วิชาเชื้อเพลิง และวัสดุหล่อลื่น โดย ครูพิท ทองคำ Flipbook PDF

จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้ 1. เข้าใจชนิดและสมบัติของเชื้อเพลิง 2. เข้าใจกระบวนการผลิตเชื้อเพลิงวัสดุหล่อลื่น สารหล่อเย็น

23 downloads 102 Views 22MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

นายพิท ทองค า ต าแหน่ง ครู วิทยฐานะช านาญการ


สารบัญ หน่วยท ี่1 พลังงาน หน่วยท ี่2 ปิ โตรเลียม หน่วยท ี่3 เชื อ้เพล ิ งแข็ง หน่วยท ี่4 เชื อ้เพล ิ งก๊าซ หน่วยท ี่5 การกล่ันนา ้มัน หน่วยท ี่6 วัสดุหล่อล ื่น หน่วยท ี่7 นา ้มันเคร ื่องและนา ้มันเกย ี รส าหรับยาน ์ ยนต์ หน่วยท ี่8 นา ้มันเบรกและจาระบี หน่วยท ี่9 นา ้มันก๊าดและนา ้มันเคร ื่องบน ิ หน่วยท ี่10 นา ้มันดเ ีซลและนา ้มันเตา หน่วยท ี่11 การเล ื อกใช ้ ผล ิ ตภณัฑห ์ ล่อล ื่นสา หรับเคร ื่องยนต ์ และการใช ้ ผล ิ ตภณัฑห ์ ล่อล ื่นอย่างปลอดภัย


พลังงาน (Energy) หมายถึง ความสามารถที่จะใช้ท างานให้เกิดประโยชน์ได้ เป็นสิ่งจ าเป็นต่อ ชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์และสัตว์ พลังงานที่มนุษย์น ามาใช้ในยุคแรก เช่น แรงงานมนุษย์และสัตว์ พลังงานน ้า พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์ ต่อมาเมื่อมนุษย์มีวิวัฒนาการทางด้านวิชาการมากขึ้น สามารถค้นคว้าและน าพลังงานในรูปแบบต่าง ๆ ที่ดีกว่ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้มากมาย เช่น พลังงานที่ ได้จากน ้ามันและก๊าซ


พลังงานจากน ้ามัน ก๊าซธรรมชาต ิและถ่านหินมีความส าคัญเป็นอย่างมาก เพราะจาก สถิติต่าง ๆ พบว่าปริมาณการใช้พลังงานของโลกมีแนวโน้มสูงขึ้นตลอดเวลา เนื่องจากกระบวนการผลิต ในหลาย ๆ ขั้นตอนจ าเป็นต้องอาศัยพลังงาน จึงถือได้ว่าพลังงานเป็นปัจจัยของการผลิตที่มีความส าคัญ เป็นอย่างยิ่ง


1.3.1 พลังงานต้นก าเนิด (Primary Energy) พลัง ง านต้นก าเ นิ ดเป็ นพลัง ง าน ที่ สามารถแปรรูปเป็นพลังงานรูปอื่น ๆ ได้ พลังงาน ประเภทนี้ได้มาจากแหล่งต่าง ๆ มากมาย เช่น ไม้ ฟื น ถ่านหิน น ้ามันดิบ ก๊าซธรรมชาติ แสงอาทิตย์ น ้า ลม บ่อน ้าร้อน น ้าพุร้อนใต้พิภพ แร่นิวเคลียร์ เป็นต้น พลังงานแสงอาทิตย์


1.3.2 พลังงานแปรร ู ป (Secondary Energy) พลังงานแปรรูปเป็นพลังงานที่ได้จากการน าพลังงานต้นก าเนิดมาแปรรูป เพื่อใช้ประโยชน์ใน ลักษณะต่าง ๆ ได้แก่ การผลิตกระแสไฟฟ้าโดยใช้พลังงานจากน ้าในเขื่อน เชื้อเพลิงสังเคราะห์ ผลิตภัณฑ์ จากน ้ามันปิโตรเลียม และถ่านโค้ก พลังงานจากกังหันลม


1.4.1 แหล่งทรัพยากรพลังงานตามแบบ (Conventional Energy Resources) แหล่งทรัพยากรพลังงานตามแบบ หมายถึง พลังงานที่เคยใช้เป็นแหล่งพลังงานหลัก ของโลก เช่น แหล่งถ่านหิน แหล่งน ้ามัน แหล่งก๊าซ ธรรมชาติ แหล่งพลังงานน ้า ไม้ ฟื น ซึ่งมีการ น ามาใช้ให้เกิดเป็นพลังงานมาเป็นเวลานานนับ ทศวรรษ บอ่นา ้มันดบ ิ


1.4.2 แหล่งทรัพยากรพลังงานนอกแบบ (Non–Conventional Energy Resources) แหล่งทรัพยากรพลังงานนอกแบบ หมายถึง แหล่งพลังงานที่ยังไม่ได้รับการพัฒนาถึง ขั้นที่จะน ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจได้ อย่างแท้จริง ได้แก่ พลังงานลม พลังงานความร้อน ใต้พิภพ พลังงานนิวเคลียร์ หินน ้ามัน ก๊าซชีวภาพ ก๊าซไฮโดรเจนเชื้อเพลิงแอลกอฮอล์ หรือพลังงาน จากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรและอุตสาหกรรม โรงกล่ันนา ้มันดบ ิ


1.5.1 การใช้พลังงานของโลก ในอดีตประมาณ 5 ทศวรรษที่ผ่านมา โลกได้พึ่งพาการใช้เชื้อเพลิงพลังงานที่ส าคัญคือ น ้ามันดิบ ก๊าซธรรมชาติ และถ่านหิน โดยที่สัดส่วนของพลังงานดังกล่าวรวมกันเกินกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ ของพลังงานที่ใช้ทั้งหมด กล่าวคือ ในช่วง พ.ศ. 2471–2501 โลกได้ใช้พลังงานจากถ่านหินเป็นอันดับแรก และต่อมาในปี พ.ศ. 2511 ถึงปัจจุบัน โลกได้เปลี่ยนมาใช้น ้ามันเป็นอันดับแรกแทนการใช้ถ่านหิน ถ่านหิน


1.5.2 การใช้พลังงานในประเทศไทย จากการประเมินการใช้พลังงานในประเทศไทยทั้งในอดีตและในอนาคตจะสังเกตเห็นว่า การ ใช้พลังงานจากผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมมีปริมาณมากกว่าการใช้พลังงานอื่น ๆ และเมื่อรวมการใช้พลังงาน ทั้งหมดแล้วจะเห็นว่า ในอนาคตมีการใช้พลังงานมากขึ้น ทั้งนี้เนื่องมาจากการเพิ่มของประชากรและการ ขยายตัวทางเศรษฐกิจมากขึ้น


การใช้พลังงานจ าแนกตามสาขาเศรษฐกิจไทย


1.6.1 เชื อ้เพล ิ งแข็ง เชื้อเพล ิ งแข็ง หมายถึง เชื้อเพลิงที่มีสถานะเป็ นของแข็งที่อุณหภูมิปกติธาตุที่เป็ น องค์ประกอบของเชื้อเพลิงนี้ ส่วนมากประกอบด้วย คาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน ก ามะถัน และเถ้า ซึ่ง เชื้อเพลิงแข็งที่ได้จากขบวนการผลิต เช่น ถ่านไม้ (Charcoal) ถ่านโค้ก (Coke) ถ่านอัดเป็นก้อนหรือเป็น แท่ง (Fuel Briquette) เป็นต้น


1.6.2 เชื อ้เพล ิ งเหลว เชื อ้เพล ิ งเหลว หมายถึง เชื้อเพลิงที่มีสถานะเป็นของเหลวที่อุณหภูมิปกติ เชื้อเพลิงประเภท นี้ เช่น น ้ามันที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม น ้ามันจากพืช น ้ามันจากสัตว์ เป็นต้น เชื้อเพลิงเหลวที่นิยมใช้ ส่วนใหญ่ได้จากผลิตภัณฑ์การกลั่นน ้ามันปิโตรเลียม ซึ่งเป็นวัตถุดิบที่ส าคัญมากในการผลิตน ้ามัน เชื้อเพลิงเหลว เช่น น ้ามันเบนซิน น ้ามันก๊าด น ้ามันแก๊สโซลีน น ้ามันดีเซล น ้ามันเตา เป็นต้น


1.6.3 เชื อ้เพล ิ งก๊าซ เชื อ้เพล ิ งก๊าซ หมายถึง เชื้อเพลิงที่มีสถานะเป็นก๊าซที่อุณหภูมิปกติ หรือก๊าซทุกชนิดที่สามารถ น ามาท าปฏิกิริยากับออกซิเจน แล้วเกิดการเผาไหม้ท าให้ได้พลังงานความร้อนที่สามาร ถน าไปใช้ ประโยชน์ได้ เชื้อเพลิงประเภทนี้ส่วนใหญ่มีส่วนประกอบของสารไฮโดรคาร์บอนเช่น ก๊าซธรรมชาติ ก๊าซ หุงต้ม (ก๊าซ LPG) ก๊าซชีวภาพ เป็นต้น


1.7.1 นา ้มันดีเซลชีวภาพ (Biodiesel) เนื่องจากพลังงานปิโตรเลียมนับวันยิ่งหายากขึ้น ซึ่งตรงข้ามกับความต้องการของประเทศต่าง ๆ ที่เพิ่มขึ้นทุกปี จึงท าให้มีการค้นคว้าวิจัยหาแหล่งพลังงานอื่นเพื่อน ามาใช้ทดแทนปิ โตรเลียม เช่น เชื้อเพลิงจากพืช ซึ่งได้แก่ น ้ามันพืชต่าง ๆ สามารถน ามาผลิตใช้ทดแทนน ้ามันดีเซลที่เรียกว่า น ้ามันดีเซล ชีวภาพ น ้ามันดีเซลชีวภาพ คือ เชื้อเพลิงเหลวซึ่งผลิตได้จากกระบวนการที่เรียกว่า ปฏิกิริยา ทรานส์เอสเทอริฟิ เคชั่น (Transesterification)ของน ้ามันพืช ไขมันสัตว์ หรือน ้ามันจากสาหร่ายขนาดเล็ก ในเมทานอล (Methanol) โดยมีโซเดียมหรือโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเคมี (Catalyst)


ประวัตค ิ วามเป็ นมาของนา ้มันดเ ีซลชี วภาพ น ้ามันดีเซลชีวภาพมีจุดเริ่มต้นมาจากประเทศในแถบยุโรป มีการทดลองกระบวนการ ปฏิกิริยาทรานส์เอสเทอริฟิ เคชั่น (Transetherification) ในปี พ.ศ. 2525 โดยใช้เมล็ดเรฟ ณ สถาบัน Institute of Organic Chemistry Graz Austria ปัจจุบันสหภาพยุโรปและสหรัฐอเมริกามีการผลิต ออกจ าหน่ายอย่างกว้างขวาง โดยได้รับการยอมรับจากบริษัทผู้ผลิตรถยนต์และผู้ค้าน ้ามัน


ข้อดีของไบโอดีเซล 1. ลดการสูญเสียเงินตราต่างประเทศจากการน าเข้าน ้ามันดิบ เพิ่มความมั่นคงด้านพลังงานของ ประเทศ 2. เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น 3. การเผาไหม้สมบูรณ์ ลดควันด า 4. ไอเสียมีมลพิษต ่ากว่า 5. การน าน ้ามันใช้แล้วมาผลิตน ้ามันดีเซลชีวภาพเป็นการป้องกันการน าน ้ามันเก่ามาใช้จะเป็น อันตรายต่อสุขภาพ


ค ุ ณสมบตัข ิ องนา ้มันเชื อ้เพล ิ งดเ ีซลและนา ้มันดเ ีซลชี วภาพ คุณสมบัติที่ส าคัญของน ้ามันเชื้อเพลิงดีเซลแต่ละคุณสมบัติ เป็นสิ่งที่บ่งบอกว่าน ้ามัน เชื้อเพลิงที่มีคุณสมบัติเป็นไปตามก าหนดในมาตรฐานนั้น มีความเหมาะสมกับการใช้เป็นเชื้อเพลิง ส าหรับเครื่องยนต์ดีเซล ซึ่งแต่ละคุณสมบัติมีผลต่อการใช้งานและเครื่องยนต์ดีเซลแตกต่างกันไป


1.7.2 นา ้มันแก๊สโซฮอล์(Gasohol) น ้ามันแก๊สโซฮอล์คือ น ้ามันเชื้อเพลิงส าหรับรถยนต์ ที่ใช้ส าหรับทดแทนน ้ามันเบนซิน (น ้ามันแก๊สโซลีน) สามารถเติมได้ทันทีโดยไม่ต้องติดตั้งอุปกรณ์ใด ๆ เพิ่มเติม และสามารถเติมสลับหรือ ผสมกับเบนซินโดยไม่ต้องรอให้น ้ามันหมดถัง น ้ามันแก๊สโซฮอล์95 ผลิตจากน ้ามันเบนซินออกเทน 91 ผสมกับเอทานอล มีการเผาไหม้ สมบูรณ์กว่าน ้ามันเบนซิน เนื่องจากมีส่วนผสมของเอทานอล ซึ่งมีโมเลกุลของออกซิเจนในเนื้อน ้ามันมาก ส่งผลให้เกิดมลพิษน้อยกว่าน ้ามันเบนซิน และพบว่าท าให้สมรรถนะของเครื่องยนต์ดีขึ้นหรือเท่ากับการใช้ น ้ามันเบนซินปกติ


ผลดต ี่อเคร ื่องยนต ์ 1. ไม่มีผลกระทบต่อสมรรถนะเครื่องยนต์และอัตราการเร่งไม่แตกต่างจากน ้ามันเบนซิน 95 2. สามารถเติมผสมกับน ้ามันที่เหลืออยู่ในถังได้โดยไม่ต้องรอให้น ้ามันที่มีอยู่ในถังหมด 3. ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการด าเนินการปรับแต่งเครื่องยนต์


ผลดีต่อประเทศชาติ 1. ช่วยลดการน าเข้าน ้ามันเชื้อเพลิงจากต่างประเทศ ลดการขาดดุลทางการค้า 2. ช่วยประหยัดเงินตราต่างประเทศในการน าเข้าสาร MTBE ถึงปีละ 3,000 ล้านบาท 3. ใช้ประโยชน์จากพืชผลทางการเกษตรสูงสุดและยกระดับราคาพืชผลทางการเกษตร สร้างรายได้ให้เกษตรกร 4. เครื่องยนต์มีการเผาไหม้ที่ดีขึ้น ท าให้ช่วยลดมลพิษทางอากาศ 5. ท าให้เกิดการลงทุนที่หลากหลายทั้งด้านเกษตรและอุตสาหกรรม 6. เป็นพลังงานหมุนเวียนจึงถือเป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรของโลก ซึ่งเป็นแนวทางพัฒนาประเทศที่ ยั่งยืน


ผลดเ ี มอ ื่ใช ้ นา ้มันแก๊สโซฮอล์ 1. ได้ใช้น ้ามันแก๊สโซฮอล์ในราคาที่ประหยัดลง 1.50 บาท/ลิตร 2. ช่วยให้เครื่องยนต์เผาไหม้สะอาดสมบูรณ์ยิ่งขึ้น 3. เป็นการช่วยเหลือเกษตรกรให้ขายผลผลิตได้ในราคาที่สูงขึ้น 4. สามารถช่วยลดมลพิษทางอากาศ ซึ่งส่งผลถึงชีวิตตนเอง ลูกหลาน และเพื่อนร่วมชาติ


2.1.1 ความหมายของปิ โตรเลียม ปิ โตรเลียม หมายถึง สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่อยู่ในรูปของน ้ามันดิบหรือก๊าซธรรมชาติ ปิโตรเลียมเกิดจากการทับถมและการแปรสภาพของซากพืช ซากสัตว์ เป็นเวลาหลายล้านปี


2.1.2 การสะสมตัวของปิ โตรเลียม ปิ โตรเลียมเมื่อถูกกดอัดจะพยายาม เคลื่อนตัวขึ้นสู่ผิวโลก โดยผ่านช่องว่างระหว่างเม็ด ทรายหรือหินที่มีรูพรุน ปิโตรเลียมจะแทรกตัวขึ้นสู่ ผิวโลกตลอดเวลา เว้นแต่ว่าจะถูกปิดกั้นด้วยชั้นหิน เนื้อแน่น ซึ่งไม่สามารถซึมผ่านไปได้ จะถูกกักเก็บ สะสมอยู่ตรงนั้น นานเข้าก็มีปริมาณมากขึ้น จน กลายเป็นแหล่งกักเก็บขนาดใหญ่ การสะสมตัวของนา ้มันในชั้นทราย


แหล่งสะสมปิโตรเล ี ยมจะเกด ิ ข ึ น้ได ้ ต ้ องมอ ี งคป์ ระกอบสา คัญ 3 ประการ คือ 1. ต ้ องมห ี น ิ ทเ ี่ป็ นหน ิ ต ้ นกา เน ิ ดปิโตรเล ี ยม (Source Rock) ซึ่งเป็นชั้นหินที่เกิดจากการทับ ถมของซากพืชซากสัตว์ คือ หินตะกอน 2. ม ีชั้นห ิ นท ี่เป็ นห ิ นกักเก ็ บปิโตรเล ี ยม (Reservoir Rock) ซึ่งเป็นชั้นหินที่มีรูพรุน ปิโตรเลียมสามารถซึมแทรกเข้าไปได้คล้ายกับฟองน ้าที่ดูดซับน ้าเอาไว้ ได้แก่ หินทราย หินปูน 3. ต ้ องม ีชั้นห ิ นท ี่เป็ นแหล่งกักเก ็ บปิโตรเล ี ยม (Trap) ชั้นหินนี้จะท าหน้าที่เป็นตัวดัก น ้ามันและก๊าซเอาไว้ ท าให้เกิดแหล่งสะสมขนาดใหญ่ขึ้น


แหล่งสะสมปิ โตรเลียม แหล่งสะสมปิ โตรเลียม


คุณสมบัติปิ โตรเลียมในแต่ละแหล่ง อาจแตกต่างกันออกไปตามองค์ประกอบของสาร ไฮโดรคาร์บอนและสิ่งเจือปนอื่น แต่โดยทั่วไปแล้วจะมีสีด าหรือน ้าตาล มีกลิ่นคล้ายน ้ามันส าเร็จรูป บาง แหล่งอาจมีกลิ่นก ามะถันและกลิ่นก๊าซไข่เน่า ความข้นใสของน ้ามันดิบอาจเหลวเหมือนน ้าหรือเหนียว เป็นยางมะตอย นา ้มันดบ ิ ทไี่หลทะลักจากหล ุ มเจาะส ารวจ


เริ่มจากการส ารวจเพื่อดูว่ามีหินต้นก าเนิด มีหินกักเก็บ มีความเป็นไปได้ที่จะเป็นแหล่งสะสม ปิโตรเลียมหรือไม่ โดยเริ่มจากแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศดูบริเวณที่สนใจ ต่อจากนั้นนักธรณีวิทยาจะเดิน เข้าส ารวจโดยละเอียด เก็บตัวอย่างหิน ส ารวจหน้าผา หรือตามหุบเขา เพื่อศึกษาโครงสร้างเนื้อหิน ตลอดจนซากดึกด าบรรพ์ (Fossils) ค านวณอายุและประวัติความเป็นมาของบริเวณนั้น นอกจากนั้นยัง ต้องวัดแนวทิศทางความลาดเทของชั้นหินว่ามีความเหมาะสมที่จะเป็นแหล่งสะสมของปิโตรเลียมหรือไม่ การส ารวจทางธรณีวิทยา


2.4.1 วิธีการส ารวจทางธรณีฟิ สิกส์ 1. วิธีวัดคล ื่นความส่ันสะเทอ ื น (Seismic Survey) คือ ท าให้เกิดการสั่นสะเทือนของพื้นดินโดย การกระแทกหรือจุดระเบิด แรงสั่นสะเทือนจะวิ่งลงไปกระทบชั้นหินที่อยู่ด้านล่างและสะท้อนกลับขึ้นมา เข้าเครื่องรับสัญญาณคลื่นจะบอกถึงความลึกและความหนาของชั้นหินต่าง ๆ ท าให้สามารถเขียนเป็น แผนที่โครงสร้างชั้นหินด้านล่างได้ การเจาะหล ุ มเพอ ื่วางระเบด ิ วัดแรงส่ันสะเทอ ื น


3. วิธีวัดค่าแรงด ึ งด ู ดของโลก (Gravity Survey) วิธีวัดค่าความแตกต่างของแรงดึงดูดของ โลก ที่เป็นผลเนื่องจากความหนาแน่นของชั้นหิน จะท าให้ทราบว่าโครงสร้างของชั้นหินใต้ผิวมีลักษณะ เช่นใด ชั้นหินที่มีความหนาแน่นมากและอยู่ใกล้ผิวโลก ค่าแรงดึงดูดจะสูงกว่า จุดที่อยู่ต ่าลงไป 2. วิธีวัดค่าสนามแม่เหล็ก (Magnetic Survey) ความสามารถในการดูดซึมแม่เหล็กของชั้น หินแต่ละชนิดจะไม่เท่ากัน การวัดค่าสนามแม่เหล็กจะแสดงให้ทราบถึงลักษณะโครงสร้างบนหินรากฐาน


2.4.2 การเจาะส ารวจหาปิ โตรเลียม หลังจากส ารวจด้วยวิธีการต่าง ๆ น ามาวิเคราะห์โดยละเอียดได้โครงสร้างที่น่าจะเป็นแหล่งสะสม ปิโตรเลียมแล้ว การเจาะส ารวจเท่านั้นจึงจะท าให้ทราบแน่ชัดว่ามีปิโตรเลียมหรือไม่ การเจาะแบ่งเป็น 2 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนการเจาะสุ่ม กับ ขั้นตอนการเจาะหาขอบเขตของปิโตรเลียม เมื่อเจาะส ารวจหาขอบเขตปิโตรเลียมแล้ว จากนั้นจะเจาะหลุมทดลองผลิตอย่างน้อย 3 หลุม เพื่อ ศึกษาสภาพการผลิต ค านวณหาปริมาณส ารอง ปริมาณการไหลของปิโตรเลียมมาตรวจสอบคุณภาพ


ปิ โตรเลียม แบ่งตามสถานะทางกายภาพได้ 2 ชนิด คือ มันดิบ (Crude Oil) และก๊าซ ธรรมชาติ (Natural Gases) นา ้มันดบ ิ แบง่เป็ น 3 ฐาน ดังน ี้ 1. น ้ามันด ิ บฐานพาราฟิ น (Paraffin Base) เมื่อน ามากลั่นจะได้น ้ามันแก๊สโซลีนมีค่าออก เทนต ่า แต่จะได้น ้ามันหล่อลื่นคุณภาพดี 2. น ้ามันด ิ บฐานแอสฟัลต ์(Asphalt Base) น ้ามันดิบฐานนี้เมื่อน ามากลั่นจะได้แก๊สโซลีน คุณภาพดีมีค่าออกเทนสูง 3. น ้ามันฐานรวม (Mixed Base)ฐานนี้กากที่เหลือจากการกลั่นจะได้ทั้งแว็กซ์และยางมะ ตอย


น ้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติจากหลุ ม ผลิตจะไหลผ่านลิ้นควบคุม (Christmas Tree) แล้ว ส่งผ่านไปยังโรงแยกก๊าซและสิ่งสกปรกหรือสิ่งที่ไม่ ต้องการออกไป ก๊าซบางส่วนจะถูกใช้เป็นเชื้อเพลิง ไฟฟ้าบนฐานผลิต ก๊าซบางส่วนจะส่งขายให้ โรงไฟฟ้า บางส่วนส่งให้โรงงานอุตสาหกรรม บางส่วนใช้เป็นวัตถุดิบส าหรับอุตสาหกรรมปิโตร เคมี ส่วนน ้ามันดิบจะส่งไปโรงกลั่นเพื่อกลั่นเป็น ผลิตภัณฑ์ส าเร็จรูปต่อไป โ ร ง ก ล่ัน น า ้ มัน


2.7.1 การผลิตปิ โตรเลียม ระบบการผลิตปิโตรเลียมในทะเลแบ่งเป็นระบบต่าง ๆ ดังนี้ 2. ระบบแท่นผล ิ ตใต ้ น ้า (Submerge Production System) ใช้แท่นผลิตใต้น ้าและมีเรือ ควบคุบอยู่ข้างบน การปฏิบัติงานควบคุมจะใช้ระบบอัตโนมัติ 1. ระบบหอคอยท ี่ม ี สายย ึ ดโยง (Gayed Tower Production System) แท่นผลิตแบบนี้มี ลักษณะคล้ายคลึงกับแท่นผลิตบนบกแต่จะเพิ่มสายยึดโยงที่เป็นสายสลิง และมีสมอถ่วงน ้าหนักเพื่อ ป้องกันคลื่นลมในทะเล 3. ระบบแท่นผลิตแบบทุ่นลอย (Caisson Vessel Production System) ใช้แท่นผลิตใต้น ้า แต่ส่วนควบคุมจะเปลี่ยนจากเรือเป็นทุ่นลอยขนาดใหญ่ เพื่อให้สามารถต้านทานคลื่นลมแรงได้


2.7.2 การขนส่งล าเลียงปิ โตรเลียม ระบบการขนส่งปิโตรเลียมแบ่งเป็นระบบใหญ่ ๆ ได้ 4 ประเภท ดังนี้ 1. การขนส่งปิ โตรเลียมผ่านท่อ ล าเลียง (Pipeline) เป็นวิธีที่สะดวกและใช้ส่งถ่าย ปิโตรเลียมปริมาณมาก สามารถเพิ่มแรงขับก๊าซ และน ้ามันดิบให้สามารถส่งระยะไกล ๆ ได้ การวางท่อส่งถ่ายปิ โตรเลียม


2. ระบบการขนส่งทางเรือ (Tanker & Barge) เหมาะกับการขนส่งระยะทางไกลๆ สามารถขนส่งได้ครั้งละมาก ๆ ท าให้ค่าใช้จ่ายถูก ลง 3. การขนส่งล าเลียงทางรถไฟ (Tanker Car) เป็ นวิธีที่สามารถขนส่งได้ครั้งละมาก ๆ เหมาะกับการขนส่งบนบกไประยะทางไกล ๆ เรือขนส่งปิโตรเลียม การขนส่งปิ โตรเลียมทางรถไฟ


4. การขนส่งลา เล ี ยงนา ้มันและก๊าซโดยใช ้ รถบรรท ุ ก (Tanker Truck) เป็นวิธีขนส่งผลิตภัณฑ์ส าเร็จรูปไปสู่ผู้ใช้ สามารถส่งผลิตภัณฑ์ไปยังสถานีบริการในทุกจุดทั่วประเทศ การขนส่งปิ โตรเลียมทางรถบรรทุก


2 เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัว การจับตัว ของอะตอมคาร์บอนเป็นโซ่ยาวด้วยพันธะเดี่ยว เมื่อกลั่นจะได้น ้ามันหล่อลื่นคุณภาพดี มีค่าดัชนีความ หนืดสูง (High VI)แต่จะได้แก๊สโซลีนออกเทนต ่า พาราฟิ นแบ่งตามโครงสร้างเป็น 2 ชนิด คือชนิดห่วงโซ่ ตรงและชนิดห่วงโซ่แยก


(1) ชนิดห่วงโซ่ตรง (Straight Chain หรือ Open Chain) เป็นสารประกอบอิ่มตัว ถ้าเป็นแก๊ส โซลีนค่าออกเทนจะต ่า การจับตัวของอะตอมแบบพันธะเดี่ยว (Single Bond) เช่น Propane (C3 H8 )และ Pentane (C5 H12) 1. พาราฟิ น (ต่อ) C3 H8 (Normal Propane, N–Propane) C5 H12 (N–Pentane)


(2) ชนิดห่วงโซ่แยก (Branched Chain) เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัว การจับตัว อะตอมคาร์บอนเป็นห่วงโซ่ตรงและมีกิ่งแยก เรียกว่า อนุมูลพาราฟิ น (Paraffin Radical) 1. พาราฟิ น (ต่อ) ไอโซออกเทน (Trimethylpentane)


2. แนพธีน เป็นสารประกอบอิ่มตัวมีสูตรโครงสร้าง C n H2n ถ้ากลั่นเป็นแก๊สโซลีนจะมีค่าออก เทนสูง การจับตัวของอะตอมคาร์บอนเป็นวงแหวน มีพันธะเดี่ยว อะตอมคาร์บอนในโมเลกุลเริ่มตั้งแต่ 3 อะตอมขึ้นไป 2.8.1 โครงสร้างโมเลกุลของปิ โตรเลียม (ต่อ) ไซโคลเฮกเซน (C6 H12)


3. อะโรเมติก เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนไม่อิ่มตัว มีโครงสร้างของโมเลกุลหลักเป็น วงแหวน มีสูตรโครงสร้าง C4 H2n–6 สารประกอบไฮโดรคาร์บอนกลุ่มนี้เป็นกลุ่มย่อยของแนพธีน มีชื่อเรียก อีกชื่อหนึ่งคือ กลุ่มเบนซิน (Benzine Family) มีอะตอมคาร์บอนจับตัวเป็นวงแหวน 6 ตัว เสมอ มีพันธะ จับตัวเป็นพันธะคู่ อยู่ 3 คู่ 2.8.1 โครงสร้างโมเลกุลของปิ โตรเลียม (ต่อ) เบนซีน (C6 H6 ) เมทิลเบนซีน (C7 H8 ) แอลฟาเมทิลแนพธาลีน


2.8.1 โครงสร้างโมเลกุลของปิ โตรเลียม (ต่อ) 4. โอเลฟิ นส์เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่ได้จากกรรมวิธีการกลั่นไม่มีในธรรมชาติ เป็น สารประกอบไม่อิ่มตัว การจับตัวอะตอมเป็นพันธะคู่ โครงสร้างนี้แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ (1) โมโนโอเลฟิ นส์(Mono Olefins) โครงสร้างอะตอมเป็นแบบห่วงโซ่อะตอมคาร์บอนมีพันธะ คู่ 1 คู่ นอกจากนั้นเป็นพันธะเดี่ยว สูตรโมเลกุล คือ C n H2n เป็นสารประกอบไม่อิ่มตัวอีกชื่อหนึ่ง คือ แอ ลคีน (Alkenes) อีทีนหรือเอทิลลีน (C2 H4 )


(2) ไดโอเลฟิ นส์(Diolefins) อะตอมคาร์บอนจับกันแบบพันธะคู่อยู่ 2 คู่ การคงตัวน้อยกว่า พาราฟิ น ไม่เหมาะที่จะกลั่นแก๊สโซลีน ส่วนมากจะน าไปผลิตเป็นยางสังเคราะห์และพลาสติก สูตร โครงสร้าง คือ C n H2n–2 อะตอมคาร์บอนจับกันแบบห่วงโซ่ 4. โอเลฟิ นส์(ต่อ) บิวทาไดอีน (C4 H6 )


Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.