่อนที่ และใช้อุปกรณ์ประกอบ  การเคลื่อนไหวร่างกายแบบอยู่กับ ที่ เช่น ย่อยืด เขย่ง พับตัว เคลื่อนไหว ลาตัว การเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่ เช่น เดินต่อเท้า เดินถอย-หลัง

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน องค์ประกอบที่ ๕ - การสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน บูรณาการสู่การเรียนการสอน (วิเคราะห์ ส่วนต่างๆของพืชแล้ว ออกแบบ ท่ากายบริหารตาม รูปลักษณ์ พฤติกรรม ของพืช)

องค์ประกอบที่ ๕ - การสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน บูรณาการสู่การเรียนการสอน (เกมต่อตัวกันเป็นรูปใบไม้ต่างๆ)

องค์ประกอบที่ ๕ - การสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน บูรณาการสู่การเรียนการสอน (เกมต่อตัวกันเป็นรูปใบไม้ ดอกไม้ ต่างๆ)

๑๑ ชั้น

ตัวชี้วัด

๒. เคลื่อนไหวร่างกายที่ใช้ทักษะ การเคลื่อนไหวแบบบังคับทิศทาง ในการเล่นเกมเบ็ดเตล็ด ป. ๔

๑. ควบคุมตนเองเมื่อใช้ทักษะ การเคลื่อนไหวในลักษณะผสมผสาน ได้ทั้งแบบอยู่กับที่ เคลื่อนที่ และใช้ อุปกรณ์ประกอบ

๒. ฝึกกายบริหารท่ามือเปล่า ประกอบจังหวะ

ป. ๕

๓. เล่นเกมเลียนแบบและกิจกรรม แบบผลัด ๔. เล่นกีฬาพื้นฐานได้อย่างน้อย ๑ ชนิด ๑. จัดรูปแบบการเคลื่อนไหว แบบผสมผสาน และควบคุมตนเอง เมื่อใช้ทักษะการเคลื่อนไหว ตามแบบที่กาหนด

๒. เล่มเกมนาไปสู่กีฬาที่เลือกและ

สาระการเรียนรู้แกนกลาง กระโจน และแบบใช้อุปกรณ์ ประกอบโดยมีการบังคับทิศทาง เช่น ดีด ขว้าง โยน และรับ  วิธีการควบคุมการเคลื่อนไหว ร่างกายแบบต่างๆ อย่างมีทิศทาง  กิจกรรมทางกายที่ใช้ทักษะการ เคลื่อนไหวแบบบังคับทิศทาง ในการ เล่นเกมเบ็ดเตล็ด

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

 การเคลื่อนไหวร่างกายแบบ ผสมผสานทั้งแบบอยู่กับที่ เช่น กระโดดหมุนตัว กระโดด-เหยียดตัว แบบเคลื่อนที่ เช่น ซิกแซ็ก วิ่งเปลี่ยน ทิศทาง ควบม้า และแบบใช้อุปกรณ์ ประกอบ เช่น บอล เชือก  กายบริหารท่ามือเปล่าประกอบจังหวะ องค์ประกอบที่ ๕ - การสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน บูรณาการสู่การเรียนการสอน (วิเคราะห์ ส่วนต่างๆของพืชแล้ว ออกแบบ ท่ากายบริหารตาม รูปลักษณ์ พฤติกรรม ของพืช)  เกมเลียนแบบและกิจกรรมแบบผลัด  กีฬาพื้นฐาน เช่น แชร์บอล แฮนด์บอล ห่วงข้ามตาข่าย  การจัดรูปแบบการเคลื่อนไหว ร่างกาย แบบผสมผสาน และการปฏิบัติ กิจกรรมทางกายทั้งแบบอยู่กบั ที่ เคลื่อนที่ และใช้อุปกรณ์ประกอบตาม แบบที่กาหนด เช่น การฝึกกายบริหาร ยืดหยุ่นขั้นพื้นฐาน เป็นต้น  เกมนาไปสูก่ ีฬาและกิจกรรมแบบ

๑๒ ชั้น

ตัวชี้วัด กิจกรรมการเคลื่อนไหวแบบผลัด ๓. ควบคุมการเคลื่อนไหวในเรื่อง การรับแรง การใช้แรงและความ สมดุล ๔. แสดงทักษะกลไกในการปฏิบตั ิ กิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา ๕. เล่นกีฬาไทย และกีฬาสากล ประเภทบุคคลและประเภททีมได้ อย่างละ ๑ ชนิด

ป. ๖

สาระการเรียนรู้แกนกลาง ผลัดที่มีการตี เขีย่ รับ – ส่งสิง่ ของ ขว้าง และวิ่ง  การเคลื่อนไหวในเรื่องการรับแรง การใช้แรงและความสมดุล

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

 ทักษะกลไกทีส่ ่งผลต่อการปฏิบัติ กิจกรรมทางกายและเล่นกีฬา  การเล่นกีฬาไทย เช่น ตะกร้อวง วิง่ ชักธง และกีฬาสากล เช่น กรีฑา ประเภทลู่ แบดมินตัน เปตอง ฟุตบอล เทเบิลเทนนิส ว่ายน้า

๖. อธิบายหลักการ และเข้าร่วม กิจกรรมนันทนาการ อย่างน้อย ๑ กิจกรรม

 หลักการและกิจกรรมนันทนาการ

๑. แสดงทักษะการเคลื่อนไหว ร่วมกับผู้อื่นในลักษณะแบบผลัดและ แบบผสมผสานได้ตามลาดับทั้งแบบ อยู่กับที่ เคลื่อนที่ และใช้อุปกรณ์ ประกอบ และการเคลื่อนไหว ประกอบเพลง ๒. จาแนกหลักการเคลื่อนไหวใน เรื่องการรับแรง การใช้แรง และความ สมดุลในการเคลื่อนไหวร่างกายใน การเล่นเกม เล่นกีฬา และนาผลมา ปรับปรุง เพิ่มพูนวิธีปฏิบัติของตนและ ผู้อื่น ๓. เล่นกีฬาไทย กีฬาสากล ประเภทบุคคลและประเภททีมได้ อย่างละ ๑ ชนิด

 การเคลื่อนไหวร่วมกับผู้อนื่ แบบ ผลัดในลักษณะผสมผสาน ในการร่วม กิจกรรมทางกาย เช่น กิจกรรมแบบผลัด กายบริหารประกอบเพลง ยืดหยุ่นขั้น พื้นฐานที่ใช้ท่าต่อเนื่อง และการต่อตัว ท่าง่าย ๆ  การเคลื่อนไหวในเรื่องการรับแรง การใช้แรง และความสมดุลกับการพัฒนา ทักษะการเคลื่อนไหว ในการเล่นเกมและ กีฬา

 การเล่นกีฬาไทย กีฬาสากล ประเภทบุคคลและประเภททีม เช่น กรีฑาประเภทลู่ และลาน เปตอง ว่ายน้า เทเบิลเทนนิส วอลเลย์บอล

องค์ประกอบที่ ๕ - การสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน บูรณาการสู่การเรียนการสอน (เกมต่อตัวกันเป็นรูปใบไม้ ดอกไม้)

๑๓ ชั้น

ม. ๑

ม. ๒

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ฟุตบอล ตะกร้อวง ๔. ใช้ทักษะกลไก เพื่อปรับปรุง  การใช้ข้อมูลด้านทักษะกลไกเพื่อ เพิ่มพูนความสามารถของตนและ ปรับปรุงและเพิม่ พูนความสามารถใน ผู้อื่นในการเล่นกีฬา การปฏิบัติกิจกรรมทางกาย และเล่นกีฬา ๕. ร่วมกิจกรรมนันทนาการอย่าง  การนาความรู้และหลักการของ น้อย ๑ กิจกรรม แล้วนาความรู้และ กิจกรรมนันทนาการไปใช้เป็นฐาน หลักการที่ได้ไปใช้เป็นฐานการศึกษา การศึกษาหาความรู้ หาความรู้เรื่องอื่น ๆ ๑. เพิ่มพูนความสามารถของตน  หลักการเพิ่มพูนความสามารถใน ตามหลักการเคลื่อนไหวที่ใช้ทักษะ การเคลื่อนไหวที่ใช้ทกั ษะกลไกและ กลไกและทักษะพื้นฐานที่นาไปสู่ ทักษะพื้นฐานที่นาไปสูก่ ารพัฒนา การพัฒนาทักษะการเล่นกีฬา ทักษะการเล่นกีฬา ๒. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากล  การเล่นกีฬาไทย และกีฬาสากลที่ ประเภทบุคคลและทีมโดยใช้ทักษะ เลือก เช่น กรีฑาประเภทลู่และลาน พื้นฐานตามชนิดกีฬา อย่างละ ๑ บาสเกตบอล กระบี่ เทเบิลเทนนิส ชนิด เทนนิส ว่ายน้า ๓. ร่วมกิจกรรมนันทนาการอย่าง  การนาความรู้และหลักการของ น้อย ๑ กิจกรรมและนาหลักความรู้ที่ กิจกรรมนันทนาการไปใช้เชื่อมโยง ได้ไปเชื่อมโยงสัมพันธ์กับวิชาอื่น สัมพันธ์กบั วิชาอื่น

๑. นาผลการปฏิบัติตนเกี่ยวกับ ทักษะกลไกและทักษะการ เคลื่อนไหวในการเล่นกีฬาจาก แหล่งข้อมูลที่หลากหลายมาสรุปเป็น วิธีที่เหมาะสมในบริบทของตนเอง ๒. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากล ทั้งประเภทบุคคลและทีมได้อย่างละ ๑ ชนิด

 การนาผลการปฏิบัติตนเกี่ยวกับ ทักษะกลไกและทักษะการเคลือ่ นไหว ในการเล่นกีฬาจากแหล่งข้อมูลที่ หลากหลายมาสรุปเป็นวิธีที่เหมาะสมใน บริบทของตนเองในการเล่นกีฬา  การเล่นกีฬาไทย กีฬาสากลตาม ชนิดกีฬาที่เลือก เช่น กรีฑาประเภทลู่ และลาน บาสเกตบอล กระบี่ เทนนิส ตระกร้อลอดบ่วง ฟุตซอล ว่ายน้า เทควันโด

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

องค์ประกอบที่ ๕ - การสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน บูรณาการสู่การเรียนการสอน (เกมต่อตัวกันเป็นรูปใบไม้ต่างๆ เชื่อมโยงในวิชาอื่น)

๑๔ ชั้น

ม. ๓

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

๓. เปรียบเทียบประสิทธิภาพของ รูปแบบการเคลื่อนไหวที่ส่งผลต่อ การเล่นกีฬาและกิจกรรมใน ชีวิตประจาวัน ๔. ร่วมกิจกรรมนันทนาการอย่าง น้อย ๑ กิจกรรม และนาความรู้และ หลักการที่ได้ไปปรับใช้ใน ชีวิตประจาวันอย่างเป็นระบบ ๑. เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากล ได้อย่างละ ๑ ชนิดโดยใช้เทคนิค ที่เหมาะสมกับตนเองและทีม

 ประสิทธิภาพของรูปแบบการ เคลื่อนไหวที่สง่ ผลต่อการเล่นกีฬาและ กิจกรรมในชีวิตประจาวัน

๒. นาหลักการ ความรู้และทักษะ ในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นกม และการเล่นกีฬาไปใช้ สร้างเสริมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง เป็นระบบ ๓. ร่วมกิจกรรมนันทนาการอย่าง น้อย ๑ กิจกรรมและนาหลักความรู้ วิธีการไปขยายผลการเรียนรู้ให้กับ ผู้อื่น ม.๔–ม. ๑. วิเคราะห์ความคิดรวบยอด เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวรูปแบบต่างๆ ๖ ในการเล่นกีฬา

 การนาประสบการณ์จากการร่วม กิจกรรมนันทนาการไปปรับใช้ใน ชีวิตประจาวัน  เทคนิคและวิธกี ารเล่น กีฬาไทย และกีฬาสากลที่เลือก เช่น กรีฑา ประเภทลู่และลาน วอลเลย์บอล บาสเกตบอล ดาบสองมือ เทนนิส ตะกร้อข้ามตาข่าย ฟุตบอล  การนาหลักการ ความรู้ ทักษะใน การเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การ เล่นเกม การเล่นกีฬาไปใช้เป็นระบบ สร้างเสริมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง  การจัดกิจกรรมนันทนาการแก่ผู้อื่น

 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการ เคลื่อนไหวรูปแบบต่าง ๆ ในการเล่น กีฬา  การวิเคราะห์ความคิดรวบยอด เกีย่ วกับการเคลื่อนไหวรูปแบบต่างๆ ในการเล่นกีฬา ๒. ใช้ความสามารถของตน  การใช้ความสามารถของตนใน เพื่อเพิ่มศักยภาพของทีม คานึงถึงผล การเล่นกีฬา เพื่อเพิ่มศักยภาพของทีม ที่เกิดต่อผู้อื่นและสังคม โดยคานึงถึง ผลที่เกิดต่อผู้อื่นและ สังคม

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

๑๕ ชั้น

ตัวชี้วัด ๓. เล่นกีฬาไทย กีฬาสากล ประเภทบุคคล / คู่ กีฬาประเภททีม ได้อย่างน้อย ๑ ชนิด

๔. แสดงการเคลื่อนไหวได้อย่าง สร้างสรรค์

สาระการเรียนรู้แกนกลาง  กีฬาประเภทบุคคล / คู่ ประเภท ทีม เช่น ฟุตซอล รักบี้ฟุตบอล ยิมนาสติก ลีลาศ ซอฟท์บอล เทนนิส เซปักตะกร้อ มวยไทย กระบี่กระบอง พลอง ง้าว  การเคลื่อนไหวที่สร้างสรรค์ เช่น กิจกรรมเข้าจังหวะ เชียร์ลีดเดอร์

๕. เข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการนอก  การนาหลักการและแนวคิดของ โรงเรียน และนาหลักการแนวคิด กิจกรรมนันทนาการไปปรับปรุงและ ไปปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพชีวิต พัฒนาคุณภาพชีวิตของตนและสังคม ของตนและสังคม

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

องค์ประกอบที่ ๕ - การสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน บูรณาการสู่การเรียนการสอน (ออแบบท่าทางด้วยการสังเกต รูปลักษณ์ หรือพฤติกรรมพืช)

๑๖ สาระที่ ๓ การเคลื่อนไหว การออกกาลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล มาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกาลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจาอย่างสม่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขัน และชื่นชม ในสุนทรียภาพของการกีฬา ชั้น ป.๑

ป.๒

ป. ๓

ป. ๔

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๑. ออกกาลังกาย และเล่นเกม  การออกกาลังกาย และการเล่น ตามคาแนะนา อย่างสนุกสนาน เกมเบ็ดเตล็ด

๒. ปฏิบัติตนตามกฎ กติกา ข้อตกลงในการเล่นเกมตาม คาแนะนา ๑. ออกกาลังกาย และเล่นเกม ได้ด้วยตนเองอย่างสนุกสนาน

๒. ปฏิบัติตามกฎ กติกาและ ข้อตกลงในการเล่นเกมเป็นกลุ่ม ๑. เลือกออกกาลังกาย การละเล่นพื้นเมือง และเล่นเกม ที่เหมาะสมกับจุดเด่น จุดด้อย และข้อจากัดของตนเอง ๒. ปฏิบัติตามกฎ กติกาและ ข้อตกลงของการออกกาลังกาย การเล่นเกม การละเล่นพื้นเมือง ได้ด้วยตนเอง ๑. ออกกาลังกาย เล่นเกม และกีฬาที่ตนเองชอบและมี ความสามารถในการวิเคราะห์ผล พัฒนาการของตนเองตาม ตัวอย่างและแบบปฏิบัติของผู้อื่น

 กฎ กติกา ข้อตกลงในการเล่น เกมเบ็ดเตล็ด  การออกกาลังกาย และเล่นเกม เบ็ดเตล็ด  ประโยชน์ของการออกกาลัง กายและการเล่นเกม  กฎ กติกา ข้อตกลงในการเล่น เกมเป็นกลุ่ม  แนวทางการเลือกออกกาลังกาย การละเล่นพื้นเมืองและเล่นเกมที่ เหมาะสมกับจุดเด่น จุดด้อยและ ข้อจากัดของแต่ละบุคคล  การออกกาลังกาย เกม และ การละเล่นพื้นเมือง  กฎ กติกาและข้อตกลงในการ ออกกาลังกาย การเล่นเกม และ การละเล่นพื้นเมือง  การออกกาลังกาย เล่นเกม ตามความชอบของตนเองและเล่น กีฬาพื้นฐานร่วมกับผู้อื่น  การวิเคราะห์ผลพัฒนาการของ ตนเองในการออกกาลังกาย เล่น

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน องค์ประกอบที่ ๕ - การสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน บูรณาการสู่การเรียนการสอน (เกมต่อตัวกันเป็นรูปใบไม้ต่างๆ)

๑๗ ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง เกมและเล่นกีฬา ตามตัวอย่างและ แบบปฏิบัติของผู้อื่น  คุณค่าของการออกกาลังกาย เล่นเกม และเล่นกีฬา ที่มีต่อ สุขภาพ ๒. ปฏิบัติตามกฎ กติกาการ - การปฏิบัติตามกฎ กติกา การเล่น เล่นกีฬาพื้นฐาน ตามชนิดกีฬาที่ กีฬาพื้นฐาน ตามชนิดกีฬาที่เล่น เล่น

ป. ๕

๑. ออกกาลังกายอย่างมี รูปแบบ เล่นเกมที่ใช้ทักษะการ คิดและตัดสินใจ

 หลักการและรูปแบบการออก กาลังกาย  การออกกาลังกาย และการเล่น เกม เช่น เกมเบ็ดเตล็ด เกม เลียนแบบ เกมนา และการละเล่น พื้นเมือง ๒. เล่นกีฬาที่ตนเองชอบอย่าง  การเล่นกีฬาไทย และกีฬา สม่าเสมอ โดยสร้างทางเลือกใน สากลประเภทบุคคลและทีมที่ วิธีปฏิบัติของตนเองอย่าง เหมาะสมกับวัยอย่างสม่าเสมอ หลากหลาย และมีน้าใจนักกีฬา  การสร้างทางเลือกในวิธีปฏิบัติ ในการเล่นกีฬาอย่างหลากหลาย และมีน้าใจนักกีฬา ๓. ปฏิบัติตามกฎกติกา การ  กฎ กติกาในการเล่นเกม กีฬา เล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล ไทยและกีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่ ตามชนิดกีฬาที่เล่น เล่น  วิธีการรุกและวิธีป้องกันในการ เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากลที่เล่น ๔. ปฏิบัติตนตามสิทธิของ  สิทธิของตนเองและผู้อื่นในการ ตนเอง ไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่นและ เล่นเกมและกีฬา ยอมรับในความแตกต่างระหว่าง  ความแตกต่างระหว่างบุคคลใน บุคคลในการเล่นเกม และกีฬา การเล่นเกม และกีฬา ไทย กีฬาสากล

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

องค์ประกอบที่ ๕ - การสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน บูรณาการสู่การเรียนการสอน (เกมต่อตัวกันเป็นรูปใบไม้ต่างๆ -เกมหาตาแหน่งพรรณไม้)

๑๘ ชั้น ป. ๖

ตัวชี้วัด ๑. อธิบายประโยชน์และ หลักการออกกาลังกายเพื่อ สุขภาพ สมรรถภาพทางกายและ การสร้างเสริมบุคลิกภาพ ๒. เล่นเกมที่ใช้ทักษะการ วางแผน และสามารถเพิ่มพูน ทักษะการออกกาลังกายและ เคลื่อนไหวอย่างเป็นระบบ ๓. เล่นกีฬาที่ตนเองชื่นชอบ และสามารถประเมินทักษะการ เล่นของตนเป็นประจา ๔. ปฏิบัติตามกฎ กติกา ตาม ชนิดกีฬาที่เล่น โดยคานึงถึง ความปลอดภัยของตนเองและ ผู้อื่น ๕. จาแนกกลวิธีการรุก การ ป้องกัน และนาไปใช้ในการเล่น กีฬา ๖. เล่นเกมและกีฬา ด้วยความ สามัคคีและมีน้าใจนักกีฬา

ม. ๑

สาระการเรียนรู้แกนกลาง  ประโยชน์และหลักการออก กาลังกายเพื่อสุขภาพ สมรรถภาพ ทางกายและการสร้างเสริม บุคลิกภาพ  การเล่นเกมที่ใช้ทักษะการ วางแผน  การเพิ่มพูนทักษะการออกกาลัง กายและการเคลื่อนไหวอย่างเป็น ระบบ  การเล่นกีฬาประเภทบุคคลและ ประเภททีมที่ชื่นชอบ  การประเมินทักษะการเล่นกีฬา ของตน  กฎ กติกาในการเล่นกีฬาไทย กีฬาสากลตามชนิดกีฬาที่เล่น

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

 กลวิธีการรุก การป้องกันใน การเล่นกีฬา

 การสร้างความสามัคคีและ ความมีน้าใจนักกีฬาในการเล่นเกม และกีฬา ๑. อธิบายความสาคัญของการ  ความสาคัญของการออกกาลัง ออกกาลังกายและเล่นกีฬา จน กายและเล่นกีฬา จนเป็นวิถีชีวิตที่มี เป็นวิถีชีวิตที่มีสุขภาพดี สุขภาพดี  การออกกาลังกาย เช่น กาย ๒. ออกกาลังกายและเลือกเข้า บริหารแบบต่างๆ เต้นแอโรบิก ร่วมเล่นกีฬาตามความถนัด โยคะ รามวยจีน ความสนใจอย่างเต็ม  การเล่นกีฬาไทย และกีฬา ความสามารถ พร้อมทั้งมีการ สากล

องค์ประกอบที่ ๕ - การสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน บูรณาการสู่การเรียนการสอน (ออกแบบท่าเต้นแอโรบิก โยคะ ตามรูปลักษณ์ พฤติกรรมพืช)

๑๙ ชั้น

ม. ๒

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ประเมินการเล่นของตนและผู้อื่น ทั้งประเภทบุคคลและทีม  การประเมินการเล่นกีฬาของ ตนเองและผู้อื่น ๓. ปฏิบัติตามกฎ กติกา และ  กฎ กติกา การเล่นเกมและการ ข้อตกลงตามชนิดกีฬาที่เลือกเล่น แข่งขันกีฬาที่เลือกเล่น ๔. วางแผนการรุกและการ  รูปแบบ วิธีการรุกและป้องกัน ป้องกันในการเล่นกีฬาที่เลือก ในการเล่นกีฬาที่เลือก และนาไปใช้ในการเล่นอย่างเป็น ระบบ ๕. ร่วมมือในการเล่นกีฬา  การเล่น การแข่งขันกีฬา และ และการทางานเป็นทีมอย่าง การทางานเป็นทีม สนุกสนาน ๖. วิเคราะห์เปรียบเทียบและ  การยอมรับความสามารถและ ยอมรับความแตกต่างระหว่าง ความแตกต่างระหว่างบุคคลในการ วิธีการเล่นกีฬาของตนเองกับ เล่นกีฬา ผู้อื่น ๑. อธิบายสาเหตุการ  สาเหตุการเปลี่ยนแปลงทางด้าน เปลี่ยนแปลงทางกาย จิตใจ ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และ อารมณ์ สังคม และ สติปัญญา จากการออกกาลังกาย สติปัญญา ที่เกิดจากการ และการเล่นกีฬาอย่างสม่าเสมอ ออกกาลังกาย และเล่นกีฬาเป็น จนเป็นวิถีชีวิต ประจาจนเป็นวิถีชีวิต  การสร้างวิถีชีวิตที่มีสุขภาพดี โดยการออกกาลังกายและเล่นกีฬา เป็นประจา ๒. เลือกเข้าร่วมกิจกรรม  การออกกาลังกายและการเล่น การออกกาลังกาย เล่นกีฬาตาม กีฬาไทย กีฬาสากลทั้งประเภท ความถนัดและความสนใจพร้อม บุคคลและประเภททีม ทั้งวิเคราะห์ความแตกต่าง  การวิเคราะห์ความแตกต่าง ระหว่างบุคคล เพื่อเป็นแนวทาง ระหว่างบุคคลเพื่อเป็นแนวทางใน ในการพัฒนาตนเอง การพัฒนาการร่วมกิจกรรมการออก กาลังกายและเล่นกีฬา

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

๒๐ ชั้น

ม. ๓

ตัวชี้วัด ๓. มีวินัย ปฏิบัติตามกฎ กติกา และข้อตกลงในการเล่น กีฬาที่เลือก ๔. วางแผนการรุกและการ ป้องกันในการเล่นกีฬาที่เลือก และนาไปใช้ ในการเล่นอย่าง เหมาะสมกับทีม

สาระการเรียนรู้แกนกลาง  วินัยในการฝึก และการเล่น กีฬา ตามกฎ กติกาและข้อตกลง

 รูปแบบ กลวิธีการรุก การ ป้องกันในการเล่นกีฬาเป็นทีม  ประโยชน์ของการเล่นและการ ทางาน เป็นทีม  หลักการให้ความร่วมมือในการ เล่น การแข่งขันกีฬาและการ ทางานเป็นทีม ๕. นาผลการปฏิบัติในการเล่น  การพัฒนาวิธีเล่นกีฬาที่ กีฬามาสรุปเป็นวิธีที่เหมาะสม เหมาะสมกับตนเอง กับตนเองด้วยความมุ่งมั่น - การเลือกวิธีเล่น - การแก้ไขข้อบกพร่อง - การเพิ่มทักษะ  การสร้างแรงจูงใจและการสร้าง ความมุ่งมั่นในการเล่นและแข่งขัน กีฬา ๑. มีมารยาทในการเล่นและดู  มารยาทในการเล่นและการดู กีฬาด้วยความมีน้าใจนักกีฬา กีฬาด้วยความมีน้าใจนักกีฬา ๒. ออกกาลังกายและเล่นกีฬา  การออกาลังกายและการเล่น อย่างสม่าเสมอและนาแนวคิด กีฬาประเภทบุคคล และประเภททีม หลักการจากการเล่นไปพัฒนา  การนาประสบการณ์ แนวคิด คุณภาพชีวิตของตนด้วยความ จากการ ออกกาลังกายและเล่นกีฬา ภาคภูมิใจ ไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ชีวิต ๓. ปฏิบัติตนตามกฎ กติกา  กฎ กติกาและข้อตกลงในการ และข้อตกลงในการเล่นตามชนิด เล่นกีฬาที่เลือกเล่น กีฬาที่เลือกและนาแนวคิดที่ได้  การประยุกต์ประสบการณ์การ ไปพัฒนาคุณภาพชีวิต ของตน ปฏิบัติตามกฎ กติกา ข้อตกลงใน ในสังคม การเล่นกีฬาไปใช้พัฒนาคุณภาพ

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

๒๑ ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง ชีวิตของตนในสังคม ๔. จาแนกกลวิธีการรุก การ  วิธีการประยุกต์ใช้กลวิธีการรุก ป้องกัน และใช้ในการเล่นกีฬาที่ และการป้องกันในการเล่นกีฬาได้ เลือกและตัดสินใจเลือกวิธีที่ ตามสถานการณ์ของการเล่น เหมาะสมกับทีมไปใช้ได้ตาม สถานการณ์ของการเล่น ๕. เสนอผลการพัฒนาสุขภาพ  การพัฒนาสุขภาพตนเองที่เกิด ของตนเองที่เกิดจากการออก จากการออกกาลังกายและการเล่น กาลังกาย และการเล่นกีฬาเป็น กีฬาเป็นประจา ประจา ม. ๔–ม.๖ ๑. ออกกาลังกายและเล่นกีฬา  การออกกาลังกายด้วยวิธีที่ชอบ ที่เหมาะสมกับตนเองอย่าง เช่น สม่าเสมอ และใช้ความสามารถ ฝึกกายบริหารแบบต่างๆ ขี่จักรยาน ของตนเองเพิ่มศักยภาพของทีม การออกกาลังกายจากการทางาน ลดความเป็นตัวตน คานึงถึงผล ในชีวิตประจาวัน การรากระบอง ที่เกิดต่อสังคม รามวยจีน  การเล่นกีฬาประเภทบุคคล และประเภททีม  การใช้ความสามารถของตนใน การเพิ่มศักยภาพของทีมในการเล่น กีฬาและการเล่นโดยคานึงถึง ประโยชน์ต่อสังคม  การวางแผนกาหนดกิจกรรมการ ออกกาลัง-กายและเล่นกีฬา ๒. อธิบายและปฏิบัติเกี่ยวกับ  สิทธิ กฎ กติกาการเล่นกีฬา สิทธิ กฎ กติกา กลวิธีต่างๆ ใน  กลวิธี หลักการรุก การป้องกัน ระหว่างการเล่น การแข่งขันกีฬา อย่างสร้างสรรค์ในการเล่นและ กับผู้อื่นและนาไปสรุปเป็นแนว แข่งขันกีฬา ปฏิบัติและใช้ในชีวิตประจาวัน  การนาประสบการณ์จากการ อย่างต่อเนื่อง เล่นกีฬาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ๓. แสดงออกถึงการมีมารยาท  การปฏิบัติตนในเรื่องมารยาท

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

๒๒ ชั้น

ตัวชี้วัด ในการดู การเล่นและการแข่งขัน กีฬา ด้วยความมีน้าใจนักกีฬา และนาไปใช้ปฏิบัติทุกโอกาส จนเป็นบุคลิกภาพที่ดี ๔. ร่วมกิจกรรมทางกายและ เล่นกีฬาอย่างมีความสุข ชื่นชม ในคุณค่าและความงามของการ กีฬา

สาระการเรียนรู้แกนกลาง ในการดู การเล่น การแข่งขัน ความมีน้าใจนักกีฬา  บุคลิกภาพที่ดี  ความสุขที่ได้จากการเข้าร่วม กิจกรรมทางกาย และเล่นกีฬา  คุณค่าและความงามของการ กีฬา

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

๒๓ สาระที่ ๔ การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการป้องกันโรค มาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดารงสุขภาพ การป้องกันโรค และการสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ ชั้น ป.๑

ป. ๒

ตัวชี้วัด ๑. ปฏิบัติตนตามหลักสุข บัญญัติแห่งชาติตามคาแนะนา ๒. บอกอาการเจ็บป่วยที่เกิด ขึ้นกับตนเอง

สาระการเรียนรู้แกนกลาง งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน  การปฏิบัติตนตามหลักสุข บัญญัติแห่งชาติ  ลักษณะอาการเจ็บป่วยที่เกิด ขึ้นกับตนเอง - ปวดศีรษะ - ตัวร้อน - มีน้ามูก - ปวดท้อง - ผื่นคัน (หนังศีรษะ ผิวหนัง) - ฟกช้า ฯลฯ ๓. ปฏิบัติตนตามคาแนะนา  วิธีปฏิบัติตนเมื่อมีอาการเจ็บป่วย เมื่อมีอาการเจ็บป่วย ที่เกิดขึ้นกับตนเอง ๑. บอกลักษณะของการมี  ลักษณะของการมีสุขภาพดี สุขภาพดี - ร่างกายแข็งแรง - จิตใจ ร่าเริง แจ่มใส - มีความสุข - มีความปลอดภัย ๒. เลือกกินอาหารที่มี  อาหารที่มีประโยชน์และไม่มี องค์ประกอบที่ ๕ ประโยชน์ ประโยชน์ - การใช้สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน บูรณาการสู่การเรียนการสอน (พืชที่มีในโรงเรียนอะไรบ้างที่กิน ได้ ให้คุณอย่างไรแก่ร่างกายมนุษย์) ๓. ระบุของใช้และของเล่นที่  ของใช้และของเล่นที่มีผลเสียต่อ มีผลเสียต่อสุขภาพ สุขภาพ ๔. อธิบายอาการและวิธี  อาการและวิธีป้องกันการ ป้องกันการเจ็บป่วย การ เจ็บป่วย บาดเจ็บที่อาจเกิดขึ้น - ตาแดง ท้องเสีย ฯลฯ  อาการและวิธีป้องกันการ

๒๔ ชั้น

สาระการเรียนรู้แกนกลาง บาดเจ็บ - ถูกของมีคม แมลงสัตว์กัดต่อย หกล้ม ฯลฯ ๕. ปฏิบัติตามคาแนะนาเมื่อมี  วิธีปฏิบัติตนเมื่อเจ็บป่วยและ อาการเจ็บป่วยและบาดเจ็บ บาดเจ็บ

ป. ๓

๑. อธิบายการติดต่อและ วิธีการป้องกันการแพร่กระจาย ของโรค ๒. จาแนกอาหารหลัก ๕ หมู่ ๓. เลือกกินอาหารที่ หลากหลายครบ ๕ หมู่ ใน สัดส่วนที่เหมาะสม

ป. ๔

ตัวชี้วัด

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

 การติดต่อและวิธีการป้องกันการ แพร่กระจายของโรค

 อาหารหลัก ๕ หมู่  การเลือกกินอาหารที่เหมาะสม - ความหลากหลายของชนิดอาหาร ในแต่ละหมู่ - สัดส่วนและปริมาณของอาหาร (ตามธงโภชนาการ) ๔. แสดงการแปรงฟันให้  การแปรงฟันให้สะอาดอย่างถูก สะอาดอย่างถูกวิธี วิธี (ครอบคลุมบริเวณขอบเหงือก และคอฟัน) ๕. สร้างเสริมสมรรถภาพทาง  การสร้างเสริมสมรรถภาพทาง กายได้ตามคาแนะนา กายเพื่อสุขภาพ - วิธีการทดสอบสมรรถภาพทาง กาย - วิธีการสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อ สุขภาพ โดยการออกกาลังกาย การ พักผ่อน และกิจกรรมนันทนาการ ๑. อธิบายความสัมพันธ์  ความสัมพันธ์ระหว่าง องค์ประกอบที่ ๒ ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ สิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ - การใช้สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน  การจัดสิ่งแวดล้อมที่ถูก บูรณาการสู่การเรียนการสอน สุขลักษณะและเอื้อต่อสุขภาพ (พืชที่มีในโรงเรียนอะไรบ้างที่กิน ได้ ให้คุณอย่างไรแก่ร่างกายมนุษย์)

๒๕ ชั้น

ป. ๕

ตัวชี้วัด ๒. อธิบายสภาวะอารมณ์ ความรู้สึกที่มีผลต่อสุขภาพ

สาระการเรียนรู้แกนกลาง  สภาวะอารมณ์และความรู้สึก เช่นโกรธ หงุดหงิด เครียด เกลียด เสียใจ เศร้าใจ วิตกกังวล กลัว ก้าวร้าว อิจฉา ริษยา เบื่อหน่าย ท้อแท้ ดีใจ ชอบใจ รัก ชื่นชม สนุก สุขสบาย  ผลที่มีต่อสุขภาพ ทางบวก : สดชื่น ยิ้มแย้ม แจ่มใส ร่าเริง ฯลฯ ทางลบ : ปวดศีรษะ ปวดท้อง เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย ฯลฯ

๓. วิเคราะห์ข้อมูลบนฉลาก อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ เพื่อ การเลือกบริโภค ๔. ทดสอบและปรับปรุง สมรรถภาพทางกายตามผลการ ตรวจสอบสมรรถภาพทางกาย

 การวิเคราะห์ข้อมูลบนฉลาก อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ

๑. แสดงพฤติกรรมที่เห็น ความสาคัญของการปฏิบัติตน ตามสุขบัญญัติแห่งชาติ ๒. ค้นหาข้อมูลข่าวสารเพื่อ ใช้สร้างเสริมสุขภาพ

๓. วิเคราะห์สื่อโฆษณาใน การตัดสินใจเลือกซื้ออาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างมี เหตุผล ๔. ปฏิบัติตนในการป้องกัน

 การทดสอบสมรรถภาพทางกาย  การปรับปรุงสมรรถภาพทางกาย ตามผลการทดสอบสมรรถภาพทาง กาย  ความสาคัญของการปฏิบัติตน ตามสุขบัญญัติแห่งชาติ  แหล่งและวิธีค้นหาข้อมูล ข่าวสารทางสุขภาพ  การใช้ข้อมูลข่าวสารในการสร้าง เสริมสุขภาพ  การตัดสินใจเลือกซื้ออาหารและ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ (อาหาร เครื่องสาอาง ผลิตภัณฑ์ดูแล สุขภาพในช่องปาก ฯลฯ) การปฏิบัติตนในการป้องกันโรคที่

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

๒๖ ชั้น

ป. ๖

ม. ๑

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง โรคที่พบบ่อยในชีวิตประจาวัน พบบ่อยในชีวิตประจาวัน - ไข้หวัด - ไข้เลือดออก - โรคผิวหนัง - ฟันผุและโรคปริทันต์ ฯลฯ ๕. ทดสอบและปรับปรุง  การทดสอบสมรรถภาพทางกาย สมรรถภาพทางกายตามผลการ  การปรับปรุงสมรรถภาพทางกาย ทดสอบสมรรถภาพทางกาย ตามผลการทดสอบสมรรถภาพทาง กาย ๑. แสดงพฤติกรรมในการ  ความสาคัญของสิ่งแวดล้อมที่มี ป้องกันและแก้ไขปัญหา ผลต่อสุขภาพ สิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ  ปัญหาของสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อ สุขภาพ  การป้องกันและแก้ไขปัญหา สิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ ๒. วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิด  โรคติดต่อสาคัญที่ระบาดใน จากการระบาดของโรคและ ปัจจุบัน เสนอแนวทางการป้องกัน  ผลกระทบที่เกิดจากการระบาด โรคติดต่อสาคัญที่พบใน ของโรค ประเทศไทย  การป้องกันการระบาดของโรค ๓. แสดงพฤติกรรมที่บ่งบอก  พฤติกรรมที่แสดงออกถึงความ ถึง ความรับผิดชอบต่อสุขภาพ รับผิดชอบต่อสุขภาพของส่วนรวม ของส่วนรวม ๔. สร้างเสริมและปรับปรุง  วิธีทดสอบสมรรถภาพทางกาย สมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ  การสร้างเสริมและปรับปรุง อย่างต่อเนื่อง สมรรถภาพทางกายตามผลการ ทดสอบสมรรถภาพทางกาย ๑. เลือกกินอาหารที่  หลักการเลือกอาหารที่เหมาะสม เหมาะสมกับวัย กับวัย ๒. วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจาก  ปัญหาที่เกิดจากภาวะโภชนาการ

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

๒๗ ชั้น

ม. ๒

ม. ๓

ตัวชี้วัด การภาวะโภชนาการที่มี ผลกระทบต่อสุขภาพ ๓. ควบคุมน้าหนักของตนเอง ให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน

สาระการเรียนรู้แกนกลาง - ภาวะการขาดสารอาหาร - ภาวะโภชนาการเกิน  เกณฑ์มาตรฐานการเจริญเติบโต ของเด็กไทย  วิธีการควบคุมน้าหนักของ ตนเองให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ๔. การสร้างเสริมและ  วิธีทดสอบสมรรถภาพทางกาย ปรับปรุงสมรรถภาพทางกาย  วิธีสร้างเสริมและปรับปรุง ตามผลการทดสอบ สมรรถภาพ ทางกายตามผลการ ทดสอบ ๑. เลือกใช้บริการทางสุขภาพ  การเลือกใช้บริการทางสุขภาพ อย่างมีเหตุผล ๒. วิเคราะห์ผลของการใช้  ผลกระทบของเทคโนโลยี ที่มีต่อ เทคโนโลยีที่มีต่อสุขภาพ สุขภาพ ๓. วิเคราะห์ความ  ความเจริญก้าวหน้าทางการ เจริญก้าวหน้าทางการแพทย์ที่มี แพทย์ที่มีผลต่อสุขภาพ ผลต่อสุขภาพ ๔. วิเคราะห์ความสัมพันธ์  ความสมดุลระหว่างสุขภาพกาย ของภาวะสมดุลระหว่างสุขภาพ และสุขภาพจิต กายและสุขภาพจิต ๕. อธิบายลักษณะอาการ  ความสมดุลระหว่างสุขภาพกาย เบื้องต้นของผู้มีปัญหา และสุขภาพจิต สุขภาพจิต ๖. เสนอแนะวิธีปฏิบัติตน  วิธีปฏิบัติตนเพื่อจัดการกับ เพื่อจัดการกับอารมณ์และ อารมณ์และความเครียด ความเครียด ๗. พัฒนาสมรรถภาพทางกาย  เกณฑ์สมรรถภาพทางกาย ตนเองให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่  การพัฒนาสมรรถภาพทางกาย กาหนด ๑. กาหนดรายการอาหารที่  การกาหนดรายการอาหารที่ เหมาะสมกับวัยต่าง ๆ โดย เหมาะสมกับวัย ต่าง ๆ

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

๒๘ ชั้น

ตัวชี้วัด คานึงถึงความประหยัดและ คุณค่าทางโภชนาการ

สาระการเรียนรู้แกนกลาง  วัยทารก วัยเด็ก (วัยก่อนเรียน วัยเรียน) วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ วัย สูงอายุ โดยคานึงถึงความประหยัด และคุณค่าทางโภชนาการ ๒. เสนอแนวทางป้องกันโรค  โรคที่เป็นสาเหตุสาคัญของการ ที่เป็นสาเหตุสาคัญของการ เจ็บป่วยและการตายของคนไทย เจ็บป่วยและการตายของคน โรคติดต่อ เช่น ไทย - โรคที่เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ - โรคเอดส์ - โรคไข้หวัดนก ฯลฯ โรคไม่ติดต่อ เช่น - โรคหัวใจ - โรคความดันโลหิตสูง - เบาหวาน - มะเร็ง ฯลฯ ๓. รวบรวมข้อมูลและเสนอ  ปัญหาสุขภาพในชุมชน แนวทาง แก้ไขปัญหาสุขภาพ  แนวทางแก้ไขปัญหาสุขภาพใน ในชุมชน ชุมชน ๔. วางแผนและจัดเวลาใน  การวางแผนและจัดเวลาในการ การออกกาลังกาย การพักผ่อน ออกกาลังกาย การพักผ่อน และการ และการสร้างเสริมสมรรถภาพ สร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย ทางกาย ๕. ทดสอบสมรรถภาพทาง  การทดสอบสมรรถภาพทางกาย กาย และพัฒนาได้ตามความ แบบต่าง ๆ และการพัฒนา แตกต่างระหว่างบุคคล สมรรถภาพเพื่อสุขภาพ  บทบาทและความรับผิดชอบของ ม.๔– ม.๖ ๑. วิเคราะห์บทบาทและ ความรับผิดชอบของบุคคลที่มีต่อ บุคคล ที่มีต่อการสร้างเสริม การสร้างเสริมสุขภาพและการ สุขภาพและการป้องกันโรคใน ป้องกันโรคในชุมชน ชุมชน

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

๒๙ ชั้น

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๒. วิเคราะห์ อิทธิพลของสื่อ  อิทธิพลของสื่อโฆษณาเกี่ยวกับ โฆษณาเกี่ยวกับสุขภาพเพื่อการ สุขภาพ เลือกบริโภค  แนวทางการเลือกบริโภคอย่าง ฉลาดและปลอดภัย ๓. ปฏิบัติตนตามสิทธิของ  สิทธิพื้นฐานของผู้บริโภคและ ผู้บริโภค กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครอง ผู้บริโภค ๔. วิเคราะห์สาเหตุและเสนอ  สาเหตุของการเจ็บป่วยและการตาย แนวทางการป้องกันการ ของคนไทย เช่น โรคจากการ เจ็บป่วยและการตายของคน ประกอบอาชีพ โรคทางพันธุกรรม ไทย  แนวทางการป้องกันการ เจ็บป่วย ๕. วางแผนและปฏิบัติตาม  การวางแผนการพัฒนาสุขภาพ แผน การพัฒนาสุขภาพ ของตนเอง ครอบครัว ของตนเองและครอบครัว ๖. มีส่วนร่วมในการส่งเสริม  การมีส่วนร่วมในการส่งเสริม และพัฒนาสุขภาพของบุคคล และพัฒนาสุขภาพของบุคคลใน ในชุมชน ชุมชน ๗. วางแผนและปฏิบัติตาม  การวางแผนพัฒนาสมรรถภาพ แผน การพัฒนา ทางกายและสมรรถภาพกลไก สมรรถภาพกายและ สมรรถภาพกลไก

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

๓๐ สาระที่ ๕ ความปลอดภัยในชีวิต มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยา สารเสพติด และความรุนแรง ชั้น ป. ๑

ป. ๒

ตัวชี้วัด ๑. ระบุสิ่งที่ทาให้เกิด อันตราย ที่บ้าน โรงเรียน และการป้องกัน

สาระการเรียนรู้แกนกลาง  สิ่งที่ทาให้เกิดอันตรายภายใน บ้านและโรงเรียน  การป้องกันอันตรายภายในบ้าน และโรงเรียน ๒. บอกสาเหตุและการ  อันตรายจากการเล่น ป้องกันอันตรายที่เกิดจากการ - สาเหตุที่ทาให้เกิดอันตรายจาก เล่น การเล่น - การป้องกันอันตรายจากการเล่น ๓. แสดงคาพูดหรือท่าทางขอ  การขอความช่วยเหลือเมื่อเกิด ความช่วยเหลือจากผู้อื่นเมื่อเกิด เหตุร้ายที่บ้านและโรงเรียน เหตุร้ายที่บ้านและโรงเรียน - บุคคลที่ควรขอความช่วยเหลือ - คาพูดและท่าทางการขอความ ช่วยเหลือ ๑. ปฏิบัติตนในการป้องกัน  อุบัติเหตุทางน้า และทางบก อุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นทางน้า - สาเหตุของอุบัติเหตุทางน้าและ และทางบก ทางบก - วิธีการป้องกันอุบัติเหตุทางน้า และทางบก ๒. บอกชื่อยาสามัญประจา  ยาสามัญประจาบ้าน บ้าน และใช้ยาตามคาแนะนา - ชื่อยาสามัญประจาบ้าน - การใช้ยาตามความจาเป็นและ ลักษณะอาการ ๓. ระบุโทษของสารเสพติด  สารเสพติดและสารอันตรายใกล้ สารอันตรายใกล้ตัวและวิธีการ ตัว ป้องกัน - โทษของสารเสพติด และสาร อันตรายใกล้ตัว - วิธีป้องกัน ๔. ปฏิบัติตนตามสัญลักษณ์  สัญลักษณ์และป้ายเตือนของ

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

๓๑ ชั้น

ตัวชี้วัด และป้ายเตือนของสิ่งของหรือ สถานที่ที่เป็นอันตราย ๕. อธิบายสาเหตุ อันตราย วิธีป้องกันอัคคีภัยและแสดง การหนีไฟ

ป. ๓

ป. ๔

๑. ปฏิบัติตนเพื่อความ ปลอดภัยจากอุบัติเหตุในบ้าน โรงเรียน และการเดินทาง ๒. แสดงวิธีขอความ ช่วยเหลือจากบุคคลและแหล่ง ต่าง ๆ เมื่อเกิดเหตุร้าย หรือ อุบัติเหตุ ๓. แสดงวิธีปฐมพยาบาล เมื่อบาดเจ็บจากการเล่น

สาระการเรียนรู้แกนกลาง สิ่งของหรือสถานที่ที่เป็นอันตราย - ความหมายของสัญลักษณ์และ ป้ายเตือน  อัคคีภัย - สาเหตุของการเกิดอัคคีภัย - อันตรายซึ่งได้รับจากการเกิด อัคคีภัย - การป้องกันอัคคีภัย และการหนีไฟ  วิธีปฏิบัติตนเพื่อความปลอดภัย จากอุบัติเหตุในบ้าน โรงเรียนและ การเดินทาง  การขอความช่วยเหลือจากบุคคล และแหล่งต่างๆ เมื่อเกิดเหตุร้าย หรืออุบัติเหตุ

 การบาดเจ็บจากการเล่น - ลักษณะของการบาดเจ็บ - วิธีปฐมพยาบาล (บาดเจ็บ ห้าม เลือด ฯลฯ) ๑. อธิบายความสาคัญของ  ความสาคัญของการใช้ยา การใช้ยาและใช้ยาอย่างถูกวิธี  หลักการใช้ยา ๒. แสดงวิธีปฐมพยาบาลเมื่อ  วิธีปฐมพยาบาล ได้รับอันตรายจากการใช้ยาผิด - การใช้ยาผิด สารเคมี แมลงสัตว์กัดต่อย - สารเคมี และการบาดเจ็บจากการเล่น - แมลงสัตว์กัดต่อย กีฬา - การบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา ๓. วิเคราะห์ผลเสียของการ  ผลเสียของการสูบบุหรี่ การดื่ม สูบบุหรี่ และการดื่มสุรา ที่มี สุรา และการป้องกัน ต่อสุขภาพและการป้องกัน

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

๓๒ ชั้น ป. ๕

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๑. วิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพล  ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้สาร ต่อการใช้สารเสพติด เสพติด (สุรา บุหรี่ ยาบ้า สารระเหย ฯลฯ) - ครอบครัว สังคม เพื่อน - ค่านิยม ความเชื่อ - ปัญหาสุขภาพ - สื่อ ฯลฯ ๒. วิเคราะห์ผลกระทบของ  ผลกระทบของการใช้ยา และสาร การใช้ยา และสารเสพติด ที่มี เสพติดที่มีต่อร่างกาย จิตใจ ผลต่อร่างกาย จิตใจ อารมณ์ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา สังคม และสติปัญญา ๒. ปฏิบัติตนเพื่อความ ปลอดภัยจากการใช้ยาและ หลีกเลี่ยงสารเสพติด

ป. ๖

 การปฏิบัติตนเพื่อความปลอดภัย จาก การใช้ยา  การหลีกเลี่ยงสารเสพติด ๓. วิเคราะห์อิทธิพลของสื่อที่  อิทธิพลของสื่อที่มีต่อ มีต่อพฤติกรรมสุขภาพ พฤติกรรม สุขภาพ (อินเทอร์เน็ต เกม ฯลฯ) ๔. ปฏิบัติตนเพื่อป้องกัน  การปฏิบัติเพื่อป้องกันอันตราย อันตรายจากการเล่นกีฬา จากการเล่นกีฬา ๑. วิเคราะห์ผลกระทบจาก  ภัยธรรมชาติ ความรุนแรงของภัยธรรมชาติที่ - ลักษณะของภัยธรรมชาติ มีต่อร่างกาย จิตใจ และสังคม - ผลกระทบจากความรุนแรงของ ภัยธรรมชาติที่มีต่อร่างกาย จิตใจ และสังคม ๒. ระบุวิธีปฏิบัติตน เพื่อ  การปฏิบัติตนเพื่อความปลอดภัย ความปลอดภัยจากธรรมชาติ จากภัยธรรมชาติ ๓. วิเคราะห์สาเหตุของการติด  สาเหตุของการติดสารเสพติด สารเสพติด และชักชวนให้ผู้อื่น  ทักษะการสื่อสารให้ผู้อื่น หลีกเลี่ยงสารเสพติด หลีกเลี่ยงสารเสพติด

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

๓๓ ชั้น ม. ๑

ม. ๒

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๑. แสดงวิธีปฐมพยาบาลและ  การปฐมพยาบาลและเคลื่อนย้าย เคลื่อนย้ายผู้ป่วยอย่างปลอดภัย ผู้ปว่ ยอย่างปลอดภัย - เป็นลม - บาดแผล - ไฟไหม้ - กระดูกหัก - น้าร้อนลวก ฯลฯ ๒. อธิบายลักษณะอาการของ  ลักษณะของผู้ติดสารเสพติด ผู้ติดสารเสพติดและการป้องกัน  อาการของผู้ติดสารเสพติด การติดสารเสพติด  การป้องกันการติดสารเสพติด ๓. อธิบายความสัมพันธ์ของ  ความสัมพันธ์ของการใช้สารเสพ การใช้สารเสพติดกับการเกิด ติดกับการเกิดโรค และอุบัติเหตุ โรคและอุบัติเหตุ ๔. แสดงวิธีการชักชวนผู้อื่น  ทักษะที่ใช้ในการชักชวนผู้อื่น ให้ลด ละ เลิกสารเสพติด ให้ลด ละ เลิกสารเสพติด โดยใช้ทักษะต่าง ๆ - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - ทักษะการสื่อสาร - ทักษะการตัดสินใจ - ทักษะการแก้ปัญหา ฯลฯ ๑. ระบุวิธีการ ปัจจัยและ  วิธีการ ปัจจัยและแหล่งที่ แหล่งที่ช่วยเหลือ ฟื้นฟูผู้ติด ช่วยเหลือ ฟื้นฟู สารเสพติด ผู้ติดสารเสพติด ๒. อธิบายวิธีการหลีกเลี่ยง  การหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงและ พฤติกรรมเสี่ยงและสถานการณ์ สถานการณ์เสี่ยง เสี่ยง - การมั่วสุม - การทะเลาะวิวาท - การเข้าไปในแหล่งอบายมุข - การแข่งจักรยานยนต์บนท้องถนน ฯลฯ ๓. ใช้ทักษะชีวิตในการ  ทักษะชีวิตในการป้องกันตนเอง ป้องกันตนเองและหลีกเลี่ยง (ทักษะปฏิเสธ ทักษะการต่อรอง สถานการณ์คับขันที่อาจนาไปสู่ ฯลฯ) และหลีกเลี่ยงสถานการณ์คับ อันตราย ขันที่อาจนาไปสู่อันตราย

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

๓๔ ชั้น ม. ๓

ตัวชี้วัด ๑. วิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยง และ พฤติกรรมเสี่ยงที่มีผลต่อ สุขภาพและแนวทางป้องกัน

สาระการเรียนรู้แกนกลาง  ปัจจัยเสี่ยง และพฤติกรรมเสี่ยง ต่อสุขภาพ  แนวทางการป้องกันความเสี่ยง ต่อสุขภาพ ๒. หลีกเลี่ยงการใช้ความ  ปัญหาและผลกระทบจากการ รุนแรงและชักชวนเพื่อนให้ ใช้ความรุนแรง หลีกเลี่ยงการใช้ความรุนแรงใน  วิธีหลีกเลี่ยงการใช้ความรุนแรง การแก้ปัญหา ๓. วิเคราะห์อิทธิพลของสื่อ  อิทธิพลของสื่อต่อพฤติกรรม ต่อพฤติกรรมสุขภาพและความ สุขภาพและความรุนแรง (คลิป รุนแรง วิดีโอ การทะเลาะวิวาท อินเทอร์เน็ต เกม ฯลฯ) ๔. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ ของการดื่มเครื่องดื่มที่มี แอลกอฮอล์ต่อสุขภาพและการ เกิดอุบัติเหตุ ๕. แสดงวิธีการช่วยฟื้นคืน ชีพอย่างถูกวิธี

 ความสัมพันธ์ของการดื่ม เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ต่อสุขภาพ และการเกิดอุบัติเหตุ

ม.๔–ม.๖ ๑. มีส่วนร่วมในการป้องกัน ความเสี่ยงต่อการใช้ยา การใช้ สารเสพติด และความรุนแรง เพื่อสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และสังคม ๒. วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิด จากการครอบครอง การใช้และ การจาหน่ายสารเสพติด

 การจัดกิจกรรมป้องกันความ เสี่ยงต่อการใช้ยา สารเสพติด และ ความรุนแรง

 วิธีการช่วยฟื้นคืนชีพ

 การวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิด จากการครอบครอง การใช้และการ จาหน่ายสารเสพติด (ตนเอง ครอบครัว เศรษฐกิจ สังคม)  โทษทางกฎหมายที่เกิดจากการ ครอบครอง การใช้และการจาหน่าย

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

๓๕ ชั้น

ตัวชี้วัด ๓. วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อ สุขภาพ หรือความรุนแรงของ คนไทยและเสนอแนวทาง ป้องกัน ๔. วางแผน กาหนดแนวทาง ลดอุบัติเหตุ และสร้างเสริม ความปลอดภัยในชุมชน ๕. มีส่วนร่วมในการสร้าง เสริมความปลอดภัยในชุมชน ๖. ใช้ทักษะการตัดสินใจ แก้ปัญหาในสถานการณ์ที่เสี่ยง ต่อสุขภาพและความรุนแรง ๗. แสดงวิธีการช่วยฟื้นคืน ชีพอย่างถูกวิธี

สาระการเรียนรู้แกนกลาง สารเสพติด  ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพของคน ไทยและเสนอแนวทางป้องกัน

 การวางแผน กาหนดแนวทางลด อุบัติเหตุ และสร้างเสริมความ ปลอดภัยในชุมชน  กิจกรรมการสร้างเสริมความ ปลอดภัย ในชุมชน  ทักษะการตัดสินใจแก้ปัญหาใน สถานการณ์ที่เสี่ยงต่อสุขภาพ  วิธีการช่วยฟื้นคืนชีพอย่างถูกวิธี

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.