หนังสืออนุสรณ์_คณะแพทย์ Flipbook PDF


30 downloads 109 Views 10MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

บรรณาธิการแถลง

รองศาสตราจารย (พิเศษ) นายแพทยเอกชัย โควาวิสารัช ประธานอนุกรรมการจัดทําหนังสืออนุสรณ ๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ๒๕๖๕

นักษัตร เปนชื่อของรอบเวลา ซึ่งกําหนดโดยใชสัตวเปนเครื่องหมายในปนั้น ๆ ปแรกคือ ปชวด มีหนูเปน เครื่องหมาย และปสุดทายคือ ปกุน มีหมูเปนเครื่องหมาย ปนักษัตรเปนปตามปฏิทินสุริยคติไทย และชาติอื่น ๆ ใน ตะวันออก เชน จีน เวียดนาม เปนตน กําหนด ๑๒ ป เปน ๑ รอบ เรียก ๑๒ นักษัตร ในอดีตมักมีการเฉลิมฉลอง เมื่อเจานายหรือขาราชการชั้นผูใหญ มีอายุครบ ๖ รอบนักษัตร ในป พ.ศ. ๒๕๖๕ คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม มีอายุครบ ๑ รอบนักษัตร นับวาเปนโอกาส อันเปนมงคล จึงเปนที่มาของหนังสืออนุสรณ ๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม เพื่อเปนสวนหนึ่ง ของการเฉลิมฉลอง และสื่อสารใหบุคคลตาง ๆ ทั้งในและนอกคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม หนังสืออนุสรณเลมนี้ ประกอบไปดวย สารแสดงความยินดีของบุคคลสําคัญตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับคณะ แพทยศาสตร ประวัติความเปนมาของคณะแพทยศาสตร การดําเนินกิจกรรมทั้ง ภายในและภายนอกคณะ แพทยศาสตร ผลงานที่โดดเดน ของบัณฑิตแพทย และนักศึกษาแพทยทั้งทางดานวิชาการ และบริการสังคม นอกจากนี้ยัง มีบทความพิเศษตาง ๆ จากผูทรงคุณวุฒิ ผมในนามของคณะผูจัดทําขอกราบขอบพระคุณทาน ผูเขียนทุกทานเปนอยางยิ่ง ในการจัดทําหนังสืออนุสรณ ๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยามเลมนี้ ไดรับความรวมมือเปน อยางดีจากบุคลากรทั้ง ภายในและภายนอกคณะแพทยศาสตร และที่สําคัญ ที่สุดหนัง สืออนุสรณฯ เลมนี้จะ เกิดขึ้นไมไดเลย หากผมไมไดรับความรวมมือรวมใจอยางแข็งขันของทุกคนในคณะอนุกรรมการจัดทําหนังสือ อนุสรณ ๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ผมขอกราบขอบพระคุณทุกทานมา ณ ที่นี้ ดวยใจจริง ความดีความงามอันเกิดจากหนังสืออนุสรณเลมนี้ ขอจงดลบันดาลใหคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม แหงนี้จงเจริญงอกงาม มีอายุยืนนานสืบตอไปอีกหลาย ๆ รอบนักษัตร เพื่อสรางประโยชนใหแกประเทศชาติและ ประชาชนชาวไทยสืบไป

สารแสดงความยินดี ครบรอบ ๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม นายแพทยเกียรติภูมิ วงศรจิต ปลัดกระทรวงสาธารณสุข

...................................................................................... ๑

ศาสตราจารยเกียรติคณ ุ แพทยหญิงสมศรี เผาสวัสดิ์ นายกแพทยสภา ..................................................................................................... ๒ ดร.พรชัย มงคลวนิช อธิการบดีมหาวิทยาลัยสยาม

................................................................................. ๓

ศาสตราจารยเกียรติคณ ุ นายแพทยอมร ลีลารัศมี รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยสยาม ........................................................................... ๔ - ๙ ศาสตราจารยคลินกิ นายแพทยสุวัฒน เบญจพลพิทักษ คณบดีคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ....................................................... ๑๐ นายแพทยศักดา อัลภาชน ผูอํานวยการโรงพยาบาลพระนั่งเกลา

.................................................................... ๑๑

นายแพทยสรุ ชัย แกวหิรญ ั ผูอํานวยการโรงพยาบาลกําแพงเพชร

.................................................................... ๑๒

แพทยหญิงสิริรตั น ลิมกุล ผูอํานวยการศูนยแพทยศาสตรชั้นคลินิก โรงพยาบาลพระนั่งเกลา

.............................. ๑๓

แพทยหญิงชินานาฏ พวงสายใจ ผูอํานวยการศูนยแพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลกําแพงเพชร

.................... ๑๔

บทความพิเศษ คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ประวัติความเปนมาของคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม รองศาสตราจารย ดร.เสาวณีย รัตนพานี รองคณบดี อาจารยสดุ จิตร เมืองเกษม ผูชว ยคณบดีฝายนโยบายและแผน

...................... ๑๕ – ๒๒

หลักสูตรนั้นสําคัญไฉน ศาสตราจารยกิตติคุณ นายแพทยเฉลิม วราวิทย ที่ปรึกษาคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม .................................................... ๒๓ – ๓๐ หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาแพทยศาสตร ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕ คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม รองศาสตราจารย (พิเศษ) นายแพทยเอกชัย โควาวิสารัช บรรณาธิการ ............. ๓๑ – ๔๓ เทคนิคการเรียนในชั้นคลินิก ศาสตราจารยคลินิก นายแพทยสุวัฒน เบญจพลพิทักษ คณบดีคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ........................................................ ๔๔ - ๕๐ การจัดการเรียนการสอนในชั้นคลินิกของคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ในโรงพยาบาลพระนั่งเกลา จากอดีตถึงปจจุบัน แพทยหญิงสิริรตั น ลิมกุล ผูอํานวยการศูนยแพทยศาสตรชั้นคลินิก โรงพยาบาลพระนั่งเกลา ........................... ๕๑ – ๕๓ เรียนใหเปน (หมอ) ผูชวยศาสตราจารย ดร.อภิชัย ชูปรีชา

สาขาสรีรวิทยา

................................... ๕๔ – ๕๖

เพชรเจียระไน จากคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม อาจารย ดร.ณัฏฐพล ศุภกมลเสนีย สาขาสรีรวิทยา อาจารย ดร.ธิดารัตน เนติกลุ สาขาจุลชีววิทยาและปรสิตวิทยา

...................... ๕๗ – ๖๗

ความในใจของศิษยเกาคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม นายแพทยปริรตั น ภพลือชัย .................................................................................. ๖๘ – ๖๙ นายแพทยปริย ตะวิชัย .......................................................................................... ๗๐ แพทยหญิงกชพร ไวทยกุล ..................................................................................... ๗๑ – ๗๒ ความในใจของนักศึกษาแพทย ป ๖ คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม นักศึกษาแพทยศุภณัฐ งามเสงี่ยม ........................................................................ ๗๓ นักศึกษาแพทยณัฐดิษฐ เจียนจิตเลิศ ................................................................... ๗๔

ความในใจของนายกสโมสรนักศึกษาคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม นักศึกษาแพทยจตุรวิทย จันทะบุตร ..................................................................... ๗๕ เรียนรูอดีตแลวคิดพัฒนาปจจุบัน เพื่อมุงมั่นสูอนาคต ศาสตราจารยกิตติคุณ นายแพทยเฉลิม วราวิทย ที่ปรึกษาคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม .................................................... ๗๖ – ๘๔ ความสําคัญของการใชรางอาจารยใหญในวงการแพทย (Role of body donors in medical fields) ศาสตราจารย นายแพทยธนั วา ตันสถิต ที่ปรึกษาคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม .................................................... ๘๕ – ๘๗ COVID-19 กับการเปลีย่ นแปลงของวงการสาธารณสุขไทย ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยอมร ลีลารัศมี รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยสยาม ......................................................................... ๘๘ – ๑๐๗ เลาดวยภาพ ๑๒ ป แหงความทรงจํา

............................................................................. ๑๐๘ – ๑๘๖

รายนามคณะอนุกรรมการจัดทําหนังสืออนุสรณ ครบรอบ ๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ............................................................................. ๑๘๗

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

สารจากปลัดกระทรวงสาธารณสุข

นายแพทยเกียรติภูมิ วงศรจิต ปลัดกระทรวงสาธารณสุข

ผมขอแสดงความชื่นชมยินดี เนื่องในโอกาสคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ครบรอบ ๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ซึ่ง เกิดจากกลุมแพทยที่มีประสบการณสูง ทั้งดานการเรียนการสอน ในโรงเรียนแพทยชั้นนําของประเทศ และประสบความสําเร็จอยางสูงในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม ที่ตระหนัก ถึง ปญหาการขาดแคลนแพทยทั้ง ในภาครัฐและเอกชน โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อประเทศไทยเขาสูประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน ซึ่ง จะมีการเคลื่อนยายผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมอยางไรพรมแดน จึง ไดรวมกันขอเปด ดําเนินการหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตตอสภามหาวิทยาลัยสยาม เพื่อมุงผลิตบัณฑิตแพทยใหเปนผูมีปญญา มีความรู มีทักษะและเจตคติที่ดีตอการใหบริการสุขภาพแบบองครวม รองรับและเตรียมพรอมการเปลี่ยนแปลง ที่จะเกิดขึ้น แพทยเปนหัวใจสําคัญของระบบสุขภาพ มีบทบาทสําคัญอยางยิ่งในการใหบริการสุขภาพ ไมวาจะเปน การสง เสริมสุขภาพ การควบคุมปองกัน โรค การตรวจวินิจฉัยเพื่อรักษา การฟนฟูสุขภาพ ตลอดจนการให คําปรึกษาแนะนําดานการแพทยและสาธารณสุข ในการผลิตแพทย จึงจําเปนตองมีการพัฒนาองคความรูและ กาวทันเทคโนโลยีทางการแพทยตาง ๆ เพื่อใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจ สัง คม และสถานการณ ความกาวหนาของโรคในภาวะปจจุบัน ผมหวังเปนอยางยิ่งวา ดวยความรูความสามารถ และความสมัครสมาน สามัคคีของคณะกรรมการบริหารคณะแพทยศาสตรทุกทาน จะชวยเสริมสรางทักษะและพัฒนามาตรฐานการ เรียนการสอนหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตใหมีประสิทธิภาพ เพื่อเปาหมายในการผลิตบัณฑิตแพทยที่มีคุณภาพ สูสังคมไทย ในโอกาสนี ้ ผมขออาราธนาคุ ณ พระศรี ร ั ต นตรั ย และสิ ่ ง ศั ก ดิ ์ ส ิ ท ธิ ์ ท ั ้ ง หลายที ่ ท  า นเคารพนั บ ถื อ โปรดดลบันดาลประทานพรใหคณะกรรมการบริหารคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม และผูเกี่ยวของ ทุกทาน ประสบความสุข ความเจริญ มีกําลังกาย กําลัง ใจ กําลัง สติปญ ญาที่เขมแข็ง เพื่อรวมกันขับเคลื่อน การแพทยและการสาธารณสุขไทยใหมีความเจริญยิ่งขึ้นสืบไป



๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

สารจากนายกแพทยสภา

ศาสตราจารยเกียรติคุณ แพทยหญิงสมศรี เผาสวัสดิ์ นายกแพทยสภา (วาระ พ.ศ. ๒๕๖๒-๒๕๖๓, ๒๕๖๔-๒๕๖๕)

ในนามของแพทยสภา ขอแสดงความยิ นดีกั บทานคณบดี คณะแพทยศาสตร มหาวิ ทยาลั ยสยาม ทานปจจุบัน ศาสตราจารยคลิน ิกนายแพทยสุวัฒ น เบญจพลพิทักษ ที่ดําเนินการตอเนื่องเรื่องการศึกษา แพทยศาสตรของคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม มาไดอยางมีมาตรฐานอยางตอเนื่องจนถึงปจจุบัน นับ ได ๑๒ ป ในฐานะสวนตัวกอนจะมารับตําแหนงนายกแพทยสภา ไดมีโอกาสรับรูและรับทราบเรื่องการดําเนินการ กอตั้งคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม และเคยไดรับเชิญมาเปนประธานคณะกรรมการหลักสูตรการศึกษา แพทยศาสตรของมหาวิทยาลัยสยาม เปนกรรมการมูลนิธิมหาวิทยาลัยสยาม และรวมดําเนินการจัดหาอาจารยผู มีประสบการณจากแพทยสมาคมแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ มาสอนในวิชาเวชจริยศาสตรใหกับ นักศึกษาแพทยชั้นปที่ ๒ ในระยะเริ่มตน เนื่องจากแพทยสมาคมฯ มีโครงการแนะแนวนักศึกษาแพทยและแพทย ประจําบานในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมมาตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๔๗ ซึ่ง มีอาจารยผูมีประสบการณและเปน ผูทรงคุณวุฒิอยูหลายทานมารวมเปนวิทยากร เมื่อมาอยูในฐานะนายกแพทยสภา ไดมีโอกาสเห็นความกาวหนาและพัฒนาการของคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม มาโดยตลอด ในโอกาสที่คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม มีการกอตั้งมาครบ ๑๒ ป ขอแสดงความชื่นชมยินดีและหวังเปนอยางยิ่งวา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม จะเปนคณะแพทยที่มี ความเจริญรุง เรืองและมีพัฒ นาการที่กาวหนาทั้งดานคุณภาพและมาตรฐานยิ่ง ๆ ขึ้นไป ชวยผลิตบุคลากร ทางการแพทยที่มีคุณภาพ มาชวยดูแลสุขภาพของประชาชนชาวไทยใหมีชีวิตที่ดีตลอดไป



๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

สารจากอธิการบดีมหาวิทยาลัยสยาม

ดร.พรชัย มงคลวนิช อธิการบดีมหาวิทยาลัยสยาม

“คณะแพทยศาสตร” เปน อีกหนึ่ง ในความภาคภูมิใจของมหาวิทยาลัยสยามในการสรางแพทยที่ดี มีคุณภาพใหแกสังคม ซึ่งถือเปนการเดินตามรอยเบื้องพระยุคลบาท สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ในการจัดการศึกษาเพื่อสรางแพทยที่มีคุณภาพเพื่อประโยชนของเพื่อนมนุษย ใชการเรียนการ สอนที่มุงเนนการปฏิบัติและการประยุกตความรู โดยจัดการเรียนการสอนในชั้นปรีคลินิกที่มหาวิทยาลัยสยาม และในชั้นคลินิกที่โรงพยาบาลพระนั่งเกลา จังหวัดนนทบุรี มหาวิทยาลัยสยามเปนมหาวิทยาลัยเอกชนแหงที่ ๒ ที่ไดรับอนุญาตจากแพทยสภาใหจัดการศึกษาดังกลาว และเปนการอนุญาตครั้งแรกในรอบ ๒๐ ป การเริ่มตนของคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ไดฝาฟนอุปสรรคนานัปการ แตเมื่อไดทราบวา นักศึกษาแพทยรุนแรกจากมหาวิทยาลัยสยามสอบใบประกอบวิชาชีพแพทยไทย (NLE) ไดถึงรอยละ ๙๕.๒๔ และมีจํานวน ๔ คนที่อยูใน Percentile ที่ ๘๐-๑๐๐ เมื่อเทียบกับคณะแพทยศาสตร ทุกแหงของประเทศ ความ เหนื่อยดังกลาวก็เปลี่ยนเปนความปติ ซึ่งตองขอบคุณทานคณบดีผูกอตั้ง ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยอมร ลีลารัศมี พร อมดว ยคณาจารยและนักศึ กษารุน แรกทุ กคนที ่ไ ด สรา งชื่อ เสีย งและความเชื่อ มั่น ใหก ับคณะ แพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ภายใตการนําของ ศาสตราจารยคลินิก นายแพทย สุวัฒน เบญจพลพิทักษ คณบดีคณะแพทยศาสตร ทานปจจุบัน ไดนําคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ผานการประเมินในระบบ EdPEx และการประเมิน รับรองสถาบันและหลักสูตรตามมาตรฐานสากล TWC.WFME.BME Standard (2021) โดยมีระยะเวลาการ รับรองจนถึงวันที่ ๒๙ กุมภาพันธ ๒๕๗๑ ซึ่ง นับวาเปนมหาวิทยาลัยเอกชนเพียง ๒ แหง ที่ไ ดรับสถานภาพ ดังกลาว พรอมกันนี้ Multirank ไดจัดอันดับเปน ๑ ใน ๒๕ ของคณะแพทยศาสตรที่มีการดําเนินการดีเดนระดับ นานาชาติ ดานการวัดและประเมินผล ประจําป ๒๐๒๑ จึงนับวาพลังแหงความสามัคคีของทุกคนทุกฝาย รวมทั้งโรงพยาบาลธนบุรีที่ไดใหการสนับสนุนมูลนิธิ คณะแพทยศาสตรอยางตอเนื่องตั้งแตแรกกอตั้ง สงเสริมใหประเทศไทยไดมีแหลงศึกษาดานแพทยศาสตรที่มี คุณภาพและพรอมที่จะพัฒนาและสรางเครือขายของการศึกษา การวิจัยและนวัตกรรมสูระดับนานาชาติตาม ยุทธศาสตร Re-inventing ของมหาวิทยาลัยสยาม ในโอกาสที่สําคัญนี้ จึงขออวยพรใหคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ไดสถิตสถาพรและสามารถ ผลิตแพทยที่มีคุณภาพ เพื่อรับใชสังคมตามเจตนารมณของการกอตั้งสืบตอไป ๓

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

สารจากรองอธิการบดีมหาวิทยาลัยสยาม ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยอมร ลีลารัศมี รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยสยาม กรรมการแพทยสภา อดีตคณบดี คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ในวาระเฉลิมฉลองครบรอบ ๑๒ ปของการจัดตั้งคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม หากทานใดได ทราบเรื่องราวในอดีตที่ผานมาตั้งแตเริ่มจัดตั้งคณะแพทยศาสตร การขอเปดหลักสูตรรับนักศึกษาแพทยรุนแรกที่ กวาจะสําเร็จไดก็ใชเวลานานอยางนอยถึง ๓ ปหลัง กอตั้ง คณะแพทยศาสตรใน มหาวิทยาลัยสยามไดแลว รวมทั้งการเกิดเหตุการณที่เปนอุปสรรคสําคัญในดานความยั่งยืนของการดําเนินงานของคณะแพทยศาสตรใน ระยะเวลาที่ขาพเจาเปนคณบดี ก็จะเห็นวา เราฟนฝาผานวิกฤติสําคัญถึง ๓ เรื่อง ไดแก เรื่องการใหแพทยสภา รับรองหลักสูตรและสถาบันผลิตแพทย อนุมัติใหเปดรับนักศึกษาได และเรื่องความยั่งยืนในการดําเนินการอยาง ต อ เนื ่ อ งของคณะแพทยศาสตร การทราบเหตุ ก ารณ ท ั ้ ง ๓ เรื ่ อ งนี ้ จะทํ า ให ว าระที ่ ค ณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ดําเนินการมาไดครบ ๑๒ ป เปนเรื่องที่นาจะแสดงความยินดีจริง ๆ จึงขอเลาเรื่องยอนหลังใน การฟนฝาแกไขเหตุการณสําคัญทั้ง ๓ เรื่องนี้ มาใหทราบกอนจะแสดงความยินดี ขอเริ่มตนจากจุดที่ผมรับปากเขามาเปนคณบดี คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม เริ่มจากวัน หนึ่งอาจารยทานหนึ่งที่เคยทํางานรวมกันกับขาพเจามานานมาก ไดขอนัดพบและขอคุยกันในเรื่องที่สําคัญ ที่ลานหนาศาลาศิริราช ๑๐๐ ป ขางศาลาพระราชานุสาวรีย สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรม ราชชนก ทานบอกขาพเจาวา “ใหผมชวยทําอะไรใหทานอยางหนึ่งคือ ใหมาเปนคณบดี คณะแพทยศาสตร ให ดวย” ขาพเจาตอบทานไปวา “อาจารยมาเปนเองซิ แลวผมจะชวยอยูเบื้องหลังให” อาจารยก็ตอบวา “งานผม เต็มตัวหมดแลว ไมสามารถมาทําได ใหอาจารยใชตําแหนง ศ. ๑๑ และความเปนที่ยอมรับในแวดวงวิชาการเขา มาชวย ทําใหหลักสูตรและสถาบันผลิตแพทยเปนที่ยอมรับของคณะกรรมการจากแพทยสภาสักที เรื่องนี้คางอยู นานมากแลว ....... (แลวทานยังพูดอะไรตอไปอีก).........” ผมก็ยังงงนิด ๆ วา ทําไมแพทยสภาจึงยังไมอนุมัติ หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ทั้ง ๆ คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยามใชตนแบบหลักสูตรมาจากคณะ แพทยศาสตรศิริราช แตดวยความนับถืออาจารยทานนั้นขาพเจาจึงรับปากทานไป แลวตอมามหาวิทยาลัยสยาม ก็มาทาบทามและแตงตั้งใหขาพเจาในตําแหนงรักษาการคณบดีไปกอน (แตทํางานเทียบเทาคณบดี) เมื่อขาพเจา รับปากแลว ตอมาไมนาน มีการประชุมของผูบริหารของมหาวิทยาลัยสยาม กับคณะกรรมการแพทยสภา ๕ ทาน ในการอนุมัติหลักสูตรของคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม เนื่องจากขาพเจาเพิ่งรับปากจะมาเปนคณบดี จึงไมไดไปพบคณะกรรมการของแพทยสภาในการประชุมครั้งนั้น ขาพเจามาทราบในภายหลังวาในการประชุม ครั้งนั้น กรรมการจากแพทยสภาก็ยังไมใหหลักสูตรของ มหาวิทยาลัยสยามผานอีก จึงไดมีการนัดการประชุมอีก ๔

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ครั้งซึ่งจะใหขาพเจาไปพบกับคณะกรรมการ ๕ ทานของแพทยสภาใหได ในการประชุมครั้งนี้ ขาพเจาจึงไปแสดง ตัวและคณะกรรมการขอใหขาพเจามี commitment ที่จะนําคณะแพทยไปตอใหไดแมจะมีอุปสรรค (ที่มองไม เห็น) มากมายสําหรับคณะแพทยที่เปดใหม กอนจะเริ่มประชุมครั้งนี้สัก ๕ นาที ในขณะที่ขาพเจากําลังจะจอด รถอยูขางลางของตึกสํานักงานปลัดกระทรวงเพื่อขึ้นไปที่สํานักงานแพทยสภาชั้น ๗ กรรมการทานหนึ่งโทรมา หาและถามวา “ขาพเจาจะมาเปนคณบดีแนหรือไม? และจะมาพบกับกรรมการไหม?” พรอมกับยํ้าวา “พี่ตอง มาพบนะ หลักสูตรจึงจะผานได” ขาพเจาจึงพอจะเขาใจไดวา กสพท. และแพทยสภาตองการคณบดีแบบใด อยากจะฝากเรื่องอะไรบางอยางในการพัฒ นาหลักสูตร และบัง เอิญกรรมการ ๕ ทานของแพทยสภาที่มาดู หลักสูตรของมหาวิทยาลัยสยาม ก็เปนกรรมการที่รูจักขาพเจาดีมากอยูแลวทั้งนั้น มี ๒ ทานที่เคยทํางานดวยกัน มานานตั้งแตสมัยที่ขาพเจาเปน กรรมการและนายกสมาคมโรคติดเชื้อแหงประเทศไทย (ขาพเจาเปนนายก สมาคมนี้นานมากที่สุด อยูถึง ๔ วาระ) กรรมการที่เหลือบางทานก็เปนเพื่อนรุนเดียวกับขาพเจาตอนเขาเรียน แพทย ท ี่ จ ุฬ า กรรมการจากแพทยสภาทุ กท านทราบดีว  าข าพเจ า เคยมาทํ างานช วยแพทยสภาโดยไม ค ิ ด ค า ตอบแทนมาก อ นด ว ย การที ่ ข  า พเจ า มาประชุ ม ด ว ยตนเองและชี ้ แ จงหลั ก สู ต รในการประชุ ม ครั ้ ง นี ้ คณะกรรมการจึงใหผานพรอมกับใหคําแนะนําอีกมากมาย (ที่สําคัญใหแกไขระบบการเรียนเปน system-based approach ที่ทันสมัยกวา) ซึ่ง ศ.กิตติคุณ นพ.เฉลิม วราวิทย ไดนํามาปรับหลักสูตรและเรงใหเปดหลักสูตรรับ นักศึกษาแพทยปที่ ๑ ในป พ.ศ. ๒๕๕๖ เลย สวนคําถามในใจของขาพเจาที่อยากจะรูคําตอบมากเลยใน ขณะนั้น คือวา นักศึกษาแพทยที่มาเรียนที่ มหาวิทยาลัยสยาม จะเรียนจนจบและสอบไดใบประกอบวิชาชีพ เวชกรรมในสัดสวนมากเหมือนของคณะแพทยเกาแกหรือไม? ซึ่งขาพเจาตองใชเวลานานถึง ๖ ปตามที่กําหนด ไวในหลักสูตรในการติดตามหาคําตอบในเรื่องนี้ ขณะนี้ปญหาวิกฤติในเรื่องแรกคือ การใหแพทยสภารับรอง หลักสูตรและสถาบันผลิตแพทย และใหเปดรับนักศึกษาได ก็แกไขไดสําเร็จและผานไปแลว ในหลักสูตรแพทยศาสตรนั้น สวนประกอบที่สําคัญที่สุดคือสถาบันผลิตแพทยทางคลินิก ซึ่งตอนแรก ไดโ รงพยาบาลตํ ารวจมาเปน สถาบั น ฝก สอนทางคลิน ิก และได รั บความร วมมื ออย างเต็ม ที ่แ ละดี มากจาก นายแพทยใหญ (สบ ๘) พลตํารวจโทนายแพทยจงเจตน อาวเจนพงษ (ยศในขณะนั้น) รวมถึงการทํา early clinical exposure และการสอนแบบ system-based approach ซึ่งเราวางแผนใหอาจารยแพทยทางคลินิก ของโรงพยาบาลตํารวจมารวมสอนดวยตั้งแตในปที่ ๑ ทําใหเรายายสํานักงานไปตั้งในโรงพยาบาลตํารวจ เพื่อ จัดทําตึกเรียนในชั้นปรีคลินิกในโรงพยาบาลตํารวจเลย แตขาพเจาก็รับรูถึงความไมแนนอนของโรงพยาบาล ตํา รวจที่ จะมาเปน สถาบั น หลักให เรี ยนในชั้น คลิ นิ กจนกว าจะถึ ง เวลาที่ นัก ศึก ษาแพทยจ ะมาเรียนจริ ง ๆ โดยเฉพาะในปที่ ๔-๕ และ ๖ เมื่อพลตํารวจโทนายแพทยจงเจตน อาวเจนพงษ หมดวาระนายแพทยใหญ นายแพทยใหญทานตอมายังยืนยันวา จะสอนใหในชั้นคลินิกเทานั้น ในที่สุดขาพเจาไดตัดสินใจทําจดหมายให นายแพทยใหญทานใหมยืนยันการเปนสถาบันผลิตแพทยให มหาวิทยาลัยสยาม ซึ่งตอมา กรมตํารวจไดตอบ กลับมาในวันที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘ และแจงในที่ประชุมแพทยสภาวา โรงพยาบาลตํารวจไมมีอํานาจที่ จะรับนักศึกษาแพทยจาก มหาวิทยาลัยสยาม มาเรียนทางปรีคลินิกและคลินิกได (แจงใหทราบเปนทางการในป พ.ศ. ๒๕๕๙ ทําใหแพทยสภาตองสั่งให มหาวิทยาลัยสยาม งดรับนักศึกษาแพทยชั่วคราว หากไมสามารถแกไข ปญหานี้ใหสําเร็จลงดวยดี คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ก็จะมีนักศึกษาแพทยเพียง ๓ รุนที่รับมาเรียน ๕

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

แลว และจะตองกระจายนักศึกษาแพทยไปเรียนตอทางคลินิกที่คณะแพทยศาสตรอื่น ๆ สวนคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยามก็ตองปดตัวเองไป กลายเปนเรื่องวิกฤติเรื่องที่ ๒ ที่ตองรีบแกไข ทามกลางความเรงรีบในการแกไขปญหาในการหาโรงพยาบาลใหนักศึกษาแพทยปที่ ๓ ไดเรียนตอใน ชั้นคลินิก แมขาพเจานําเรื่องนี้เขาหารือขอความชวยเหลือในการประชุม กสพท. ในวันถัดมาก็ยังไมไดรับคําตอบ ในการแกไขปญหา ทุกฝายทั้ง กสพท. แพทยสภา ทบวงมหาวิทยาลัย และผูปกครอง ไดเขามาชวยขาพเจาใน แกไขปญหาเรงดวนนี้เพราะนักศึกษาแพทยกําลังจะขึ้นเรียนชั้นคลินิกในอีก ๖ เดือนขางหนา ขาพเจาตอง ประชุมกับผูปกครองในวันเสารหลายครั้ง ปรึกษากับกรรมการแพทยสภา กสพท. ทบวงมหาวิทยาลัย คณบดี ทานอื่น ๆ เพื่อเรงรีบหาทางออกที่เหมาะสมที่สุด แตก็ยังไมไดคําตอบที่เหมาะสม ทามกลางความสับสนและ ข า วลื อ ที ่ อ าจจะต อ งป ด คณะแพทยศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย สยาม นั ก ศึ ก ษาแพทย บ างรายก็ ร ี บ ออกจาก มหาวิทยาลัยสยาม ไปเรียนตอที่อื่นบาง ในที่สุดขาพเจาไดอาศัยความสัมพันธสวนตัวกับหลายฝาย รวมทั้ง ศ.พญ.สมศรี เผาสวัสดิ์ และศ.ดร.นพ.ประสิทธิ์ วัฒนาภา ที่บังเอิญเราทั้งสามทานไดมาพบกันในบายวันเสารที่ตึก ๗๒ ปในโรงพยาบาลศิริราช เพื่อมาเยี่ยมผูปวย VIP ทานหนึ่ง ขาพเจาจึงไดคุยถึงทางเลือกทางหนึ่งที่เราคิดวา เหมาะสมที่สุด และวิธีการที่จะทําให กสพท. และแพทยสภา ยอมรับใหโรงพยาบาลพระนั่งเกลาเปนโรงพยาบาล ฝกสอนทางคลินิกแทนโรงพยาบาลตํารวจ เริ่มจาก นพ.วิรุฬห พรพัฒนกุล ผูอํานวยการ รพ.พระนั่งเกลา ในขณะ นั้นไดเห็นชอบดวยแลวทั้งโดยสวนตัวและผานการลงมติจากองคกรแพทยของโรงพยาบาล ศ.ดร.นพ.ประสิทธิ์ วัฒ นาภา ไดตอบตกลงที่จะสง รองคณบดีไปชวยประเมินศักยภาพของโรงพยาบาลพระนั่ง เกลาอยางไมเปน ทางการใหกอน ที่จริงคณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาลไดสงนักศึกษาแพทยปที่ ๖ ไปหมุนเวียนที่โรงพยาบาล พระนั่งเกลาอยูนานหลายปแลว เมื่อทีมรองคณบดีฝายการศึกษาไปประเมินก็พบวา โรงพยาบาลพระนั่งเกลามี ศักยภาพที่จะรับนักศึกษาแพทยไดทั้งชั้นในโรงพยาบาลเดียวแลวในตนเดือนธันวาคม ๒๕๕๘ ฟาประทานให การแกไขปญหาทั้งหมดนี้จบลงอยางเบ็ดเสร็จในการประชุมที่โรงพยาบาลจุฬาภรณ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ ซึ่งมี กรรมการจาก กสพท. แพทยสภา คณบดีคณะแพทยศาสตรตาง ๆ และปลัดกระทรวงสาธารณสุขในขณะนั้น นายแพทยโสภณ เมฆธน มารวมประชุมในเรื่องสําคัญเรื่องอื่น แตบังเอิญมีเวลาวางนานพอ ศ.นพ.อาวุธ ศรีศุกรี เลขาธิการ กสพท. จึงไดชวนคณบดี กรรมการแพทยสภา มาคุยถึงการแกไขปญหาของ ม.สยาม ดวย (ตอนเย็น ศ.นพ.อาวุธ ศรีศ ุกรี มาบอกกับขาพเจา เป นการสว นตัว วา วัน นี้พ วกเรามาคุย กันถึง การแกไ ขปญ หาของ มหาวิทยาลัยสยามทั้งนั้นเลย และคณบดีคณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาลก็ไ ดเลาเรื่องที่สง รองคณบดีไ ป ประเมินศักยภาพมาใหทราบดวย) ในวันเวลาและในสถานที่เดียวกัน ขาพเจาไดพบนายแพทยโสภณ เมฆธน ปลัดกระทรวงสาธารณสุขและเรียนถามเรื่องการขอใชโรงพยาบาลพระนั่งเกลาเปนโรงพยาบาลฝกสอนทาง คลินิกดวย ทานปลัดกระทรวงสาธารณสุขเห็นชอบเรื่องการใหโรงพยาบาลพระนั่งเกลามาเปนสถาบันผลิตแพทย ใหมหาวิทยาลัยสยามดวย แลวในการประชุมแพทยสภาครั้งตอไปในเดือนธันวาคม ขาพเจาก็นําเสนอทางเลือก ๓ วิธีซึ่งรวมวิธีการใชโรงพยาบาล พระนั่งเกลามาแทนโรงพยาบาลตํารวจดวย การประชุมของแพทยสภาครั้งนี้ กรรมการแพทยสภาไดถามคณบดีจากคณะแพทยศาสตรตาง ๆ เชน ศิริราช จุฬา รามาธิบดี ธรรมศาสตร และ ผูแทนผูอํานวยการ รพ.พระมงกุฎเกลาฯ วาจะใหการรับรองและยืนยันวา จะชวยใหโรงพยาบาลพระนั่งเกลาเปน สถาบันหลักในการเรียนทางคลินิกไดไหม ซึ่งมีคณบดีและผูแทนคณบดีจํานวน ๕ คณะ ใหการรับรองและยินดี ชวยเหลือใหโรงพยาบาลพระนั่งเกลาเปนสถาบันการเรียนการสอนทางคลินิกใหมหาวิทยาลัยสยามตอไป ทั้งนี้ ๖

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

คณบดี คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาลคือ ศ.ดร.นพ.ประสิทธิ์ วัฒนาภา ไดมารวมประชุมดวยตนเอง แลว ทานปลัดกระทรวง นพ.โสภณ เมฆธน ก็ไดมาเขาประชุมแพทยสภาดวยตนเองเชนกัน และยืนยันใหการรับรอง การมอบใหโรงพยาบาลพระนั่งเกลาเปนสถาบันผลิตแพทยใหมหาวิทยาลัยสยาม กรรมการแพทยสภาจึงไดลงมติ เปนเอกฉันทเห็นชอบดวยกับการใหโรงพยาบาลพระนั่งเกลาเปนสถาบันผลิตแพทยใหมหาวิทยาลัยสยาม ทําให เราสามารถแกไขปญหาที่ยากยิ่งไดภายใน ๑ เดือนในดานความยั่งยืนของคณะแพทยที่จะดําเนินการตอไปได ทั้ง ๆ ที่บุคคลภายนอกมองวา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยามนาจะไปไมรอดและนักศึกษาเองตองแยก ออกไปเปนกลุมเล็ก ๆ ในสถาบันตาง ๆ ขาพเจาตองนําเสนอความกาวหนาในการแกไขปญหาเปนประจําทุก เดือ นในการประชุม กรรมการแพทยสภา จนในที ่ส ุ ดไม ถึ ง ๑ ป แพทยสภาก็อ นุ ม ัต ิใ ห ค ณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม สามารถดําเนินการเปดรับนักศึกษาแพทยตอไปไดโดยไมตองมาเสนอขออนุมัติเปนแตละป อีก จึงถือวาคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ยังโชคดีมากที่สามารถยืนหยัดทํางานไดตอเนื่องในการผลิต แพทยตอไป ทั้ง ๆ ที่กอนหนานี้ หนทางการดําเนินงานตอของคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ยังมืดมน ยุงยากมากและมีอุปสรรคมากมายจริง ๆ หลังจาก รพ.ตํารวจยกเลิกความรวมมือในเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๘ แตปญหาทุกอยางกลับมาคลี่คลายอยางฉับพลันจนหมดสิ้นในตนเดือนธันวาคม ๒๕๕๘ ในเวลา ๑ เดือนหลังเกิด ปญหานี้เอง แลวในที่สุด คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ก็สามารถดําเนินการมาตามปกติจนถึงทุกวันนี้ ตอนสุดทายก็มาถึง เรื ่องวิกฤติเรื่ องที่ ๓ คือ การรับรองหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตตามเกณฑ TMC.WFME.BME. Standard (2021) ที่แพทยสภาไดรับรองไวเพื่อใหคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ดําเนิน การตอไปตามมาตรฐานสากล ขาพเจาในฐานะคณบดีไ ดขอรับผิดชอบในเรื่องนี้เต็มตัวอยูแลว เมื่อ หลัก สูตรแพทยศาสตรบัณ ฑิต ของมหาวิ ทยาลัยสยาม ยัง ไมไ ดรับ การรับรองจากสถาบันรับรองมาตรฐาน การศึกษาแพทยศาสตร (สมพ.) ในครั้งแรก ก็ถึงเวลาที่ขาพเจาจะพิจารณาตนเอง (แมจะมีกรรมการจาก สมพ. โทรมาซักถาม/ทักทวงก็ตาม) นอกจากนี้ คําตอบที่รอคอยมานานถึง ๖ ป ในเรื่องอัตราการสอบผานและการได ใบประกอบวิชาชีพเวชกรรมของนักศึกษาแพทยรุนที่ ๑ ขาพเจาก็ไดทราบคําตอบและรูสึกพอใจอยางมากกับ นักศึกษาแพทยรุนแรกแลว เมื่อหลักสูตรไมไดรับการรับรองตามเกณฑสากล คณะแพทยศาสตรจึงกลับไปใช หลักสูตรเดิมที่ขาพเจาเคยขอใหแพทยสภารับรองไว เพื่อรอใหทําหลักสูตรใหมแลวเสนอแพทยสภา และสมพ. อีกครั้ง เมื่อขาพเจาชวยหาคณบดีคนใหมไดแลวคือ ศาสตราจารยคลินิก นายแพทยสุวัฒน เบญจพลพิทักษ เพื่อ มาชวยทําหลักสูตรใหมใหสอดคลองกับเกณฑสากลดังกลาว และเพื่อเสนอให สมพ. และแพทยสภารับรองตอไป ขาพเจาจึงไดลาออกจากคณบดีและไมไดเปนกรรมการแพทยสภาโดยตําแหนงคณบดีอีกตอไป จึงไดตัดสินใจลง สมัครรับเลือกตั้งเขาไปเปนกรรมการแพทยสภาและไดรับความไววางใจมากพอสมควร (ไดคะแนน ๖,๑๓๒ คะแนน มากเปนอันดับ ๔ จาก ๓๐ ทานที่ไดรับเลือก) ในการเลือกตั้งใหเปนกรรมการแพทยสภา ขาพเจาจึง ไดรับความไววางใจใหเขามาทํางานในดานวิชาการ ฝายฝกอบรมและสอบของแพทยสภา รวมทั้งการเขามาเปน ผูแทนแพทยสภาในคณะกรรมการสถาบันรับรองมาตรฐานการศึกษาแพทยศาสตร (สมพ.) ดวย เพื่อที่ขาพเจาจะ ไดติ ดตามการรับรองหลั กสูต รแพทยศาสตรบั ณฑิต ของมหาวิ ทยาลัยสยามไดดว ย เมื่อคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ยื่นหลักสูตรใหมผานแพทยสภาไปถึง สมพ. และกรรมการจาก สมพ. มาตรวจถึงในสถานที่ อยางเขมขนตามคําบอกเลาของคณาจารยเพื่อนําขอมูลกลับมาพิจารณาในการประชุม สมพ. แมวาบรรยากาศ การตรวจรับรองของกรรมการจาก สมพ. จะเขมขนอยางมาก แตในการประชุมของ สมพ. ถึงผลสรุปของความ ๗

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

เห็นชอบซึ่งมีขาพเจาอยูในที่ประชุม สมพ. ดวย ที่ประชุมไดเห็นชอบใหรับรองทั้งหลักสูตรและสถาบันผลิตแพทย ของมหาวิทยาลัยสยาม ตามเกณฑ TMC.WFME.BME. Standard (2021) เปนเอกฉันท การรับรองหลักสูตรใหม จึงเกิดขึ้นในวาระที่ขาพเจาเขาไปเปนกรรมการให สมพ. ในฐานะผูแทนจากแพทยสภา และขาพเจาก็เปนผูเสนอ เรื ่ อ งการรั บ รองหลั ก สู ต รแพทยศาสตรบั ณ ฑิ ต และสถาบั น ผลิ ต แพทย มหาวิ ท ยาลั ย สยาม ตามเกณฑ TMC.WFME.BME. Standard (2021) ในที ่ ป ระชุ ม ของแพทยสภาในวั น ที ่ ๑๐ มี น าคม ๒๕๖๕ และแล ว แพทยสภาก็อนุมัติเห็นชอบใหการรับรองหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตและสถาบันผลิตแพทยใหมหาวิทยาลัย สยามในที่สุดอีกดวย นับวา การฝาฟนแกไขเรื่องวิกฤติเรื่องที่ ๓ ของขาพเจาก็สําเร็จลงดวยดีแมจะไมไดเปน คณบดีแลวก็ตาม หากหลักสูตรใหมยังไมไดรับการรับรองอีกซึ่งไมนาจะเกิดขึ้นเมื่อขาพเจาเขาไปเปนกรรมการ สมพ. ดวย คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ก็จะตองยุติการดําเนินการผลิตบัณฑิตแพทยอยางแนนอน จะเห็นไดวา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ไดฝาฟนผานอุปสรรคขวากหนามสําคัญมา ๓ เรื่องจนสามารถตั้งตัวไดและมีอายุครบ ๑๒ ปแลว แตยังถือวาอยูในวัยที่จะเจริญเติบโตตอไปไดอีกมาก คณะ แพทยศาสตรจะเติบโตแข็งแกรงไดอยางยั่งยืน ตองมีอายุเกิน ๓๐ ปขึ้นไป ขาพเจาเคยริเริ่มทําอีกหนึ่งโครงการ ผลิตแพทยที่จะชวยแกไขปญหาขาดแคลนแพทยในชนบทแถวอีสาน ซึ่งเปนปรัชญาของการตั้งคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม วาจะชวยผลิตแพทยที่ยังขาดแคลนในชนบท (แถวอีสานขาดมากที่สุด) แตโครงการนี้ก็ถูก แชแข็ง อยูที่สํานักปลัดกระทรวง ทั้ง ๆ ที่โรงพยาบาลศูนยขนาด ๗๐๐ เตียงแหง หนึ่ง ในอีสานเห็นชอบกับ โครงการนี้ในการที่จะเปนสถาบันหลักในการผลิตบัณฑิตแพทยแลว อยางไรก็ตาม ขาพเจาขอขอบคุณคณาจารยและเจาหนาที่ผูรวมงานหลายทานที่ชวยทํางานรวมทุกข รวมสุขใหคณะแพทยศาสตรเปนอยางดีในระยะเวลาที่ขาพเจาดํารงตําแหนงคณบดี รวมทั้งบุคคลสําคัญมากอีก ๑ ทานที่อยูเบื้องหลังและมีวิสัยทัศนที่กวางไกล คือ ดร.พรชัย มงคลวนิช อธิการบดีมหาวิทยาลัยสยาม ที่ใหการ สนับสนุนการทํางานของทีมเราอยางเขมแข็งทุกครั้งที่ขาพเจาเขาไปพบและรายงานการดําเนินงานพรอมกับ เห็นชอบวิธีการแกไขปญหาอุปสรรคตาง ๆ ที่ขาพเจาเสนอใหตลอดมา



๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ในโอกาสครบรอบ ๑๒ ปของคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม เมื่อฟนฝาอุปสรรคสําคัญตาง ๆ มาได ข า พเจ าจึ ง ขอแสดงความยิ น ดีแ ละหวัง เป น อย า งยิ ่ง ว า คณะแพทยศาสตร มหาวิท ยาลั ยสยาม จะ เจริญเติบโตอยางยั่งยืนมั่นคง กาวหนาตอเนื่อง ปราศจากอุปสรรคขวากหนามใด ๆ อีก สุดทายนี้ ขาพเจาขออวยพร แสดงความยินดี และหวังเปนอยางยิ่งวา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัย สยามจะเจริญเติบโตกาวหนาในการผลิต “แพทยที่ดีและเกง” ใหประเทศไทยอยางยั่งยืนตลอดไป



๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

สารจากคณบดีคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ศาสตราจารยคลินิก นายแพทยสุวัฒน เบญจพลพิทักษ คณบดีคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม สถาปนาขึ้นเมื่อ วันที่ ๑๗ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๕๓ นับเปนคณะ ลําดับที่ ๑๓ ของมหาวิทยาลัยสยาม เปนสถาบันทางการแพทยที่จัดตั้งขึ้นเปนลําดับที่ ๒๑ ของประเทศ และเปน สถาบันผลิตแพทยสังกัดมหาวิทยาลัยเอกชนแหงที่ ๒ โดยมีความรวมมือในการผลิตแพทยรวมกับโรงพยาบาล พระนั่งเกลา จังหวัดนนทบุรี สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ตั้งแตนักศึกษาแพทยรุนที่ ๑ จนถึงปจจุบัน ในโอกาส ครบรอบ ๑๒ ป ผมขอแสดงความยินดีในความกาวหนาของคณะแพทยศาสตรแหงนี้ ที่ไดดําเนินภารกิจหลัก ดานการผลิตบัณฑิตแพทยที่มีคุณภาพ คุณธรรม และจริยธรรม โดยมีการจัดการศึกษา การเรียนรู การสงเสริม วิชาการทางวิชาชีพแพทยและวิทยาศาสตรการแพทย รวมทั้งผลิตผลงานวิจัยทางการแพทยทั้งระดับชาติและ นานาชาติ เพื่อทําประโยชนแกสังคมมาอยางตอเนื่อง คณะแพทยศาสตร เปน คณะที่ไ ดรับการคาดหวัง จากมหาวิทยาลัยและสัง คมในการผลิตแพทยที่มี คุณภาพ มีความรูความสามารถทางวิชาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรมทางการแพทย เปนประโยชนแกสังคมโดยรวม เพื่อรวมแกไขปญหาขาดแคลนแพทยของประเทศ ผมขอขอบคุณคณะผูกอตั้งในความมีวิสัยทัศน มุงมั่นตั้งใจและ กลาตัดสินใจกอตั้งคณะแพทยศาสตร สังกัดมหาวิทยาลัยเอกชนเพิ่มขึ้นในประเทศไทย ดวยการบริหารจัดการที่ ตองฟนฝาปญหา อุปสรรคนานัปการจนผานมาไดถึงทุกวันนี้ ที่หลักสูตรแพทยศาสตรและคณะ ไดรับการรับรอง ตามเกณฑ ม าตรฐานสากล TMC.WFME.BME Standard (2021) นั บ เป น จุ ด ตั ้ ง หลั ก ที ่ ส ํ า คั ญ ของคณะ แพทยศาสตร ที่ยังตองพัฒนาศักยภาพในทุก ๆ ดาน เพื่อวางรากฐานใหบุคลากร นักศึกษาและบัณฑิตแพทยให มีความรูความเชี่ยวชาญ มีความเปนผูนํา ใฝเรียนรูตลอดจนความคิดริเริ่มสรางสรรค มีความเปนสากล เพื่อ พรอมที่จะรวมกันผลักดันคณะแพทยศาสตร ใหกาวเดินไปขางหนาไดอยางมั่นคงและยั่งยืน สามารถจัดการกับ ความทาทายในภาวะเปลี่ยนผานของสังคมโลกที่มีความผันผวน ไมแนนอน ทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม การศึกษา และการสาธารณสุข รวมทั้งสุขภาวะของประชาชนทั่วโลก ผมขอใหคณะแพทยศาสตรไดมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง โดยยึดถือพระราชปณิธาน สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก องคพระบิดาแหงวงการแพทยและดานสาธารณสุขที่ทรงขอใหทุกคนถือ ประโยชนสวนรวมเปนกิจที่หนึ่งในการดําเนินงานใด ๆ เพื่อประโยชนรวมกันของสังคมและมนุษยชาติ ๑๐

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

สารจากผูอํานวยการโรงพยาบาลพระนั่งเกลา นายแพทยศักดา อัลภาชน ผูอํานวยการโรงพยาบาลพระนั่งเกลา (วาระ พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๕)

ขอแสดงความยินดีในการดําเนินงานครบรอบ ๑๒ ปของคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยามที่ไดเปด การเรียนการสอนหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ผมไดเห็นความตั้งใจของอาจารยแพทยที่จะผลิตแพทยที่ มีคุณภาพเขาสูระบบ เนนนักศึกษาที่มีความมุงมั่นในการเรียน การพัฒนาตนเองที่จะเปนแพทยที่ดีใน อนาคต ขออวยพรใหผูที่ทําหนาที่ผลิตแพทย จงมีพลังในการพัฒนาการสอนตอไปและขอใหทุกทานมี สุขภาพแข็งแรงและมีความสุขในทุก ๆ ดาน

๑๑

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

สารจากผูอํานวยการโรงพยาบาลกําแพงเพชร นายแพทยสุรชัย แกวหิรัญ ผูอํานวยการโรงพยาบาลกําแพงเพชร

เนื่องในวาระครบรอบ ๑๒ ป ของคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ที่ไดเปดทําการเรียนการสอน หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ผมในนามผูอํานวยการโรงพยาบาลกําแพงเพชร ขอแสดงความยินดีที่คณะ แพทยศาสตร ประสบความสําเร็ จและเติบโตกาวหนามาจนถึง ปจจุบ ัน ซึ ่ง ตลอดระยะเวลาที่โรงพยาบาล กําแพงเพชรไดเปนสถาบันรวมผลิตแพทยในการเรียนการสอนนักศึกษาแพทยชั้นปที่ ๖ ไดมองเห็นถึง ความ มุงมั่นของมหาวิทยาลัยสยาม ในการดําเนินการผลิตแพทย ถือวาเปนสถาบันที่มีบทบาทสําคัญที่สามารถผลิต แพทยที่มีความรูความสามารถทางการแพทย มีจุดยืนที่ชัดเจนในการพัฒนาทางการศึกษาดานการแพทยให สอดคลอ งกับความตอ งการของการพัฒ นาประเทศ และสั ง คมในปจจุบ ัน ตลอดจนมี ส วนช วยเสริม สรา ง ความสามารถในการแขงขันดานการแพทยของประเทศไทยใหเทียบเทาในระดับสากลซึ่งจะสามารถทําประโยชน ใหกับสังคมและประเทศชาติในอนาคตไดอีกนานัปการ ในโอกาสนี้ ผมขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้ง หลาย จงดลบันดาลใหผูกอตั้ง คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม คณาจารยผูทรงคุณวุฒิ และบุคลากร เจาหนาที่ทุกทาน สามารถนําพา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ไปสูความสําเร็จตามวิสัยทัศนที่ไดวางไวในทุกประการ และขอใหมีความ เจริญกาวหนาตลอดไป

๑๒

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

สารจากผูอํานวยการศูนยแพทยศาสตรชั้นคลินิก โรงพยาบาลพระนั่งเกลา

แพทยหญิงสิริรัตน ลิมกุล ผูอํานวยการศูนยแพทยศาสตรชั้นคลินิก โรงพยาบาลพระนัง่ เกลา

ในโอกาสครบรอบ ๑๒ ปแ หงการสถาปนาคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ขา พเจ า ในฐานะผู อํ านวยการศูน ยแ พทยศาสตรช ั้ นคลิน ิกโรงพยาบาลพระนั ่ง เกลา ขอแสดงความยิ นดี และ ขออํานวยพรใหคณะผูบริหาร คณาจารยและบุคลากรคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม มีสุขภาพ กายใจที่แข็งแรงสมบูรณ เพื่อเปนพลังในการขับเคลื่อนคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ใหมีความ เจริญกาวหนาทางดานวิชาการและการสืบสานภารกิจตาง ๆ ของคณะฯ เพื่อประโยชนตอสังคมและ ประเทศชาติสืบไป

๑๓

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

สารจากผูอํานวยการศูนยแพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลกําแพงเพชร

แพทยหญิงชินานาฏ พวงสายใจ ผูอํานวยการศูนยแพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลกําแพงเพชร

ดิฉัน แพทยหญิงชินานาฏ พวงสายใจ ผูอํานวยการศูนยแพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิกโรงพยาบาล กําแพงเพชร ขอแสดงความยินดีและขอสงความปรารถนาดีมายัง คณะผูบริหารและบุคลากรที่เกี่ยวของ ทุกทานดวยความจริงใจอยางยิ่ง ในโอกาสที่คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ที่เปดการเรียนการ สอนหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตและไดบริหารจัดการคุณภาพทางการศึกษาที่มีมาตรฐานเปนที่ประจักษ สูสังคมมาครบ ๑๒ ป ขอเปนกําลังใจแกคณะผูบริหาร คณาจารย และผูเกี่ยวของทุกทานในการปฏิบัติ หนาที่เพื่อบริหารจัดการและพัฒนาการเรียนการสอน ภายใตกระแสความเปลี่ยนแปลงทั้งทางดานกระแส สังคม และสถานการณโรคระบาด เพื่อนําทางไปสูความสําเร็จตามวัตถุประสงคขององคกร สุ ด ท า ยนี ้ ขออาราธนาคุ ณ พระศรี ร ั ต นตรั ย และสิ ่ ง ศั ก ดิ ์ ส ิ ท ธิ ์ ท ั ้ ง หลายที ่ ท  า นเคารพนั บ ถื อ โปรดดลบันดาลประทานพรใหทุกทาน มีพละกําลังที่เขมแข็ง มีกําลังกาย กําลังใจที่ดี ประสบความสุข ความเจริญกาวหนา ประสบความสําเร็จในชีวิต นําพาคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ใหดําเนิน กิจการไปดวยความเสถียรมั่นคง รุงเรืองสืบไป

๑๔

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ประวัติความเปนมาของคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม รองศาสตราจารย ดร.เสาวณีย รัตนพานี รองคณบดีคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

อาจารยสุดจิตร เมืองเกษม ผูชวยคณบดีฝายนโยบายและแผน คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

๑. จุดกําเนิดคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยามเกิดจากกลุมแพทยที่มีประสบการณสูงทั้งดานการเรียนการสอน ในโรงเรียนแพทยชั้นนําของประเทศและประสบความสําเร็จอยางสูงในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม ทานเหลานี้ มีประสบการณตรงเกี่ยวกับปญหาการขาดแคลนแพทยที่มีคุณภาพทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะอยาง ยิ่ง เมื่อประเทศไทยเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนอยางเต็มรูปแบบในป พ.ศ. ๒๕๕๘ การเคลื่อนยายผู ประกอบวิชาชีพตาง ๆ โดยเฉพาะผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมจะสามารถเคลื่อนยายไดอยางไรพรมแดน รวมถึง จะมีการเคลื ่อนยายผู ปวยเขามารับบริการทางการแพทย ในประเทศมากขึ้น รัฐจึง ตองเตรี ยมความพรอ ม โดยเฉพาะจํานวนบุคลากรทางการแพทยที่มีความสามารถและเพียงพอที่จะกระจายไปยังภูมิภาคตาง ๆ ของ ประเทศเพื ่ อ รองรั บ และตอบสนองการเปลี ่ย นแปลงที ่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ในเร็ ว วั น มหาวิท ยาลั ย สยาม ในฐานะ สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาจึงตระหนักถึงการมีสวนรวมในการแกปญหาและพัฒนาประเทศในดานการ ผลิตบุคลากรที่มีคุณภาพสูสังคมมายาวนาน โดยในระยะเริ่มแรกประมาณเดือนตุลาคม ๒๕๕๒ นายแพทยบุญ วนาสิน ประธานบริษัทโรงพยาบาลธนบุรีจํากัด (มหาชน) มอบให รองศาสตราจารย ดร.เสาวณีย รัตนพานี อดีต รองอธิการบดีฝายวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และอาจารยสุดจิตร เมืองเกษม รองผูอํานวยการฝาย การแพทยโรงพยาบาลธนบุรี ประสานและดําเนินการจัดตั้ง คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยามใหสําเร็จ ภายใน ๓ ป เมื่อรองศาสตราจารย ดร.เสาวณีย รัตนพานี และ อาจารยสุดจิตร เมืองเกษม ไดรับมอบนโยบาย จากนายแพทย บ ุ ญ วนาสิ น มาแล ว จึ ง ได เ ริ ่ ม ดํ า เนิ น การจั ด ตั ้ ง คณะแพทยศาสตร และสร า งหลั ก สู ต ร แพทยศาสตรบัณฑิตใหเปนไปตามเกณฑการขอเปดดําเนิน การหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ตามประกาศ แพทยสภาที่ ๓๖/๒๕๕๕ เรื่อง เกณฑวาดวยการขอเปดดําเนินการ/ปรับปรุงหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต โดย ไดรับความกรุณาจากศาสตราจารยกิตติคุณ นายแพทยเฉลิม วราวิทย มาเปนที่ปรึกษา โดยนายแพทยบุญ วนาสิน ไดกําชับใหดําเนินการจัดตั้งคณะแพทยศาสตรใหเปนโรงเรียนแพทยชั้นนําในระดับสากล เพื่อผลิต บัณฑิตแพทยที่มีความรูความสามารถและมีความรับผิดชอบสูง ทั้ง นี้การดําเนินการตาง ๆ ในระยะเริ่มตน จะต อ งประสานงานกั บ ฝ า ยต า ง ๆ ให เ ป น ไปตามเกณฑ ที่ แ พทยสภากํา หนด ได รั บ ความอนุ เ คราะห จ าก รองศาสตราจารยนายแพทยชูเกียรติ อัศวาณิชย รองประธานบริษัทโรงพยาบาลธนบุรีจํากัด (มหาชน) ใหการ ๑๕

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

สนับสนุน การประสานงานกับฝายตาง ๆ นอกจากนี้นายแพทยบุญ วนาสิน ยัง ไดสนับสนุนการกอตั้งคณะ แพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยามทั้ง ดานทรัพยากรบุคคล อาคารสถานที่และทรัพยากรสนับสนุนทางดาน การศึกษา โดยในระยะเริ่มแรก (ตั้งแตเดือนตุลาคม ๒๕๕๒) อนุญาตใหใชอาคารชิโนรสเปนสํานักงานชั่วคราว ของคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ซึ่งขณะนั้น บริษัทโรงพยาบาลธนบุรีจํากัด (มหาชน) ไดใชเปนอาคาร อบรม รวมทั้งนายแพทยบุญ วนาสิน ไดเริ่มกอตั้งมูลนิธิคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยามใหอีกดวย ๒. การดําเนินการเพื่อใหไดมาซึ่งคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม รองศาสตราจารย ดร.เสาวณีย รัตนพานี และ อาจารยสุดจิตร เมืองเกษม ไดรับมอบจาก นายแพทย บุญ วนาสิน ใหไปดําเนิน การจัดตั้ง โรงเรียนแพทย ใหแลวเสร็จภายใน ๓ ป จึง ไดศึกษาเกณฑการขอเปด ดําเนินการหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ตามประกาศแพทยสภาที่ ๓๖/๒๕๕๕ เรื่อง เกณฑวาดวยการขอเปด ดําเนินการ/ปรับปรุงหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ที่ไดกําหนดเกณฑไว ๑๕ ขอ (ขณะนั้นยังคงเปนฉบับราง) จะ ขอเลาเฉพาะประเด็นที่สําคัญ พอสังเขปดังนี้ เกณฑขอที่ ๑. คุณสมบัติของมหาวิทยาลัยที่จะเปดดําเนินการหลักสูตร ๑.๑ เปนมหาวิทยาลัยที่สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง มีการจัดการศึกษาระดับ ปริญญาที่มีหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ๑.๒ มีป ณิธานและพัน ธกิจระบุไ วชัดเจนวามุ ง ผลิตแพทยที่ มีความรูความสามารถตามเกณฑ มาตรฐานผูประกอบวิชาชึพเวชกรรม แพทยสภา และคุณสมบัติสอดคลองกับความตองการ และระบบสุขภาพ ของประเทศฯ ๑.๓ มีระบบบริหารงานที่ชัดเจนเพื่อสนับสนุนการจัดการศึกษาใหบรรลุตามปณิธานฯ มหาวิทยาลัยสยาม มีคุณสมบัติครบตามเกณฑที่แพทยสภากําหนด ดังนั้นอาจารยสุดจิตร เมืองเกษม และรองศาสตราจารย ดร.เสาวณีย รัตนพานี ในนาม นายแพทยบุญ วนาสิน ขอเขาพบอธิการบดี (ดร.พรชัย มงคลวนิช) เพื่อหารือการจัดตั้งคณะแพทยศาสตร อธิการบดีเห็นชอบในหลักการ หลังจากที่ ดร.พรชัย มงคลวนิช อธิการบดีเห็นชอบในหลักการใหเปดดําเนินการหลักสูตรแพทยศาสตร บัณฑิตได รองศาสตราจารย ดร.เสาวณีย รัตนพานี และอาจารยสุดจิตร เมืองเกษม จึงไดจัดทํากรอบแนวคิด (concept Paper) เพื่อขออนุมัติเปดดําเนินการหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตตอสภามหาวิทยาลัยสยามใน คราวประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๕๓ เมื่อวันพุธที่ ๑๗ กุมภาพันธ ๒๕๕๓ และที่ประชุมใหความเห็นชอบใหดําเนินการ เปดหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต “จึงถือ วาวันที่ ๑๗ กุมภาพันธ ของทุกปเปนวันคลายวันสถาปนาคณะ แพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม” พรอมทั้งไดแตงตั้งคณะกรรมการพิจารณาการเปดดําเนินการหลักสูตร แพทยศาสตรบัณฑิตในการประชุมคราวเดียวกัน ซึ่งประกอบดวย ๑) ศาสตราจารยกิตติคุณ นายแพทยเฉลิม วราวิทย ที่ปรึกษา ๒) รองศาสตราจารย แพทยหญิงยุพิน ไทยพิสุทธิกุล ที่ปรึกษา ๓) ผูชวยศาสตราจารย นายแพทยเกษม เสรีพรเจริญกุล ที่ปรึกษา ๔) ศาสตราจารย นายแพทยวิเชียร ทองแตง ประธานกรรมการ ๑๖

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

๕) รองศาสตราจารย นายแพทยไพโรจน อาจแยมสรวล ๖) ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยมนูญ ไพบูลย ๗) ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยวิโรจน ไวยวุฒิ ๘) รองศาสตราจารย นายแพทยวิบูล สุนทรพจน ๙) รองศาสตราจารย นายแพทยชัยยศ ธีรผกาวงษ ๑๐) ผูชวยศาสตราจารย ดร.นิ่มนวล ศรีจาด ๑๑) รองศาสตราจารย แพทยหญิงยุวดี เลี่ยวไพรัตน ๑๒) รองศาสตราจารย ดร.เสาวณีย รัตนพานี ๑๓) คุณสุดจิตร เมืองเกษม

รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผูชวยเลขานุการ กรรมการและผูชวยเลขานุการ

ให คณะกรรมการพิ จารณาการเป ดดํ าเนิ นการหลั กสู ตรแพทยศาสตรบัณ ฑิ ต มีอ ํา นาจหนา ที่ พิจารณาหลักสูตร โดยตองรักษามาตรฐานทางวิชาการและสอดคลองกับเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๔๘ ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ และเกณฑมาตรฐานผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมของแพทยสภา แลวใหคณะวิชาดําเนินการเสนอหลักสูตรที่จะเปดดําเนินการ เพื่อขออนุมัติจากสภามหาวิทยาลัย ตามความใน มาตรา ๓๔(๖) แหงพระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. ๒๕๔๖ แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ สั ่ง ณ วัน ที ่ ๒๒ กุม ภาพั น ธ ๒๕๕๓ โดย ศาสตราจารย เกี ยรติ ค ุณ นายแพทย เกษม วั ฒ นชัย นายกสภา มหาวิทยาลัยสยาม คณะกรรมการพิจารณาการเปดดําเนินการหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ไดประชุมนัดแรกครั้งที่ ๑/๒๕๕๓ เมื่อวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๓ และเรงดําเนินการจัดทําหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตทันที โดย มอบใหรองศาสตราจารย ดร.เสาวณีย รัตนพานี ไปทําการรางหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตหลักสูตรใหม ขณะเดียวกัน รองศาสตราจารย ดร.เสาวณีย รัตนพานี และอาจารยสุดจิตร เมืองเกษม ก็ตองรวมกันดําเนินการ ประสานสวนตาง ๆ เพื่อใหไดขอกําหนดครบตามเกณฑแพทยสภาคูขนานไปกับการจัดทําหลักสูตร ขอกําหนด ตามเกณฑที่สําคัญไดแก ก. หากเปนมหาวิทยาลัยเอกชนจะตองไมแสวงหากําไร จะตองตั้งมูลนิธิหรือกองทุน เพื่อใหมีทุน สํารองเพียงพอในการดําเนินการในระยะยาว และตองมีผูแทนจากสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ แพทยสภาเปนกรรมการมูลนิธิหรือกองทุนโดยตําแหนง นายแพทยบุญ วนาสิน ประธานบริษัทโรงพยาบาล ธนบุรีจํากัด (มหาชน) จึงริเริ่มกอตั้งมูลนิธิคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ตามใบสําคัญแสดงการจด ทะเบียนจัดตั้งมูลนิธิ ทะเบียนเลขที่ กท ๒๒๔๖ ใหไว ณ วันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๕๕ และมีประธานมูลนิธิฯ ทาน แรกคือ ศาสตราจารย นายแพทยอํานวย อุนนะนันท ประธานมูลนิธิฯ ทานปจจุบัน คือ พล.อ.อ. ชลิต พุกผาสุก องคมนตรี

๑๗

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ข. สถาบันพี่เลี้ยง ในระยะเริ่มแรก (ประมาณ ๗ ป) มหาวิทยาลัยที่ขอเปดดําเนินการหลักสูตร แพทยศาสตรบัณฑิต ควรทําขอตกลงเปนลายลักษณอักษรกับมหาวิทยาลัยที่มีประสบการณในการดําเนินการ เปดดําเนินการหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตมาแลวไมนอยกวา ๒๐ ป ใหชวยทําหนาที่เปนที่ปรึกษา/ชวยเหลือ หรือเปนสถาบันพี่เลี้ยง โดยสถาบันพี่เลี้ยงควรพิจารณาใหอยูใกลเคียงกัน เพื่อสะดวกในการบริหารจัดการ จากการนําของรองศาสตราจารย นายแพทยชูเกียรติ อัศวณิชย รักษาการคณบดีคณะแพทยศาสตร และรองศาสตราจารย ดร.เสาวณีย รัตนพานี ไดรับความอนุเคราะหจาก พลโทนายแพทยสหชาติ พิพิธกุล เจากรมแพทยทหารบกที่เห็นความสําคัญในการผลิตแพทยจึงสนับสนุนให วิทยาลัยแพทยศาสตรพระมงกุฎเกลา เปนสถาบันพี่เลี้ยง ใหคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม โดยพลโทนายแพทยสหชาติ พิพิธกุล เจากรม แพทยทหารบก ไดทําบันทึกเสนอ ผูบัญ ชาการกองทัพบก (พลเอกประยุทธ จันทรโอชา) เรื่องขออนุมัติให วิทยาลัยแพทยศาสตร พระมงกุฎเกลา เปนสถาบันพี่เลี้ยงใหคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม เมื่อวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ และไดรับอนุมัติจากกองทัพบก เมื่อวันที่ ๒๗ มกราคม ๒๕๕๔ ค. สถาบันรวมผลิตแพทย : โรงพยาบาลตํารวจกับมหาวิทยาลัยสยาม อาจารยสุดจิตร เมืองเกษม ไดประสานเพื่อจัดหาโรงพยาบาลที่มีศักยภาพทั้งในสวนที่ สังกัด กระทรวง ทบวงกรมตาง ๆ เพื่อรวมเปนสถาบันรวมผลิตแพทยตามหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต และพบวา โรงพยาบาลตํารวจมีความพรอมและมีคุณสมบัติเปนไปตามเกณฑที่แพทยสภากําหนด อาจารยสุดจิตร เมืองเกษม และรองศาสตราจารย ดร.เสาวณีย รัตนพานี จึงประสานขอเขาพบ พลตํารวจโท นายแพทยจงเจตน อาวเจนพงษ แพทยใหญ (สบ ๘) โรงพยาบาลตํารวจ เพื่อขอความอนุเคราะหใหโรงพยาบาลตํารวจเปนสถาบันหลักในการ ผลิตแพทยรวมกับคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม จนบรรลุขอตกลงรวมกันในความรวมมือดังกลาว และ นํ า ไปสู  ก ารลงนามในบั นทึ กข อตกลงเรื ่ องความร วมมื อในการผลิ ตแพทยระหวางโรงพยาบาลตํ ารวจ และ มหาวิทยาลัยสยาม โดยพลตํารวจโท นายแพทยจงเจตน อาวเจนพงษ แพทยใหญ (สบ ๘) โรงพยาบาลตํารวจ กับดร.พรชัย มงคลวนิช อธิการบดีมหาวิทยาลัยสยาม เมื่อวันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๕๓ ง. การพัฒนาหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต คณะทํา งานร า งหลั ก สู ต รดํา เนิ น การจั ด ทํา ร า งหลั ก สู ต รแพทยศาสตรบั ณ ฑิ ต ได ม อบให รองศาสตราจารย ดร.เสาวณีย รัตนพานี กรรมการและผูชวยเลขานุการ ไปทําการรางหลักสูตรในแบบดั้งเดิม กลาวคือ เปนหลักสูตรแบบ subject based curriculum เสนอที่ประชุมคณะทํางานรางหลักสูตรเพื่อพิจารณา ที ่ ป ระชุ ม เห็ น ควรให ผ ู เ ชี ่ย วชาญด า นแพทยศาสตรศึก ษาพิจ ารณาความเหมาะสมของหลั ก สูต รเสีย ก อ น ศาสตราจารย กิ ต ติ คุ ณ นายแพทย เ ฉลิ ม วราวิ ท ย เสนอให ข อความอนุ เ คราะห จ าก ผู ช ว ยศาสตราจารย ดร.นายแพทย เ ชิ ด ศั ก ดิ ์ ไอรมณี ร ั ต น จากคณะแพทยศาสตร ศ ิ ร ิ ร าชพยาบาล มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล เป น ผูทรงคุณวุฒิใหความเห็นตอหลักสูตรที่รางขึ้น ผูชวยศาสตราจารย ดร.นายแพทย เชิดศักดิ์ ไอรมณีรัตน มี ความเห็นวา ควรปรับหลักสูตรใหเปนแบบ system- based curriculum จะเหมาะสมกวา แตที่ประชุมเห็นวา เมื่อไดจัดทําหลักสูตรจนแลวเสร็จ จึงควรนําเสนอสภามหาวิทยาลัย เพื่อสงใหแพทยสภารับรองหลักสูตรไดเมื่อ เสนอหลักสูตร ๑๘

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ไปที่แพทยสภาแลว แพทยสภาสงหลักสูตรกลับโดยไมมีการพิจารณา ที่ประชุมคณะกรรมการพิจารณาการเปด ดําเนิน การหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต จึง มอบใหรองศาสตราจารย ดร.เสาวณีย รัตนพานี กรรมการและ ผูชวยเลขานุการ ไปดําเนินการจัดทํารางหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ตามความเห็นของผูชวยศาสตราจารย ดร. นายแพทยเชิดศักดิ์ ไอรมณีรัตน ผูทรงคุณวุฒิภายใตคําแนะนําของศาสตราจารยกิตติคุณ นายแพทยเฉลิม วราวิทย จากนั้น ไดนําเสนอหลักสูตรแบบ system-based curriculum ตอที่ประชุมคณะกรรมการพิจารณา การเปดดําเนินการหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ที่ประชุมเสนอใหมีการวิพากษหลักสูตรโดยผูเชี่ยวชาญดาน แพทยศาสตรศึกษาจํานวน ๓ ทาน ไดแก ๑) ศาสตราจารยเกียรติคุณ พลโท แพทยหญิงวณิช วรรณพฤกษ ๒) รองศาสตราจารย นายแพทยกิจประมุข ตันตยาภรณ ๓) ผูชวยศาสตราจารย ดร. นายแพทยเชิดศักดิ์ ไอรมณีรัตน ผลคือผูเชี่ยวชาญทั้ง ๓ ทาน ใหความเห็นชอบ หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต หลักสูตรใหม พ.ศ. ๒๕๕๕ จึงนําเสนอสภามหาวิทยาลัยสยาม และสภามหาวิทยาลัยเห็นชอบหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต หลักสูตรใหม พ.ศ. ๒๕๕๕ จ. การอนุมัติหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต หลักสูตรใหม พ.ศ. ๒๕๕๕ - แพทยสภามีหนังสือที่ พส ๐๑๗/๗๗๗ ลงวันที่ ๑๗ สิง หาคม ๒๕๕๕ แจงผลการพิจารณา รับรองหลักสูตร แพทยศาสตรบัณฑิต หลักสูตรใหม พ.ศ. ๒๕๕๕ ใหเปดรับนักศึกษาจํานวน ๔๘ คน นับเปน มหาวิทยาลัยเอกชนแหงที่ ๒ ของประเทศไทยที่ไดรับการรับรองหลักสูตรจากแพทยสภา - คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยสยาม อนุมัติหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรใหม พ.ศ. ๒๕๕๕) เมื่อวันที่ ๑๔ เดือนมีนาคม ๒๕๕๖ - สํานักงานกรรมการการอุดมศึกษารับทราบหลักสูตร เมื่อวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ฉ. เปดรับนักศึกษารุนแรกในปการศึกษา ๒๕๕๖ โดยวิธีรับตรง เนื ่ องจากสํ า นั ก งานคณะกรรมการการอุด มศึ กษา(สกอ.) รั บทราบหลั กสู ต รเมื ่อ วั น ที ่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖ จึงทําใหคณะแพทยศาสตรเขารวมรับนักศึกษาแพทยผานระบบของ กสพท. ไมทัน คณะ แพทยศาสตรจึงประกาศรับสมัครบุคคลทั่วไปที่สนใจสมัครเขาศึกษา ในคณะแพทยศาสตรรุนแรกโดยวิธีรับตรง ทั้งหมด ๔๘ คน และเปดภาคการศึกษาที่ ๑ ในเดือนสิงหาคม ๒๕๕๖ ปการศึกษา ๒๕๕๖ ซึ่งเปนการเปด-ปด ภาคการศึ ก ษาตามกลุ ม ประเทศอาเซี ย น และจั ด การเรี ย นการสอนชั้ น ป ที่ ๑ ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย สยาม โดยมี รองศาสตราจารย นายแพทยชูเกียรติ อัศวาณิชยเปนรักษาการคณบดี รองศาสตราจารย ดร.เสาวณีย รัตนพานี อาจารยสุดจิตร เมืองเกษม และศาสตราจารยกิตติคุณ นายแพทยเฉลิม วราวิทย ทําหนาที่ในการบริหารงานทั้ง ดานวิชาการและการบริหารงานทั่วไป ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยอมร ลีลารัศมี เปนที่ปรึกษา ตอมา ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยอมร ลีลารัศมี ดํารงตําแหนงคณบดีคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม เมื่อ วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๖ โดยมีศาสตราจารยกิตติคุณ นายแพทยเฉลิม วราวิทย ดํารงตําแหนงรองคณบดีฝายคลินิก รองศาสตราจารย ดร.เสาวณีย รัตนพานี ดํารงตําแหนงรองคณบดี ฝายปรีคลินิก และอาจารยสุดจิตร เมืองเกษม ดํารงตําแหนง ผูชวยคณบดีฝายบริหาร ๑๙

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

๓. สํานักงานคณะแพทยศาสตร ช ว ง พ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๕๖ คณะแพทยศาสตร มี อ าจารย และเจ า หน า ที่ ในระยะเริ่ ม ต น ประกอบดวย รองศาสตราจารย ดร.วิจิตร รัตนพานี รองศาสตราจารย ดร.เสาวณีย รัตนพานี อาจารยอัฉริยา สุวานิช สาขาสรีรวิทยา อาจารยอมรรัตน ศิรเตชวิวัฒน และ อาจารยวนิดา ณรงคศักดิ์ สาขากายวิภาคศาสตร และเจาหนาที่คือ นางสาววริศรา ดํารงผล ปฏิบัติงานที่สํานักงานชั่วคราว อาคารชิโนรส อาคารอบรมเลขที่ ๓ ถนนอิสรภาพ แขวงบานชางหลอ เขตบางกอกนอย กรุงเทพมหานคร ป พ.ศ. ๒๕๕๖ พลตํารวจโท นายแพทยจงเจตน อาวเจนพงษ แพทยใหญ (สบ ๘) โรงพยาบาล ตํารวจเล็งเห็นถึงความสําคัญของการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ จึงไดใหความอนุเคราะหที่จอดรถของอาคาร บําบัดนํ้าเสีย ชั้น ๑๐ ใหคณะแพทยศาสตร ไปดําเนินการปรับปรุง/จัดสรางและตบแตงภายในใหเปนสํานักงาน ชั่วคราวของคณะแพทยศาสตร ประกอบดวยหองพักอาจารย หองประชุม หองสอนบรรยายและสอนปฏิบัติการ หองสันทนาการของนักศึกษาชาย-หญิง รวมทั้งหอพักนักศึกษาแพทยดวย นอกจากนี้ยังไดดําเนินการปรับปรุง อาคารอเนกประสงค ใหแลวเสร็จเพื่อรองรับการจัดการเรียนการสอนชั้นปรีคลินิกในตนปการศึกษา ๒๕๕๗ ซึ่ง ประกอบดวยหองปฏิบัติการ Gross Anatomy จํานวน ๑ หองที่สามารถบรรจุรางอาจารยใหญเพื่อการเรียนการ สอน ได ๘ ราง หองปฏิบัต ิการเกี่ยวกับการใชก ลอง และห องปฏิ บัติก ารชีว เคมี พรอมอุปกรณ ครุภัณฑ ประกอบการจัดการเรียนการสอน ครบถวน ป พ.ศ. ๒๕๕๗ มีการเปลี่ยนแปลงผูบริหารโรงพยาบาลตํารวจ คณะแพทยศาสตร ไดรับแจง จากโรงพยาบาลตํารวจวาไมสนับสนุนใหจัดการเรียนการสอนชั้นปรีคลินิกที่โรงพยาบาลตํารวจ เนื่องจากไม สอดคลองกับพันธกิจของโรงพยาบาลตํารวจ และไดมีจดหมายลงวันที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๕๗ ใหขนยายวัสดุ อุปกรณ ออกจากอาคารบําบัดนํ้าเสีย ชั้น ๑๐ ตอมา ไดมีจดหมายลงวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๕๗ ไมอนุญาตใหใช อาคารเอนกประสงคซึ่งเปนที่จัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติของชั้นปรีคลินิก คณะแพทยศาสตร จึงไดยาย คณาจารย เจา หน าที่ วัส ดุ อุ ป กรณ และเครื่ อ งมื อ ทางวิ ท ยาศาสตร ม าปฏิบั ติ ง านที่ ชั้ น ๑๔ อาคารเฉลิ ม พระเกียรติ ๑๙ มหาวิทยาลัยสยาม และไดสรางหองปฏิบัติการ Gross Anatomy ที่อาคารชิโนรส จนถึงปจจุบัน ๔. กระทรวงสาธารณสุข กับมหาวิทยาลัยสยาม แพทยใหญโรงพยาบาลตํารวจ เสนอเรื่องเขาที่ประชุมแพทยสภาวา ไมสามารถรับนักศึกษา แพทยรุนแรกของคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ซึ่งจะขึ้นเรียนชั้นปที่ ๔ ที่โรงพยาบาลตํารวจในเดือน พฤษภาคม ๒๕๕๙ ได คณะแพทยศาสตรโดยการนําของคณบดี (ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยอมร ลีลารัศมี) พยายามชี ้ แจงกับผู  บริ หารสู งสุ ดของกรมตํ ารวจ และทํ าเรื ่องผ านรั ฐบาลเพื ่ อขอให ทบทวน แต ไม ประสบ ความสําเร็จ แพทยสภาไดพยายามใหความชวยเหลือเพื่อใหคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยามสามารถ จัดการเรียนการสอนตอไปได ตามหนังสือ ที่ พส ๐๑๒/๘๕๒ ลงวันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๕๗ เรื่องรายงานความ คืบหนาการแกปญหาของคณะแพทยศาสตร กับโรงพยาบาลตํารวจ ขณะเดียวกันทีมบริหารไดพยายามติดตอ โรงพยาบาลตาง ๆ ที่มีศักยภาพในการจัดการเรียนการสอนนักศึกษาแพทยชั้นปที่ ๔-๖ จํานวน ๔๘ คน ได ตามเกณฑแพทยสภา ในที่สุดไดรับความรวมมือ จากนายแพทยวิรุฬ พรพัฒนกุล ผูอํานวยการโรงพยาบาลพระนั่งเกลา ๒๐

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ซึ่งไดดําเนินการประสานสวนงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของเพื่อใหโรงพยาบาลพระนั่ง เกลา เปนแหลงฝกปฏิบัติของ นักศึกษาแพทยชั้นปที่ ๔-๖ ไดดวยความเรียบรอยและรวดเร็ว นําไปสูการทําบันทึกขอตกลงเรื่องความรวมมือใน การเปนหนวยงานฝกปฏิบัติงานระหวางมหาวิทยาลัยสยามกับกระทรวงสาธารณสุข เมื่อวันที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๕๙ โดย ดร.พรชัย มงคลวนิช อธิการบดี มหาวิทยาลัยสยาม กับ นายแพทยโสภณ เมฆธน ปลัดกระทรวง สาธารณสุขในขณะนั้น จึงทําใหนักศึกษาแพทยชั้นปที่ ๔ ปการศึกษา ๒๕๕๙ ซึ่งเปนนักศึกษาแพทยรุนแรกของ คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ไดไปศึกษาและฝกปฏิบัติงานที่โรงพยาบาลพระนั่งเกลาครั้งแรกในเดือน พฤษภาคม ๒๕๕๙ เปนตนมา ทั้งนี้คณะแพทยศาสตร ไดดําเนินการปรับปรุงหลักสูตรใหมใหสอดคลองกับบริบท ของโรงพยาบาลพระนั่ง เกลา คือหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๙ ที่เนนตอบสนอง ชุมชนเมืองตามบริบทของโรงพยาบาลพระนั่งเกลา และใหเริ่มใชกับนักศึกษาที่รับเขาตั้งแตปการศึกษา ๒๕๖๐ เปนตนไป ตอมาไดมีการปรับปรุงบันทึกขอตกลง เรื่องความรวมมือในการเปนหนวยงานฝกปฏิบัติงาน ระหวางมหาวิทยาลัยสยาม กับกระทรวงสาธารณสุข ลงนามโดยพล.อ.อ.ชลิต พุกผาสุข นายกสภามหาวิทยาลัย สยาม กับนายแพทยโสภณ เมฆธน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข เมื่อวันที่ ๒๙ สิง หาคม ๒๕๖๐ ณ ทําเนียบ องคมนตรี ในปพ.ศ. ๒๕๖๔ ภายใตการนําของศาสตราจารยคลินิก นายแพทยสุวัฒน เบญจพลพิทักษ คณบดี ไดประสานกับโรงพยาบาลพระนั่งเกลา และกระทรวงสาธารณสุข เพื่อทบทวนขอตกลงความรวมมือใหมี ความเปนปจจุบัน มากขี้น จึง นําไปสูการลงนามในบันทึกขอตกลง เรื่อง ความรวมมือทางวิชาการเพื่อการ สนับสนุนการเปนโรงพยาบาลหลักในการผลิตแพทยของมหาวิทยาลัยสยาม ระหวาง กระทรวงสาธารณสุข กับ มหาวิทยาลัยสยาม โดย นายแพทยเกียรติภูมิ วงศรจิต ปลัดกระทรวงสาธารณสุข และ ดร.พรชัย มงคลวนิช อธิการบดีมหาวิทยาลัยสยาม เมื่อวันที่ ๖ กันยายน ๒๕๖๔ ซึ่งโรงพยาบาลพระนั่งเกลาเปนโรงพยาบาลหลักใน การผลิตแพทยของมหาวิทยาลัยสยามสืบตอไป รวมทั้งไดมีการปรับปรุงหลักสูตรใหมอีกครั้งเพื่อใหเปนไปตาม มคอ. ๑ ของวิ ช าชี พ แพทย และสอดคล อ งกั บ เกณฑ TMC.WFME.BME. Standards (2021) คื อ หลั ก สู ต ร แพทยศาสตรบัณฑิต ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕ ที่มุงเนนการผลิตบัณฑิตที่มีลักษณะบัณฑิตพึงประสงค คือ PLAI : P = Professional, L = Leadership, A = Active Learning, Life-Long Learning, I = Internationalization ใหเริ่มใชกับนักศึกษาแพทยที่รับเขาตั้งแตปการศึกษา ๒๕๖๕ เปนตนไป ๕. กาวตอไปของคณะแพทยศาสตร ศาสตราจารยคลิน ิก นายแพทยสุวัฒ น เบญจพลพิทักษ คณบดี มีความมุง มั่นที่จะพัฒ นาคณะ แพทยศาสตร ใ ห ม ี ว ั ฒ นธรรมองค ก รเป น ไปตามเกณฑ ค ุ ณ ภาพการศึ ก ษาเพื ่ อ การดํ า เนิ น การที ่ เ ป น เลิ ศ (Education Criteria for Performance Excellence, EdPEx) 2021 คณะฯ ไดรับการตรวจประเมินตามเกณฑ คุณภาพการศึกษาเพื่อการดําเนินการที่เปนเลิศ เมื่อวันจันทรที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๔ และไดรับรายงานการตรวจ ประเมิน (Feedback Report) เมื่อวันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ ซึ่งทางคณะผูตรวจประเมินไมไดแจงคะแนน แตผลประเมินรวมอยูที่ประมาณ ๑๕๐ – ๒๐๐ นอกจากนี้ คณะแพทยศาสตรไดยื่นขอรับการตรวจประเมิน ระดับหลักสูตรตามเกณฑมาตรฐานสากลสําหรับแพทยศาสตรศึกษา, TMC.WFME.BME. Standards (2021) ๒๑

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

และไดรับการตรวจประเมินทั้งที่คณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลพระนั่งเกลา และโรงพยาบาลกําแพงเพชร ใน ระหวางวันที่ ๑๗-๒๐ มกราคม ๒๕๖๕ จากนั้น แพทยสภา มีหนังสือที่ พส ๐๑๒/๒๒๔๗ ลงวันที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๖๕ เรื่อง แจง ผลการตรวจประเมินหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปกติ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕ คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ดังนี้ ๑. เห็นชอบรับรองหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปกติ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕ คณะ แพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม (รับรองมาตรฐานถึงวันที่ ๒๙ กุมภาพันธ ๒๕๗๑) ๒. เห็นชอบรับรองสถาบัน ผานการประเมิน (รับรองมาตรฐานถึงวันที่ ๒๙ กุมพาพันธ ๒๕๗๑) และรับรองศักยภาพในการรับนักศึกษา ณ ปจจุบัน จํานวน ๔๘ คน โดยมีโรงพยาบาลพระนั่งเกลา เปนสถานฝกปฏิบัติทางคลินิกหลัก

เราจะพรอมใจกันกาวอยางมั่นคงในนักษัตรที่ ๒ *************************************************************

๒๒

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

หลักสูตรนั้นสําคัญไฉน

ศาสตราจารยกิตติคุณ นายแพทยเฉลิม วราวิทย ที่ปรึกษาคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

The physician shall selflessly practice medicine for the sole benefit of the patient and shall avoid causing him harm. He shall do so with respect, integrity and compassion and without any form of prejudice. Dr. Howard Spiteri หลักสูตร “หลัก” เปนคํานาม หมายถึง ความสําคัญ หรือ แกน “สูตร” มาจากภาษาสันสกฤต ออก เสียงวา สู-ตระ (sū́tra) สองพยางค. ตรงกับภาษาบาลีวา สุตตะ (สุตฺต) ความหมายของคํานี้คือ เชือก หรือการ รอยดวยดาย หลักสูตร แปลมาจากคําศัพทภาษาอังกฤษ curriculum มีรากศัพทมาจากภาษาละติน "currere" มีความหมายวา "วิ่ง การวิ่ง" หลักสูตรจึงเปรียบเสมือนลูวิ่งหรือสนามวิ่งแขงที่ผูเรียนจะตองฟนฝาอุปสรรค ความ ยากของวิชาหรือประสบการณการเรียนรูตาง ๆ ที่กําหนดไว อารมสตรองไดใหคํานิยามหลักสูตรไววา "running sequence of course or learning experience". จุดมุงหมายของหลักสูตรแพทยศาสตร คือ ผลิตแพทยที่มี สมรรถนะดานการบริการ ดานการแพทยและสาธารณสุขแกชุมชน สังคมและบริบาลแกผูปวย ครอบครัวตาม มาตรฐานวิชาชีพ ฉะนั้นหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตจึงกอรปดวยประมวลรายวิชาและกิจกรรมการเรียน การ สอนแบบตาง ๆ เพื่อผูเรียนจะไดเรียนรูแลวนําความรูไปปฏิบัติการบริบาลผูปวยและครอบครัว บริการประชาชน ใหมีสุขภาวะที่สมบูรณดวยการยึดประชาชนเปนสําคัญ และดวยหัวใจความเปนมนุษย การบริการประชาชนตอง อยูบนฐานของความรูความเขาใจในวิทยาศาสตรการแพทยและสาธารณสุข การบริบาลผูปวยมิใชเพียงรักษาตาม อาการแตตองรักษาตนเหตุของปญหาซึ่งรวมถึง การฟนฟูสภาพ การปองกันโรคและการสรางเสริมสุขภาพ การ บริการประชาชนหรือการบริบาลผูปวยที่มีประสิทธิภาพตองอยูบนฐานความรวมมือระหวางแพทยกับผูปวย ครอบครัวและประชาชน หมายความวาการบริบาลผูปวย ครอบครัวและประชาชนแบบองครวมที่ประกอบดวย การดูแลรางกาย จิตใจ สังคม และสิ่งแวดลอมไปพรอมกัน

๒๓

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๓ ผมไดรับทุนจากองคการอนามัยโลกไปศึกษาวิชาศึกษาศาสตรระดับปริญญาโทที่ มหาวิทยาลัยอิลลินอยส ประเทศสหรัฐอเมริกา วิชาบังคับหนึ่ง วิชาคือ วิชาการพัฒนาหลักสูตร (Curriculum Development) ที่มีเนื้อ หาสาระสําคัญ สองเรื่อง คื อ โครงสรางหลัก สูต ร และ หนา ที่ ของของหลัก สูต ร (Curriculum Structure and Curriculum Function) โครงสรางหลักสูตร มี ๓ แบบ คือ ๑) แบบรายวิชา (Subject-based Curriculum/Discipline-based Curriculum) ๒) แบบบูรณาการ (Integrated Curriculum) หลักสูตรแบบบูรณาการแบง เปนหลายสาขา เชน หลักสูตรระบบอวัย วะเปนฐาน (Organ Systems-based Curriculum), หลักสูตรปญหาเปนฐาน (Problem-based Curriculum), หลักสูตรวงจรชีวิตเปนฐาน (Life Cyclebased Curriculum) และ ๓) แบบสมรรถนะเปนฐาน (Competency-based Curriculum) หนาที่ของหลักสูตรแพทยศาสตรที่สําคัญ คือ พัฒนานักศึกษาแพทยแตละบุคคลใหมีคุณสมบัติดังตอไปนี้ ๑) มีสมรรถนะวิชาชีพแพทยเพื่อการบริบาลผูปวยและครอบครัว ๒) มีความรูและความสามารถพัฒนาระบบบริการสุขภาพใหเกิดประโยชนสูงสุดแกผูปวย ครอบครัว และชุมชน ๓) มีความรับผิดชอบตอหนาที่และทํางานเปนทีม ๔) รักษาเกียรติศักดิ์แหงวิชาชีพ (professionalism) ๕) เสนอความรูดานสุขภาพ การสรางเสริมสุขภาพ เทคโนโลยีทางการแพทยแกสังคม ๖) มีสมรรถนะการสื่อสาร การรวมมือการทํางานกับสหวิชาชีพ ๗) เก็บ รักษา ถายทอดมรดกทางวัฒนธรรม และดํารงชีวิตในสังคมอยางมีความสุข ๑. หลักสูตรแบบรายวิชา ในป ค.ศ ๑๙๑๐ A. Flexner ไดรายงาน Medical Education in the United States and Canada แก Carnegie Foundation for the Advancement of Teaching ข อ เสนอแนะที ่ ส ํ าคั ญ คื อ การเพิ ่ม วิ ช า วิทยาศาสตรและวิทยาศาสตรการแพทยไวในหลักสูตรระดับปริญญาบัณฑิต คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัย John Hopkins เปนคณะแพทยศาสตรแหงแรกที่จัดหลักสูตรแบบนี้ไวในระดับปรีคลินิก ๒ ปแรก สาระสําคัญ ของหลักสูตรแบบรายวิชา คือ การจัดโครงสรางแยกไวในแตละรายวิชาที่มีเนื้อหาไมเกี่ยวของกันอยางเปนระบบ และตอเนื่องอยางเปนขั้นตอนจากงายไปยาก การจัดประสบการณการเรียนรู คือ ผูสอนเปนผูถายทอดความรู แกผูเรียนที่ไดจากตําราหรือความรูที่ถายทอดกันมาและความรูแฝงของผูสอน การเรียนการสอนไมเกี่ยวของกับ วิชาอื่น ผูเรียนจะทองจํา ทําความเขาใจในเนื้อหาสาระของวิชานั้น ๆ และแสดงวาตนมีความรูมากนอยเพียงไรดู ไดจากผลการสอบ การวัดและประเมินผลเนนที่องคความรูของผูเรียนที่จะใชความรูเปนเครื่องมือการประกอบ อาชีพในอนาคต

๒๔

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

จุดเดนของหลักสูตรแบบรายวิชา ๑) หลักสูตรแบบรายวิชาสามารถผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพไวเปนจํานวนมาก ๒) ผูสอนจัดสาระเนื้อหาไวใหผูเรียนศึกษาอยางเปนระบบและครบถวนตามหลักสูตร ๓) การจัดการเรียนการสอนเริ่มจากองคความรูที่งายไปสูองคความรูที่ซับซอนและการจัดการเรียนการ สอนเปนไปอยางตอเนื่อง ๔) จุดมุงหมายของรายวิชา คือ การประยุกตความรูในวิชาตาง ๆ ไวเปนเครื่องมือการประกอบอาชีพ หลังจากการเรียนจบวิชานั้น จุดดอยของหลักสูตรแบบรายวิชา ๑) หลักสูตรเนนที่เนื้อหาวิชาการมากทําใหละเลยดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ๒) การจัดประสบการณการเรียนรูเนนการถายทอดความรูสูผูเรียนตามที่ปฏิบัติกันมา และยึดการเรียน การสอนแบบครูเปนสําคัญ (teacher center) ๓) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและเนื้อหาไมมีความสัมพันธกับวิชาอื่น ทําใหผูเรียนมองไมเห็น ความเชื่อมโยงระหวางเนื้อหาวิชาชัดเจน ๔) ผูเรียนไมทราบเปาหมายในการนําความรูไปประกอบวิชาชีพหรือไปใชทําอะไรชัดเจน ๒. หลักสูตรแบบบูรณาการ ปจจุบันความเขาใจในความหมายของคํา “บูรณาการ” ขึ้นอยูกับผูใชคํานี้วาจะนําไปใชในบริบทใด สืบ เนื่องมาจากหลักสูตรแบบรายวิชาระดับปรีคลินิกมีจุดดอย คือ ผูเรียนไมทราบเปาหมายในการนําความรูไ ป ประกอบวิชาชีพหรือไปใชทําอะไรและการเรียนการสอนมีความเชื่อมโยงระหวางวิชาไมชัดเจน ทําใหผูเรียนขาด แรงจูงใจในการเรียน เชน นักศึกษาแพทยศึกษาโครงสรางของรางกายที่ภาควิชากายวิภาคศาสตรกับการเรียน การทําหนาที่ของรางกายในภาควิชาสรีรวิทยา และเรียนการเปลี่ยนแปลงทาง เมแทบอลิซึม (metabolism) ของรางกาย ในวิชาชีวเคมี ซึ่งการเรียนรูในสามวิชานี้มีความสัมพันธกันมากในการดํารงชีวิตแตผูเรียนมองไมเห็น ชัดเจนมีผลใหผูเรียนไมมีแรงจูงใจในการเรียนรู ในกลางศตวรรษที่ ๒๐ มีนักการศึกษาและอาจารยแพทยที่ Case Western Reserve University School of Medicine ไดพัฒนาหลักสูตรระดับปรีคลินิกดวยการการบูร ณาการวิชาตาง ๆ ที่ใกลเคียงหรือสัมพันธกันมาจัดการเรียนการสอนใหขนานกัน หรือเรียงลําดับเนื้อหาวิชาให สัมพันธกัน และนํามาสอนพรอมกันดวยการจัดรวมกันเปนโมดูล (module) เรียกวา การบูรณาการในแนวราบ (horizontal integration) และ การนําเนื้อหาในวิทยาศาสตรคลินิกที่สัมพันธกับเนื้อหาพื้นฐานทางวิทยาศาสตร การแพทย (ปรีคลินิก) และนํามาสอนพรอมกันดวยการจัดเปนโมดูล เรียกวา การบูรณาการในแนวตั้ง (vertical integration) ดัง จะยกตั วอย างดั ง ตอไปนี้ ตัวอยาง การบูรณาการในแนวราบ คือ การนํ าเนื ้อหาวิชา ทั้ ง โครงสราง หนาที่ของวิชากายวิภาคศาสตร สรีรวิทยา ชีวเคมีตั้งแตระดับโมเลกุล เซลล เนื้อเยื่อ อวัยวะมารวมกัน และจัดการเรียนการสอนรวมกันเปนโมดูล หรือการจัดเนื้อหารายวิชาจุลชีววิทยา ภูมิคุมกันวิทยา เภสัชวิทยา ๒๕

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

พยาธิวิทยามารวมกันไวในอีกหนึ่งโมดูล การจัดกลุมดังกลาวทําใหลดความซํ้าซอนในเนื้อหาสาระในแตละวิชา ผูเรียนเห็นความเชื่อมโยงของความรูจะชวยใหเกิดความเขาใจในเนื้อหาวิชาตาง ๆ ดีขึ้น และตัวอยาง การบูรณาการในแนวตั้ง คือ การนําเนื้อหาในวิชาพื้นฐานทางวิทยาศาสตรการแพทย (ปรีคลินิก) มา บูรณาการกับ วิทยาศาสตรคลินิกอันประกอบดวย การซักประวัติ การตรวจรางกาย การวินิจฉัยโรค การรักษา การสื่อสารมาจัดเปนโมดูลแลวนํามาจัดการเรียนการสอนควบคูกับโมดูลบูรณาการแนวราบ ในระดับคลินิกการ จัดหลักสูตรแบบบูรณาการแนวราบและแนวตั้งก็ทําเชนเดียวกันคือ การจัดโมดูลการเรียนการสอนดวยการรวม เนื้อหาวิชาที่ใกลเคียงกันมาไวดวยกันและมีเนื้อหาวิชาวิทยาศาสตรการแพทยระดับคลินิกมารวมดวย เชน วิชา ออโธปดิกส จัดเนื้อหาวิชารังสีวิทยา เวชศาสตรฟนฟู วิสัญญีวิทยา เปนบูรณาการแบบแนวนอน แตเมื่อนําเนื้อ วิชากายวิภาคในระบบกลามเนื้อและกระดูก สรีรวิทยา เภสัชวิทยา และวิชาอื่น ๆ ทางปรีคลินิกมาประกอบเปน การเรียนการสอนสอนแบบบูรณาการแนวตั้ง ในทางปฏิบัติทุกรายวิชาในระดับคลินิกจะมีการบูรณาการทั้งสอง แบบในวิชานั้น ๆ และเปลี่ยนชื่อวิชาตามบริบทของแตละวิชา เชน Preoperative and Postoperative Care, Health and Disease of Adults and Elderlies คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยามนําแนวคิด หลักสูตรระบบอวัยวะ (Organ System-based Curriculum) เปนหลักสูตร แบบบูรณาการ โครงสรางหลักสูตรประกอบดวยการนําความรู ทักษะ และ เจตคติ ที่มีความสัมพันธตั้ง แตเริ่มตน จนสําเร็จการศึกษา อันเปน หลักการของหลักสูตรบูรณการแบบเกลียวสวาน (Integrated Spiral Curriculum) หลักสูตรแบบนี้เปนการนําองคความรู ทักษะและเจตคติ มาประกอบรวมกัน ใหมีความเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน มีผลลัพธการเรียนรูที่สอดคลองกันตลอดหลักสูตร และ จัดประสบการณการ เรียนรูใหหลากหลายตามความสามารถของผูเรียน การจัดการเรียนการสอนเริ่มตนดวยการทําความตกลง ระหวางผูสอนและผูเรียนดวยการสรางบรรยากาศการเรียนใหเกิดแรงจูงใจในการเรียนตามจิตวิทยาการเรียนรู เชน ปฏิบัตินิยม (Pragmatism) อัตถิภาวนิยม (Existentialism) พัฒ นาการนิยม (Progressivism) การสราง ความรูนิยม/คอนสตรัคติวิสต (Constructivism) หลักการเรียนการสอนที่สําคัญคือ ผูสอนตองมีความเชื่อวา ไม เทากัน (การสอน ≠ การเรียน, teaching ≠ learning) การเรียนรูขึ้นอยูกับความรูเดิมของผูเรียนที่สัมพันธกับ ความรูใหมที่ไ ดรับ การจัดการเรียนการสอนตองใหผูเรียนมีสวนรวมในกระบวนการเรียนการสอน ผูสอน เสนอแนะสิ่งที่ถูกและแกไขสิ่งที่ผิด ผูสอนจะตองเปนกัลยาณมิตรกับผูเรียน วิธีการเรียนการสอนจัดไดหลายแบบ เชน การเรียนการสอนแบบกลุมยอย การเรียนรูดวยการนําตนเอง การเรียนแบบโครงการและการทําวิจัย การ จัดประสบการณการเรียนรูดวยวิธีตาง ๆ จะชวยผูเรียนใหมีทักษะการคิดอยางวิจารณญาณ ความคิดริเริ่ม สรางสรรค การสื่อสารและการประเมินตนเอง ยังสงผลใหผูเรียนสรางความรูใหมที่มีความหมายดวยตนเองและ การนําความรูเอาไปปฏิบัติเพื่อเตรียมความพรอมการประกอบอาชีพในอนาคตและสรางนิสัยการเรียนรูตลอด ชีวิต

๒๖

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

จุดเดนของหลักสูตรแบบบูรณาการ ดานผูเรียน ผูเรียนได ๑) สรางความคิดวิจารณญาณ ความคิดริเริ่ม ความคิดสรางสรรค การตัดสินใจและการแกปญหา ๒) สรางทักษะการเรียนรูดวยการนําตนเองและการเรียนรูตลอดชีวิต ๓) สรางทักษะการเรียนรูรวมกัน (collaborative learning) ๔) เรียนรูวิชาชีพในระยะเริ่มตนแหงการเรียนรูและในสภาพความเปนจริง ๕) บูรณาการความรูแบบแนวราบระหวางวิชาวิทยาศาสตรการแพทย และบูรณาการแบบแนวดิ่ง ระหวางวิชาวิทยาศาสตรการแพทยและวิทยาศาสตรคลินิก ๖) เกิดแรงจูงใจในการเรียนรูเมื่อรูวาความรูที่เรียนนั้นมีประโยชนในปจจุบันและอนาคต ดานผูสอน ผูสอนจัดวิธีการเรียนการสอนไดหลากหลาย ใชเทคโนโลยีการศึกษาประกอบการสอนได เหมาะกับพฤติกรรมการเรียนของผูเรียนในปจจุบัน จุดที่ควรระวังหรือปรับปรุง การจัดหลักสูตรบูรณาการตามระบบอวัยวะที่มีจุดที่ตองระวังดังนี้ ดานสื่อการเรียนการสอน ๑) การเรียนกายวิภาคศาสตรที่ตองเรียนจากอาจารยใหญอาจเกิดปญหาการเก็บรางอาจารยใหญไว คางป หรือการจัดหลักสูตรที่ยึดการผาชําแหละรางอาจารยใหญตามระบบเปนหลักอาจทําใหการ จัดหลักสูตรไมเปนไปตามลําดับ (alignment) ๒) ถาการจัดหลักสูตรมีปญหาการจัดหลักสูตรไมเปนไปตามลําดับจะทําใหผูเรียนมองภาพใหญไมชัด เชน การเรียนโรคเบาหวานและโรคแทรกซอนในระบบอื่นที่ยังไมไดเรียน เชน โรคแทรกซอนใน ระบบไต (Renal system) จะเปนเหตุให ผูเรียนมีความรูอยางผิวเผินที่เกี่ยวกับโรคแทรกซอน ระบบไตได ๓) การจัดเรียงระบบอาจเปนปญหาหากเรียงลําดับกอนหลังไวไมเหมาะ เชน เรียนเภสัชวิทยา AEC inhibitor ในระบบไต กอนเรียนสรีรวิทยาของหัวใจในระบบหัวใจหลอดเลือด (Cardiovascular system) อาจทําใหผูเรียนมีความเขาใจ preload and afterload ของหัวใจอยางผิวเผินได ๔) การใชเวลาในการเรียนการสอนในแตละคาบอาจใชเวลามากกวาที่กําหนดไวเนื่องจากผูเรียนบาง คนขาดความถนัดในกระบวนการเรียนรูในแบบนั้น ๆ และอาจารยตองใชเวลานานมากกวาที่กําหนดไว ๕) การจัดการเรียนการสอนจะไมถูกใจผูเรียนหากชอบการเรียนแบบตั้งรับ (passive learning)

๒๗

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

๓. หลักสูตรสมรรถนะเปนฐาน (Competency-based Curriculum) เปนหลักสูตรที่เนนกระบวนการเรียนการสอนที่มุงหวังใหผูเรียนมีสมรรถนะในการประกอบอาชีพหรือ วิชาชีพ หลักการที่สําคัญของหลักสูตร คือยึดผูเรียนเปนสําคัญและสรางเสริมสมรรถนะใหเปนไปตามเปาหมาย ของหลักสูตร ความตองการของผูเรียน ผูสอนและสังคม และมิใชเปนการเรียนเพื่อมีความรูเทานั้นแตตองนําไป ปฏิบัติได แนวคิดหลักสูตรสมรรถนะเปนฐาน หลักสูตรแบบนี้จะเนนการเรียนการสอนเพื่อ ๑) พัฒนาศักยภาพของผูเรียนรายบุคคลตามความถนัดและศักยภาพของแตละบุคคล ๒) ใหผูเรียนเกิดสุขภาวะ (well-being) ทั้งในดานสุขภาพ ความฉลาดทางอารมณอยางสมดุลเพื่อใชใน การดํารงชีวิต การแกปญหาในสถานการณตาง ๆ ในอาชีพ ชีวิตประจําวัน และการสรางประโยชน แกสังคม ๓) ใหผูเรียนยืดหยุนพรอมปรับตัว พัฒนาผูเรียนใหรูเทาทัน และสามารถปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลง ของสภาพสังคม ๔) ใหผูเรียนมีความสามารถในการสื่อสาร การรวมมือประสานงาน ความสามารถในการรับและสงสาร การถายทอดความคิด ความรูความเขาใจ ความรูสึกและทัศนะของตนเอง เพื่อการแลกเปลี่ยนขอมูล ขาวสาร และประสบการณอันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาตนเองและสังคม ๕) ใหผูเรียนมีความสามารถในการคิดตาง ๆ คือ การคิดวิเคราะห การคิดสัง เคราะห การคิดอยาง สรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ และการคิดเปนระบบ ๖) ใหผูเรียนมีความสามารถในการแกปญหา และอุปสรรคตาง ๆ ที่เผชิญไดอยางถูกตองเหมาะสมบน พื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรม และขอมูลสารสนเทศ โดยคํานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น ตอตนเอง สังคมและสิ่งแวดลอม ๗) ใหผูเรียนมีความสามารถในการใชทักษะชีวิตในดานตาง ๆ คือ การดําเนินชีวิตประจําวัน การเรียนรู ดวยตนเอง การเรียนรูอยางตอเนื่อง การทํางาน และการอยูรวมกันในสังคมดวยการสรางเสริม ความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล จุดเดนของหลักสูตรสมรรถนะเปนฐาน ๑) ลดวิธีการเรียนรูที่ไมจําเปนออก เชนการทองจําที่ไมจําเปน แตมุงเนนการพัฒนาปญญา ทักษะและ เจตคติ ๒) วัดและประเมินผลดวยการสังเกตพฤติกรรมของผูเรียนที่แสดงใหเห็นถึงสมรรถนะหลัก (พฤติกรรม) ที่ตองปฏิบัติไ ดตามวิชาชีพและสมรรถนะวิชาชีพดานทักษะพิสัย (Entrust-able professional activities) ๓) ผูสําเร็จการศึกษามีความสามารถในการปรับตัว ประยุกตใช และตอยอดความรูในทักษะในระดับสูง ตอไป ๒๘

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

๔) ผูสําเร็จการศึกษามีความรู ทักษะสอดคลองกับวิชาชีพตรงกับความตองการของตนเองและสังคมอัน จะสงผลดีถึงสถาบันหรือการประกอบวิชาชีพในอนาคต สิ่งทาทายการบริหารการศึกษาหลักสูตรสมรรถนะเปนฐาน ๑. มุงหวังความเปนเลิศดานคุณภาพ ผูบริหารการศึกษาควรมุงหวังความเปนเลิศดานคุณภาพที่ตอง ตระหนักรูในดานตาง ๆ ดังนี้ ๑.๑) มั่นใจไดอยางไรวามีการจัดการเรียนการสอนตลอดหลักสูตรที่มีความสอดคลองกันตลอดหลักสูตร ๑.๒) ผูสอนมีความเขาใจในความเปนเลิศทางวิชาการตรงกันดวยจุดมุงหมายเดียวกันไดอยางไร ๑.๓) ผูบริหารการศึกษาจะตองปรับเปลี่ยนผูที่มีทัศนคติทํางานไปวัน ๆ ใหเปนการทํางานเพื่อความเปน เลิศดานคุณภาพไดอยางไร ๒. ขนาดของกลุมผูเรียน นักศึกษาในแตละชั้นปที่มีจํานวนมากจะทําใหการจัดการเรียนการสอนใหผูเรียนมี สมรรถนะทุกคนไดยาก ฉะนั้นการจัดกลุมผูเรียนเปนกลุมยอยมีขนาด ๘-๑๒ คนตอกลุมจะชวยใหผูเรียน และผูสอนมีปฏิสัมพันธกันมากขึ้นจะมีผลใหทุกคนเกิดการเรียนรูอยางลึกซึ้ง ๓. วัสดุอุปกรณการศึกษา หลักสูตรฐานสมรรถนะตองการใหผูเรียนมีความเปนเลิศดานคุณภาพ ผูบริหาร การศึกษาตองจัดวัสดุ อุปกรณการศึกษาใหพรอม การจัดหองเรียนแบบ “หองเรียนทันสมัย”(modern classrooms) พรอมดวยเทคโนโลยีที่ทันสมัยจะชวยใหการบริหารการศึกษาประสบความสําเร็จ ๔. การวัดและประเมินผลการปฏิบัติการ สิ่งที่ทาทายมากคือการวัดและประเมินผลการปฏิบัติการ การ พัฒ นาเครื่องมือวัดผล วิธีการวัดผล ทักษะของผูวัดผลและการประเมินผล สถาบันการศึกษาควรจัด ประชุมปฏิบัติแกผูวัดผลในหัวขอตอไปนี้ ๔.๑) วิธีการประเมินผลลัพธการปฏิบัติการที่มีความตรงและความเที่ยง ๔.๒) วิธีการประเมินผูเรียนรายบุคคลโดยไมพึ่งเครื่องมือวัดผลการปฏิบัติการมาตรฐาน ๔.๓) วิธีการกําหนดเกณฑผลลัพธการปฏิบัติการและไมใหมีความแตกตางระหวางสถาบัน ๕. การสรางการยอมรับ และความเขาใจกับผูใ ชบัณฑิต ผูใชบัณฑิตบางคนอาจไมเขาใจในปรัชญาของ หลักสูตรสมรรถนะเปนฐาน สถาบันการศึกษาควรประชาสัมพันธใหผูใชผลผลิตวาบัณฑิตมีความพรอมใน การปฏิบัติงานเพื่อผูใชบัณฑิตจะไดเขาใจในสมรรถนะการทํางานของบัณฑิต ๖. การพั ฒ นาคณาจารย การพั ฒ นาอาจารย ด า นศึ ก ษาศาสตรใ ห มี ค วามรู  ความสามารถในการจั ด ประสบการณการเรียนรู วิ ธีการประเมิน ผล การเตรีย มความสามารถของผูส อนใหม ีทักษะการจั ด ประสบการณการเรียนทักษะการปฏิบัติการในแตละรายวิชา และการวัดผลดานอื่น ๆ เชน การสื่อสาร การวิเคราะห การแกปญหาเพื่อผูสอนจะไดนําไปวางแผนการศึกษาใหสมบูรณยิ่งขึ้น

๒๙

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ตามแนวคิดและวิสัยทัศนของนายแพทยบุญ วนาสิน ที่จะสรางโรงเรียนแพทยและผลิตบัณฑิตแพทยให มีสมรรถนะเปนเลิศทางวิชาชีพเทาเทียมอารยประเทศ จึง ไดเชิญผูทรงคุณวุฒิจากคณะแพทยศาสตรศิริราช พยาบาลมาเปนกรรมการพัฒนาหลักสูตรและไดรับความรวมมือจากมหาวิทยาลัยสยามกอตั้งคณะแพทยศาสตรขึ้น ผูรับผิดชอบการพัฒนาหลักสูตรและการประสานงานในขณะนั้นคือ รองศาสตราจารยนายแพทยชูเกียรติ อัศวาณิชย, รองศาสตราจารย ดร.เสาวณีย รัต นพานี และอาจารยสุดจิตร เมืองเกษม มหาวิทยาลัยสยามไดเสนอหลักสูตร แบบโครงสรางแบบรายวิชาแกแพทยสภา แตแพทยสภามีขอเสนอแนะใหปรับเปลี่ยนหลักสูตรโครงสรางแบบ รายวิชาเปนแบบบูรณาการ ผูรับผิดชอบจึงไดปรับปรุงโครงสรางหลักสูตรระดับปรีคลินิกเปนแบบบูรณาการ ระบบอวัยวะเปนฐานรวมกับหลักสูตรแบบรายวิชาคือวิชาการศึกษาทั่วไป วิชาวิทยาศาสตร และวิชาระบบ สุขภาพ พรอมกับการจัดหลักสูตรแบบสมรรถนะเปนฐานไวในระดับคลินิก ตลอดระยะเวลา ๑๒ ปที่ผานมา หลักสูตรแพทยศาสตรไ ดรับการปรับปรุง ใหญเพื่อสรางเสริมจุดแข็ง ปรับปรุง จุดออนใหสอดคลองกับการ เปลี่ยนแปลงกับกระบวนการบริหารการศึกษาในปการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๙ และ พ.ศ. ๒๕๖๕ การปรับปรุงทั้ง สองครั้ง ทางคณะฯ ไดคงโครงสรางหลักสูตรและหนาที่ของหลักสูตรไวเหมือนเดิมเพียงแตลดหนวยกิตและ ปรับปรุงเนื้อหาในบางวิชาใหเหมาะสมยิ่งขึ้นพรอมทั้งเพิ่มวิชาที่จะมีประโยชนแกนักศึกษาในอนาคต สิ่งที่ทาทาย คณาจารยมาก คือ ๑) คณาจารยที่คณะแพทยศาสตรและโรงพยาบาลพระนั่งเกลารับทราบและเขาใจในปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ นโยบาย จุดมุงหมาย เปาหมาย วัตถุประสงค กิจกรรมที่คณะแพทยศาสตรและโรงพยาบาลพระนั่งเกลา กําหนดไวและพรอมนําไปปฏิบัติมากนอยเพียงไร ๒) การพัฒนาหลักสูตรใหเหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมทุกหกปควรสอดคลองกับหลักสูตรแกนกลาง ของชาติ (มคอ. ๑) และตองสอดคลองกับมหาวิทยาลัย (มคอ. ๒) การพัฒนาหลักสูตรควรคิดนอกกรอบ เพื่อเปนผูนําในแพทยศาสตรหรือไม ๓) จะทําอยางไรในการสงเสริมคณาจารยทุกทานกําลังทําอยูคือพัฒนาหลักสูตรรายวิชา (มคอ. ๓,๔,๕,๖,๗) ใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลและ ๔) การบริ หารการศึ กษาในป จจุบ ัน ที ่ม ีค วามสํา คั ญ มากคือ การบริ หารการศึ ก ษาใหเ ป นไปตามปณิธ าน โครงสรางและหนาที่ของหลักสูตรบูรณาการทั้งแนวราบและแนวตั้ง ความรวมมือการบริหารจัดการศึกษา ระหวางอาจารยคณะแพทยศาสตรกับอาจารยโรงพยาบาลพระนั่งเกลาที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลให บรรลุตามพันธกิจของคณะแพทยศาสตรและโรงพยาบาลพระนั่ง เกลาดวยการเตรียมเนื้อหาตามเกณฑ มาตรฐานผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมของแพทยสภา และเปนปจจุบันการจัดประสบการณการเรียนรู การ นํานวัตกรรมการศึกษามาเสริมการเรียนการสอนใหหลากหลาย การจัดหาวัสดุอุปกรณการศึกษา สถานที่ เรียน สภาพแวดลอม เพื่อสงเสริมการเรียนรูของนักศึกษาแพทย เพิ่มและพัฒนาวิธีการวัดและประเมินผล ใหสอดคลองกับศู น ยประเมิน และรับ รองความรูค วามสามารถในการประกอบวิชาชีพ เวชกรรม และ ขอเสนอแนะของสหพัน ธแพทยศาสตรศึกษาโลก (World Federation Medical Education) และตอง มั่นใจไดวาผลลัพธการเรียนรูและสมรรถนะของบัณฑิตแพทยตรงตามคุณสมบัติของบัณฑิตแพทยตามที่ หลักสูตรกํ าหนดและบรรลุแนวคิดและวิส ัยทัศ นของนายแพทยบุ ญ วนาสิน ที่ใหการสนับสนุนคณะ แพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยามมาตลอด ๓๐

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาแพทยศาสตร ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕ คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

รองศาสตราจารย (พิเศษ) นายแพทยเอกชัย โควาวิสารัช ประธานอนุกรรมการจัดทําหนังสืออนุสรณ ๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ๒๕๖๕

คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ไดรับความเห็นชอบรับรองหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ฉบั บ ปรั บปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕ เมื่อ วันที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๖๕ จากแพทยสภา เนื้อหาของหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต โดยยอ ซึ่งคัดมาจาก มคอ. ๒ หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๕ ดัง นี้ คือ ๑. การบริหารจัดการดานการจัดการเรียนการสอน คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ดําเนินการจัดการเรียนการสอน เปนระดับ ดังนี้ ๑.๑ ระดับเตรียมแพทย หมวดวิชาศึกษาทั่วไป สวนใหญจัดการเรียนการสอนในชั้นปที่ ๑ โดยคณะศิลปศาสตร และคณะ วิทยาศาสตร รับผิดชอบจัดการเรียนการสอน ประกอบดวย กลุมวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร กลุมวิชา ภาษาและการสื่อสาร กลุมวิชาคณิตศาสตรและวิทยาศาสตร กลุมวิชาสุนทรียศาสตรและพลศึกษา หมวดวิชาเฉพาะ ดานวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร ที่จัดการเรียนการสอนในชั้นปที่ ๑ ไดแก รายวิชา หลักเคมีและเคมีอินทรียที่จําเปนสําหรับวิทยาศาสตรการแพทย รายวิชาหลักฟสิกสที่จําเปนสําหรับวิทยาศาสตร การแพทย รายวิชาหลักชีววิทยาที่จําเปนสําหรับวิทยาศาสตรการแพทย และรายวิชาหลักชีวเคมีที่จําเปนสําหรับ วิทยาศาสตรการแพทย และรายวิชาพฤติกรรมศาสตรและการพัฒนาสังคมดานจิตวิทยา คณะแพทยศาสตรเปน ผูดําเนินการจัดการเรียนการสอนเอง คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรหมวดวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยสยาม กํากับการจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ๑.๒ ระดับปรีคลินิก (ชั้นปที่ ๒ – ๓) หมวดวิชาเฉพาะ กลุมวิชาวิทยาศาสตรการแพทย จัดการเรียนการสอนเองโดยคณะแพทยศาสตร สวน กลุมวิชาเฉพาะ ดานสงเสริมสมรรถนะที่เปนจุดเนนของสถาบัน ไดแก ดานบริหารจัดการ และภาวะผูนํา จํานวน ๔ หนวยกิต คณะบริหารธุรกิจ เปนผูจัดการเรียนการสอน ๓๑

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

การบริหารจัดการรายวิชา ดําเนินการในรูปแบบของคณะกรรมการรายวิชา ภายใตการกํากับการ จัดการเรียนการสอนของคณะกรรมการบริหารการศึกษาระดับปรีคลินิก ที่ประกอบดวย คณบดี เปนที่ปรึกษา ผูชวยคณบดีฝายวิชาการ เปนประธาน ประธานและรองประธานรายวิชาทุกรายวิชาในภาคการศึกษานั้น ๆ เปน กรรมการ ทําหนาที่กํากับการจัดการเรียนการสอนของกรรมการรายวิชา ทั้งในดานกลยุทธการสอน การวัดและ ประเมินผลการศึกษา ใหเปนไปตามนโยบายของคณะแพทยศาสตร และคณะกรรมการบริหารหลักสูตร สําหรับรายวิชาที่มีการเรียนการสอนเกี่ยวของกับการใชรางอาจารยใหญ ไดแก รายวิชาในระบบตาง ๆ เชน ระบบผิวหนังและเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่เกี่ยวของ ระบบกระดูกและกลามเนื้อ ระบบประสาท ระบบหายใจ และ ระบบอื่น ๆ จัดการเรียนการสอนโดยใชหองปฏิบัติการกายวิภาคศาสตรที่อาคารเลขที่ ๓ อาคารอบรม ถนน อิสรภาพ แขวงบานชางหลอ เขตบางกอกนอย กรุงเทพมหานคร ๑.๓ ระดับคลินิก (ชั้นปที่ ๔ – ๖) หมวดวิ ช าเฉพาะ กลุ ม วิ ช าชี พ เฉพาะทางการแพทย จัด การเรี ย นการสอน และฝ ก ปฏิ บั ต ิ ง านที่ โรงพยาบาลพระนั่ง เกลา และโรงพยาบาลในกลุมเครือขายบริการสุขภาพ ประกอบดวย โรงพยาบาลชุมชน ๕ แหง ไดแก โรงพยาบาลบางกรวย โรงพยาบาลบางใหญ โรงพยาบาลบางบัวทอง โรงพยาบาลไทรนอย และ โรงพยาบาลปากเกร็ด รวมถึงโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล โดยศูนยแพทยศาสตรชั้นคลินิกโรงพยาบาลพระ นั่งเกลา รับผิดชอบจัดการเรียนการสอน รวมกับคณะแพทยศาสตร สวนกลุมวิชาเฉพาะที่สงเสริมศักยภาพตาม ความสนใจของผูเรียน รายวิชาในสาขาวิชาที่มีนักศึกษาแพทยเลือกลงทะเบียนเรียน สาขาวิชานั้นจะเปน ผูรับผิดชอบจัดการการเรียนการสอนรายวิชานั้น ๆ การฝกปฏิบัติงานของนักศึกษาแพทยชั้นปที่ ๖ ศูนยแพทยศาสตรชั้นคลินิกโรงพยาบาลพระนั่งเกลา รวมกับคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม จะจัดนักศึกษาบางสวนใหไปปฏิบัติงานที่โรงพยาบาลศูนยและ โรงพยาบาลทั่วไป ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขตามความเหมาะสมและบริบทตาง ๆ ที่อาจมีการเปลี่ยนแปลง การบริหารจัดการรายวิชา ดําเนิน การในรูปแบบของคณะกรรมการรายวิชา ภายใตการกํากับการ จัดการเรียนการสอนของคณะอนุกรรมการศูนยแพทยศาสตรชั้นคลินิกที่ประกอบดวย ผูอํานวยการโรงพยาบาล พระนั ่ ง เกล า คณบดี ค ณะแพทยศาสตร ศาสตราจารย ก ิ ตติ คุ ณ นายแพทย เ ฉลิ ม วราวิท ย เปน ที่ ป รึ ก ษา ผูอํานวยการศูนยแพทยศาสตรชั้นคลินิก เปนประธาน รองผูอํานวยการศูนยแพทยศาสตรชั้นคลินิกฝายบริหาร เปนรองประธาน รองผูอํานวยการศูนยแพทยศาสตรชั้นคลินิกฝายการศึกษาและประเมิน รองผูอํานวยการศูนย แพทยศาสตรชั้นคลินิกฝายพัฒนาอาจารย รองผูอํานวยการศูนยแพทยศาสตรชั้นคลินิกฝายประกันคุณภาพ รอง ผูอํานวยการศูนยแพทยศาสตรชั้น คลิน ิกฝายวิจัย รองผูอํานวยการศูนยแพทยศาสตรชั้นคลินิกฝายกิจการ นักศึกษา และหัวหนาภาควิชาตาง ๆ เปนกรรมการ ทําหนาที่กํากับการจัดการเรียนการสอนของกรรมการ รายวิ ช า ทั ้ ง ในด า นกลยุ ท ธ ก ารสอน การวั ด และประเมิ น ผลการศึ ก ษา ให เ ป น ไปตามนโยบายของคณะ แพทยศาสตร และคณะกรรมการบริหารหลักสูตร

๓๒

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

๒. หลักสูตร ๒.๑ จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไมนอยกวา ๒๔๔ หนวยกิต ๒.๒ โครงสรางหลักสูตร จัดทําโครงสรางหลักสูตรตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานคุณวุฒ ิระดับปริญ ญาตรี สาขาวิชาแพทยศาสตร พ.ศ. ๒๕๖๑ ประกอบดวย ๒.๒.๑ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไมนอยกวา ๓๓ หนวยกิต ๑) ใหเรียนแตละกลุมวิชาตามที่กําหนด จํานวน ๑๘ หนวยกิต ดังนี้ - กลุมวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ๓ หนวยกิต - กลุมวิชาภาษาและการสื่อสาร ๙ หนวยกิต - กลุมวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร ๓ หนวยกิต - กลุมวิชาพลศึกษา สุขศึกษา และสุนทรียศาสตร ๓ หนวยกิต ๒) ใหเลือกเรียนรายวิชาในกลุมวิชาตาง ๆ ไดอีกไมนอยกวา ๑๕ หนวยกิต ๒.๒.๒ หมวดวิชาเฉพาะ ไมนอยกวา ๒๐๕ หนวยกิต ประกอบดวย ๑) กลุมวิชาวิทยาศาสตร และคณิตศาสตร ๑๑ หนวยกิต ๒) กลุมวิชาวิทยาศาสตรการแพทย ๖๘ หนวยกิต ๓) กลุมวิชาเฉพาะทางการแพทย ๑๑๒ หนวยกิต ๔) กลุมวิชาเฉพาะที่สงเสริมสมรรถนะที่เปนจุดเนนของสถาบัน หรือสงเสริมศักยภาพตามความสนใจของผูเรียน ไมนอยกวา ๑๔ หนวยกิต ๒.๒.๓ หมวดวิชาเลือกเสรี ไมนอยกวา ๖ หนวยกิต

๓๓

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

๓. แผนการศึกษา ปการศึกษาที่ ๑ รหัสวิชา

ภาคการศึกษาที่ ๑

หนวยกิต

๒๔๐-๑๒๐ หลักเคมีและเคมีอินทรียที่จําเปนสําหรับ วิทยาศาสตรการแพทย (Essential Chemistry and Organic Chemistry for Medical Sciences) ๒๔๐-๑๒๑ หลักฟสิกสที่จําเปนสําหรับวิทยาศาสตรการแพทย (Essential Physics for Medical Sciences) ๑๐๑-๒๐๑ ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร (Thai Language for Communication) ๑๐๑-๒๐๔ ภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวัน (Daily Life English) ๑๐๑-๓๐๑ ทักษะดิจิทัลสําหรับศตวรรษที่ ๒๑ (Digital Literacy for 21ST Century) ๑๐๑-๔๐๑ ชีวิต สุขภาวะ และการออกกําลังกาย (Life, Well-Being and Sports) xxx-xxx กลุมวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร รวม

๓๔

ทฤษฎี

ศึกษา ดวยตนเอง ชม./สัปดาห ๐ ๔ ปฏิบัติ













































๓ ๑๙

X X

X X

X X

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ปการศึกษาที่ ๑ ทฤษฎี

ศึกษา ดวยตนเอง ชม./สัปดาห ๒ ๗ ปฏิบัติ

รหัสวิชา

ภาคการศึกษาที่ ๒

หนวยกิต

๒๔๐-๑๒๒

หลักชีววิทยาที่จําเปนสําหรับวิทยาศาสตร การแพทย (Essential Biology for Medical Sciences) หลักชีวเคมีที่จําเปนสําหรับวิทยาศาสตร การแพทย (Essential Biochemistry for Medical Sciences) พัฒนาการทางพฤติกรรมและจิตสังคม (Behavioral Science and Psychosocial Development) หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนา ที่ยั่งยืน (Sufficiency Economy Philosophy for Sustainable Development) หลักตรรกศาสตรและทักษะการคิดเพื่อการ เรียนรู ตลอดชีวิต (Principles of Logics and Thinking Skills for Lifelong Learning ) ภาษาอังกฤษเพื่อการศึกษาทางวิชาการ (English for Academic Study) กลุมวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร เลือกเสรี ๑ รวม













































๓ ๓ ๒๒

๒ X X

๒ X X

๕ X X

๒๔๐-๑๒๓

๒๔๐-๑๒๔

๑๐๑-๑๐๑

๑๐๑-๑๐๘

๑๐๑-๒๐๕ xxx-xxx xxx-xxx

๓๕

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ปการศึกษาที่ ๒ รหัสวิชา ๒๔๐-๒๒๐ ๒๔๐-๒๒๑ ๒๔๐-๒๒๒ ๒๔๐-๒๒๓

XXX-XXX XXX-XXX

ภาคการศึกษาที่ ๑

หนวยกิต

หลักการทางวิทยาศาสตรการแพทย ๑ (Principles of Medical Sciences 1) หลักการทางวิทยาศาสตรการแพทย ๒ (Principles of Medical Sciences 2) หลักการทางวิทยาศาสตรการแพทย ๓ (Principles of Medical Sciences 3) ระเบียบวิธีวิจัยและเวชศาสตรเชิงประจักษ (Research Methodology and EvidenceBased Medicine) กลุมวิชาภาษาและการสื่อสาร กลุมวิชาพลศึกษา สุขศึกษาและสุนทรียศาสตร รวม

ทฤษฎี

ศึกษา ดวยตนเอง ชม./สัปดาห ๒ ๗ ปฏิบัติ





























๓ ๓ ๒๑

๒ ๒ X

๒ ๒ X

๕ ๕ X

ปการศึกษาที่ ๒ รหัสวิชา ๒๔๐-๒๒๔ ๒๔๐-๒๒๕ ๒๔๐-๒๒๖ ๒๔๐-๒๒๗ ๒๔๐-๒๒๘ ๒๔๐-๒๒๙

ภาคการศึกษาที่ ๒

หนวยกิต

ระบบผิวหนังและเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่เกี่ยวของ (Integumentary System) ระบบกระดูกและกลามเนื้อ (Musculoskeletal System) ระบบประสาท ๑ (Nervous System 1) ระบบประสาท ๒ (Nervous System 2) ระบบหายใจ ๑ (Respiratory System 1) ระบบหายใจ ๒ (Respiratory System 2) รวม ๓๖

ทฤษฎี

ศึกษา ดวยตนเอง ชม./สัปดาห ๒ ๕ ปฏิบัติ













































๒๐

X

X

X

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ปการศึกษาที่ ๓ ทฤษฎี

ศึกษา ดวยตนเอง ชม./สัปดาห ๒ ๗ ปฏิบัติ

รหัสวิชา

ภาคการศึกษาที่ ๑

หนวยกิต

๒๔๐-๓๒๐

ระบบโลหิตวิทยา (Hematopoietic and Lymphoreticular Systems) ระบบหัวใจหลอดเลือด ๑ (Cardiovascular System 1) ระบบหัวใจหลอดเลือด ๒ (Cardiovascular System 2) ระบบทางเดินอาหารและโภชนาการ (Gastrointestinal System and Nutrition) ระบบสุขภาพและเวชศาสตรปองกัน (Health System and Preventive Medicine) หลักการบริหารจัดการและการจัดการเชิงกลยุทธ สําหรับนักศึกษาแพทย (Management Principle and Strategic Management for Medical Students) ภาวะผูนําสําหรับนักศึกษาแพทย (Leadership for Medical Students) รวม





















































๒๐

๑๕

๑๐

๓๕

๒๔๐-๓๒๑ ๒๔๐-๓๒๒ ๒๔๐-๓๒๓ ๒๔๐-๓๒๘ ๒๔๕-๓๓๐

๒๔๕-๓๓๑

๓๗

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ปการศึกษาที่ ๓ ทฤษฎี

ปฏิบัติ

ศึกษา ดวยตนเอง ชม./สัปดาห ๒ ๗

รหัสวิชา

ภาคการศึกษาที่ ๒

หนวยกิต

๒๔๐-๓๒๔

ไตและระบบปสสาวะ (Renal and Urinary System) ระบบตอมไรทอ (Endocrine System) ระบบสืบพันธุและระยะปริกําเนิด (Reproductive System and Perinatal Period) เวชจริยศาสตรและการประกอบวิชาชีพเวชกรรม (Medical Ethics and Medical Professionalism) บทนําเวชศาสตรคลินิก (Introduction to Clinical Medicine) เลือกเสรี ๒ รวม





๓ ๔

๒ ๓

๒ ๒

๕ ๗

















๓ ๒๐

X X

X X

X X

๒๔๐-๓๒๕ ๒๔๐-๓๒๖

๒๔๐-๓๒๗

๒๔๐-๓๒๙ XXX-XXX

๓๘

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ปการศึกษาที่ ๔ รหัสวิชา ๒๔๑-๔๑๑ ๒๔๑-๔๑๒ ๒๔๑-๔๑๓ ๒๔๒-๔๑๑ ๒๔๒-๔๑๒ ๒๔๓-๔๑๑ ๒๔๓-๔๑๒ ๒๔๔-๔๑๑ ๒๔๔-๔๑๒ ๒๔๘-๔๑๑ ๒๔๙-๔๑๑

๒๔๕-xxx

ภาคการศึกษาที่ ๑ และ ๒ ศึกษาตอเนื่อง ๒ ภาคการศึกษา ทฤษฎีทางอายุรศาสตร ๑ (Theory in Medicine 1) การปฏิบัติงานทางอายุรศาสตร ๑ (Practice in Medicine 1) ทฤษฎีทางจิตเวชศาสตร ๑ (Theory in Psychiatry 1) ทฤษฎีทางศัลยศาสตร ๑ (Theory in Surgery 1) การปฏิบัติงานทางศัลยศาสตร ๑ (Practice in Surgery 1) ทฤษฎีทางสูติศาสตรและนรีเวชวิทยา ๑ (Theory in Obstetrics and Gynecology 1) การปฏิบัติงานทางสูติศาสตรและนรีเวชวิทยา ๑ (Practice in Obstetrics and Gynecology 1) ทฤษฎีทางกุมารเวชศาสตร ๑ (Theory in Pediatrics 1) การปฏิบัติงานทางกุมารเวชศาสตร ๑ (Practice in Pediatrics 1) รังสีวิทยาคลินิก (Clinical Radiology) เวชศาสตรชุมชน และ เวชศาสตรครอบครัว ๑ (Community Medicine and Family Medicine 1) กลุมวิชาเฉพาะที่สงเสริมศักยภาพตามความสนใจ ของผูเรียน (๑) รวม

๓๙

หนวยกิต

ทฤษฎี

ศึกษา ดวยตนเอง ชม./สัปดาห ๐ ๘ ปฏิบัติ





































































๓ ๓

๒ ๒

๒ ๒

๕ ๕



X

X

X

๓๘

X

X

X

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ปการศึกษาที่ ๕ รหัสวิชา

ภาคการศึกษาที่ ๑ และ ๒ ศึกษาตอเนื่อง ๒ ภาคการศึกษา

๒๔๑-๕๑๑ ทฤษฎีทางอายุรศาสตร ๒ (Theory in Medicine 2) ๒๔๑-๕๑๒ การปฏิบัติงานทางอายุรศาสตร ๒ (Practice in Medicine 2) ๒๔๑-๕๑๓ จิตเวชศาสตร ๒ (Psychiatry 2) ๒๔๑-๕๑๔ เวชศาสตรฉุกเฉิน ๑ (Emergency Medicine 1) ๒๔๒-๕๑๑ ทฤษฎีทางศัลยศาสตร ๒ (Theory in Surgery 2) ๒๔๒-๕๑๒ การปฏิบัติงานทางศัลยศาสตร ๒ (Practice in Surgery 2) ๒๔๒-๕๑๓ ศัลยศาสตรออรโธปดิกส ๑ (Orthopedics 1) ๒๔๒-๕๑๔ วิสัญญีวิทยา (Anesthesiology) ๒๔๓-๕๑๑ ทฤษฎีทางสูติศาสตรและนรีเวชวิทยา ๒ (Theory in Obstetrics and Gynecology 2) ๒๔๓-๕๑๒ การปฏิบัติงานทางสูติศาสตรและนรีเวชวิทยา ๒ (Practice in Obstetrics and Gynecology 2) ๒๔๔-๕๑๑ ทฤษฎีทางกุมารเวชศาสตร ๒ (Theory in Pediatrics 2) ๒๔๔-๕๑๒ การปฏิบัติงานทางกุมารเวชศาสตร ๒ (Practice in Pediatrics 2) ๒๔๖-๕๑๑ จักษุวิทยา (Ophthalmology) ๒๔๖-๕๑๒ โสต ศอ นาสิกวิทยา (Otorhinolaryngology) ๒๔๗-๕๑๑ นิติเวชศาสตร ๑ (Forensic Medicine 1) ๔๐

ทฤษฎี

ปฏิบัติ

หนวยกิต

ศึกษา ดวย ตนเอง

ชม./สัปดาห ๐ ๔





















































































































๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

รหัสวิชา

ภาคการศึกษาที่ ๑ และ ๒ ศึกษาตอเนื่อง ๒ ภาคการศึกษา

๒๔๙-๕๑๑ เวชศาสตรชุมชน และเวชศาสตรครอบครัว ๒ (Community Medicine and Family Medicine 2) ๒๔๕-xxx กลุมวิชาเฉพาะที่สงเสริมศักยภาพตามความสนใจ ของผูเรียน (๒) ๒๔๕-xxx กลุมวิชาเฉพาะที่สงเสริมศักยภาพตามความสนใจ ของผูเรียน (๓) รวม

๔๑

ทฤษฎี

ปฏิบัติ

หนวยกิต

ศึกษา ดวย ตนเอง

ชม./สัปดาห ๒ ๕







X

X

X



X

X

X

๔๒

X

X

X

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ปการศึกษาที่ ๖ รหัสวิชา

ภาคการศึกษาที่ ๑ และ ๒ ศึกษาตอเนื่อง ๒ ภาคการศึกษา

๒๔๑-๖๑๑ เวชปฏิบัติอายุรศาสตร ๑ (Clinical Clerkship in Medicine 1) ๒๔๑-๖๑๒ เวชปฏิบัติอายุรศาสตร ๒ (Clinical Clerkship in Medicine 2) ๒๔๑-๖๑๓ เวชศาสตรฉุกเฉิน ๒ (Emergency Medicine ๒) ๒๔๒-๖๑๑ เวชปฏิบัติศัลยศาสตร ๑ (Clinical Clerkship in Surgery 1) ๒๔๒-๖๑๒ เวชปฏิบัติศัลยศาสตร ๒ (Clinical Clerkship in Surgery 2) ๒๔๒-๖๑๓ ศัลยศาสตรออรโธปดิกส ๒ (Orthopedics 2) ๒๔๓-๖๑๑ เวชปฏิบัติสูติศาสตรและนรีเวชวิทยา ๑ (Clinical Clerkship in Obstetrics and Gynecology 1) ๒๔๓-๖๑๒ เวชปฏิบัติสูติศาสตรและนรีเวชวิทยา ๒ (Clinical Clerkship in Obstetrics and Gynecology) ๒๔๔-๖๑๑ เวชปฏิบัติกุมารเวชศาสตร ๑ (Clinical Clerkship in Pediatrics 1) ๒๔๔-๖๑๒ เวชปฏิบัติกุมารเวชศาสตร ๒ (Clinical Clerkship in Pediatrics 2) ๒๔๗-๖๑๑ ประสบการณคลินิกนิติเวชศาสตร (Clinical Experience in Forensic Medicine) ๒๔๙-๖๑๑ เวชศาสตรชุมชนและเวชศาสตรครอบครัว ๓ (Community Medicine and Family Medicine 3) ๒๔๕-xxx กลุมวิชาเฉพาะที่สงเสริมศักยภาพตามความสนใจ ของผูเรียน (๔) ๒๔๕-xxx กลุมวิชาเฉพาะที่สงเสริมศักยภาพตามความสนใจ ของผูเรียน (๕) รวม ๔๒

หนวยกิต

ทฤษฎี

ศึกษา ดวยตนเอง ชม./สัปดาห ๘ ๔ ปฏิบัติ













๒ ๔

๐ ๐

๔ ๘

๒ ๔









๒ ๓

๐ ๐

๔ ๖

๒ ๓











































X

X

X



X

X

X

๔๒

X

X

X

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

๔. การเตรียมนักศึกษาสําหรับการสอบเพื่อรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม หลักสูตรไดจัดใหมีการจัดการเรียนการสอนแบบระบบเปนฐาน (System-based approach) มี การบูรณาการโดยใชหลัก Spiral curriculum และบูรณาการมาตรฐานการเรียนรูทั้งแบบแนวนอน (Horizontal integration) และแบบแนวตั้ง (Vertical integration) ซึ่งจะทําใหนักศึกษาสามารถเชื่อมโยงองคความรูระดับ วิทยาศาสตรก ารแพทยพ ื้นฐานที ่นํา ไปประยุก ตกั บความรู ทางคลินิ ก และการบูรณาการแบบแนวตั ้ง ของ วิทยาศาสตรการแพทยคลินิกรวมกับวิทยาศาสตรการแพทยพื้นฐาน ขณะเดียวกันมีการสรางแรงจูงใจและ กระตุนใหน ักศึกษาเตรียมพรอมในการสอบตลอดทั้งป โดยการสรางระบบทดสอบความกาวหนา (Progress test) บนระบบออนไลนใหนักศึกษาไดฝกฝนตนเองอยางสมํ่าเสมอ เพื่อนําไปสูการประเมินผลรวมการเรียนรู (Summative assessment) รวมทั้งมีการติดตามความกาวหนาระหวางเรียนและใหขอมูลปอนกลับเพื่อการ พัฒนา (Formative assessment) นักศึกษาแพทยชั้นปที่ ๓ จะตองเขาสอบรวบยอด ขั้นตอนที่ ๑ ผูที่มีผลการสอบรวบยอด ขั้นตอนที่ ๑ ผานเกณฑที่กําหนด จึงจะสามารถขึ้นไปเรียนในชั้นปที่ ๔ ได และยังถือเปน การเตรียมความพรอมของ นักศึกษาแพทยชั้นปที่ ๓ ในการเขาสอบเพื่อรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม ขั้นตอนที่ ๑ ดวย สําหรับนักศึกษาแพทยชั้นปที่ ๕ จะตองเขาสอบรวบยอด ขั้นตอนที่ ๒ หากสอบไมผานตามเกณฑที่ กําหนด จะถือวาไมผานเกณฑการสําเร็จการศึกษา จะตองสอบรวบยอด ขั้นตอนที่ ๒ จนผานเกณฑ จึงจะเปน ผูสําเร็จการศึกษาและไดรับปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิต ทั้ง นี้ คณะแพทยศาสตร มหาวิ ทยาลัย สยาม มี หลักเกณฑการสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร ดัง นี้ คือ ๑) ตองเรียนรายวิชาตาง ๆ ครบตามหลักสูตร ไมมีรายวิชาใดที่ยังติดสัญลักษณ I หรือสัญลักษณ P ๒) สําเร็จการศึกษาชั้นปที่ ๖ มีเกรดเฉลี่ยสะสมไมนอยกวา ๒.๐๐ และเปนไปตามประกาศของคณะ แพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ๓) ตองมีผลการสอบรวบยอดขั้นตอนที่ ๒ ผานเกณฑที่กําหนด ๔) ไมมีหนี้สินใด ๆ ตอมหาวิทยาลัย ๕) มีคุณสมบัติตามขอบังคับมหาวิทยาลัยสยาม วาดวยการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิต พิจารณาเกียรติและศักดิ์ของนักศึกษาที่จะเสนอขออนุมัติใหไดรับปริญญาของมหาวิทยาลัยสยาม อนึ่ง นับตั้งแตปการศึกษา ๒๕๖๕ เปนตนไป นักศึกษาทุกคนจะตองสอบผานการสอบรวบยอด ขั้นตอนที่ ๒ ผานตามเกณฑที่กําหนด หากสอบไมผานจะตองทําการสอบจนกวาจะผาน จึงจะสามารถสําเร็จ การศึกษาไดปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตได

๔๓

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

เทคนิคการเรียนในชั้นคลินิก

ศาสตราจารยคลินกิ นายแพทยสุวัฒน เบญจพลพิทักษ คณบดีคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

แนวทางการขึ้นเรียนในชั้นคลินิกสําหรับนักศึกษาแพทย มีหลักการสําคัญที่ควรเตรียมตัวและถือปฏิบัติ ในขณะเรียน เพื่อใหการเรียนมีเปาหมาย เกิดผลสําเร็จที่ดี ซึ่งมีบรรยากาศการเรียนที่ประกอบดวย ๑. การเรียนรูสูการทําเวชปฏิบัติ เกือบทั้งหมดเกิดจากกิจกรรมนอกหองเรียน ผานการไดประสบการณจาก การดูแลผูปวยและการรวมเรียนรูกับทีมสุขภาพ ๒. การเรียนเนื้อหาจากการบรรยาย ซึ่งจะเรียนรูไดดีขึ้นเมื่อผานกระบวนการทบทวนเรียนรูดวยตนเอง (self-directed learning) เปนหลัก ๓. การอานหนังสือเปนประจําเพื่อตอบคําถามเรื่องที่ไดพบเห็นจากการปฏิบัติงานประจําวัน ๔. ความรับผิดชอบตอการเรียนรูของตนเองตั้งเปาหมายการเรียนในแตละวิชาที่เปน clinical clerkship และมุงทําใหมั่นใจไดวาสามารถบรรลุผลลัพธการเรียนรูไดชัดเจน เทคนิคสําคัญเพื่อชวยในการเรียน ๑. จดบันทึกคําถามที่ผุดขึ้นมาในใจทุกครั้ง และนํามาเสาะหาคําตอบอยางสม่ําเสมอ เพราะทุกคําถามคือ โอกาสสําหรับการเรียนรูจนรูแจง ๒. ตองกระตือรือรน (active) และรวมงานในการใหการดูแลผูปวยที่รับผิดชอบ พรอมเสมอที่จะเขารวม ทํางานในทีม หรือกับเพื่อนนักศึกษาอยารอคอยใหใครในทีมตองเรียกหาหรือตามมาชวยงาน เพราะเขา อาจไมสะดวกและไมทันการณ ถามีเหตุการณสําคัญที่ตองดูแลผูปวย อยาดอยคาตัวเองวา ถึงอยูก็ชวย อะไรไมไดเพราะยังเปนนักศึกษาแพทย แนะนําใหพยายามเขารวมทีมงานและแสดงบทบาทหนาที่ที่ ตนเองพอจะทําได ๓. ถามีขอสงสัยเกี่ยวกับผูปวยที่ดูแลรับผิดชอบอยู อยาเก็บคําถามหรือขอกังวลนั้นไว บางครั้งขอสงสัย เหลานี้มีคามากตอการชวยทีมในการดูแลรักษาผูปวย และนักศึกษาจะไดเรียนรูอยางมาก ๔. พยายามขอคําแนะนําหรือใหขอมูลปอนกลับ (feedback) จากนักศึกษาแพทยรุนพี่หรืออาจารยแพทย เพื่อพัฒนาการเรียนการปฏิบัติงานใหดียิ่ง ๆ ขึ้นไป

๔๔

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

๕. การเรียนรูในชั้นคลินิก อาจเกิดขึ้นโดยไมคาดฝนในหอผูปวย ซึ่งอาจไมใชผูปวยที่อยูในความรับผิดชอบ ตองตื่นตัวตลอดเวลา ๖. พยายามฝกในการใช evidence-based medicine ใหมากที่สุด เปนหนาที่รับผิดชอบของทุกคนในทีม สุขภาพในการนํา the best scientific evidence มาใชใน clinical decision สําหรับผูปวยทุกคน ๗. แสดงพฤติ ก รรมให ทุ ก คนเห็ น และรั บ รู ว า เป น นั ก ศึ ก ษาแพทย ที่ เ ป น self-directed learner เพื่ อ แลกเปลี่ยนถกปญหาของผูปวยกับทีม เพราะการเรียนรูเกิดขึ้นไดจากวิธีนี้เทานั้น แทบจะไมมีอาจารย หรือนักศึกษาแพทยรุนพี่มาบังคับหรือเรียกนักศึกษามาสอน นักศึกษาตองตั้งใจเสาะหาเอง ๘. การเรียนจากผูปวยเปนหัวใจสําคัญที่สุดในชั้นคลินิก เปนจุดเริ่มในการประยุกตใชความรูในชั้นปรีคลินิก มาบูรณาการกับความรูในชั้นคลินิกที่ดีที่สุด เพื่อใหเกิดการเรียนรู มีประสบการณที่หลากหลายเพราะ เปนไปไมไดที่จะไดเรียนรูปญหาหรือโรคตาง ๆ ไดหมดจากการขึ้น clinical clerkship แตยิ่งไดเรียนได เห็นมากยิ่งดีกับตัวเราเอง ๙. อานตํารามาตรฐานที่หลักสูตรแนะนําในแตละสาขาวิชาจะไดความรูที่ดีและเร็วที่สุด อยางไรก็ตาม แนะนําใหคนหาและอานบทความใหม ๆ จากวารสารทางการแพทย หรือ review articles ตาง ๆ หรือ จากฐานขอมูลออนไลน เชน UptoDate แตยังไมเพียงพอในการใหขอมูลเชิงลึกซึ้งที่หาอานไดจากตํารา มาตรฐาน ๑๐. ควรทําบันทึกสรุปยอเนื้อหาสําคัญที่ไดอานจากตําราหรือเอกสารเพื่อใชทบทวนอยางงายในภายหลังได สะดวกและรวดเร็ว เทคนิคการเรียนรูในหอผูปวยใน (Inpatient Department, IPD) นักศึกษาแพทยที่ขึ้น เรี ยนในหอผูปวยใน มีหนาที่รับผิดชอบการดูแลรักษาผูปว ยที่ ไดรับ มอบหมาย เพื่อใหมีโอกาสไดเรียนรูเกี่ยวกับโรคหรือปญหาที่พบในผูปวย การปฏิบัติงาน และการทําหัตถการทางการแพทย ซึ่งนักศึกษาควรใชโอกาสนี้เพื่อการเรียนรูใหไดมากที่สุด โดย ๑. กระตือรือรนอยางสนใจ ตั้งใจรวมทํา ward round กับอาจารยแพทย ๒. แสดงออกถึ งสมรรถนะการทํ า งานอยางเปน ระบบและมีป ระสิทธิภ าพ (effective organizational skills) เพื่อใหมีความพรอมเรียนรู มีสวนรวมในการดูแลรักษาผูปวย และสนุกกับการเรียน เชน - จัดทําขอมูลสําคัญของผูปวยที่พรอมใชทันที ดวย note cards หรือบันทึกใน iPad หรือสมุดโนต - มีขอมูลผูปวยที่ update ที่ตองติดตามทุกวัน เชน vital signs, ผล lab ลาสุด การตรวจวินิจฉัย อื่น ๆ ยาที่ผูปวยไดรับในวันนี้ เปนตน - จัดทําปฏิทินเวลาเขาหองเรียน การทํา conference วันเวลาที่ตองอยูเวร เพื่อจัดระเบียบการทํางาน ตาง ๆ ๓. ทําการซักประวัติและตรวจรางกายผูปวยใหมที่ไดรับมอบหมายดวยตนเองอยางละเอียดครบถวน แต ไมไดหมายถึงการจัดทําประวัติและตรวจรางกายผูปวยที่มีความยาวหลายหนา ที่หมายความถึงคือ การ ทํางานใหไดขอมูลจําเปนและสําคัญตอการดูแลรักษาผูปวย มีหลายครั้งที่พบวานักศึกษาแพทยเปนผูที่ ไดขอมูลชิ้นสําคัญจากการซักประวัติตรวจรางกาย ที่สามารถชวยเปลี่ยนการรักษาผูปวยใหหายขาดได โดยมีเทคนิคการซักประวัติและตรวจรางกายที่สําคัญ คือ ๔๕

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

- ซักประวั ติและตรวจร า งกายผู ปว ยดว ยตนเองทุก ครั้ง เนน การไดป ระวัติที่ชัดเจนเหมื อนสคริ ป ภาพยนตสั้น เพื่อใชในการวินิจฉัยแยกโรคหรือการดูแลรักษา รวมทั้งประวัติ social history และ review of system - การตรวจรางกาย ควรทําอยางเปนระบบและเปนลําดับ เพื่อใหไดขอมูลครบถวนและรบกวนผูปวย ใหนอยที่สุด ขอแนะนําใหเริ่มตรวจตั้งแตศีรษะจรดเทายังใชไดสําหรับผูปวยทุกคน - การตรวจรางกายแบบ focused exam ไมควรใชบอย เพราะมักจะใชสําหรับแพทยที่มีประสบการณ ที่ มีเ วลาจํ า กั ดในการตรวจวินิ จฉัย โรค และเปน วิธีที่ไมมีแบบแผนที่แนนอน ขึ้น กับ ความรูความ ชํา นาญ ทั กษะและศิ ล ปะของผูตรวจ เชน ผูปว ยที่มาดวยปญ หา shortness of breath จะต อง focus การตรวจไปที่บริเวณคอ เพื่อดูวาพบ jugular venous distention ตรวจ extremities ดูวา มี edema หรือไม มีอาการปวดจากการกดที่ extremities จาก deep vain thrombosis หรือไม พบ clubbing ที่นิ้ว พบกอนในทอง และตรวจปอดกับหัวใจเปนขั้นตอนเสริม เปนตน - หมั่นฝกตรวจดูคอดวยไมกดลิ้น ดูจมูกดวยไฟฉาย สองตรวจในรูหูดวย otoscope ตรวจตาดวย fundoscope บอย ๆ เพื่อใหเกิดความชํานาญ รวมทั้งการหาโอกาสตรวจ male and female GU examinations, rectal examinations และการตรวจเตานม เพื่อใหเกิดความคุนเคยและมั่นใจได วาสามารถแยกแยะระหวางปกติและผิดปกติได ๔. เทคนิคการเขียนรายงานผูปวย เพื่อใหเปนหลักฐานสําคัญในการสื่อสารระหวางทีมสุขภาพ ที่ครอบคลุม ครบถวน เปนการแสดงถึงการตัดสินใจทางคลินิก (clinical decision) ทั้งการวินิจฉัยแยกโรค การให การรักษา การติดตามปญหาผูปวย โดยมีหลักสําคัญ คือ - ในสวนของประวัติผูปวย อาการสําคัญ ประวัติปจจุบัน ประวัติอดีต ประวัติครอบครัว ประวัติสวนตัว ฯลฯ ใหใชภาษาไทย ที่กระชับ เรียงตามลําดับเหตุการณที่เกิดปญหาตั้งแตอดีตจนถึงนาทีสุดทายก อน มาถึงโรงพยาบาล ใชภาษาเขียนไมใชภาษาพูด เชน “อาเจียน” ไมใช “อวก” - ในสวนของการตรวจรางกาย ใหใชบรรยายผลการตรวจดวยภาษาอังกฤษที่เปน medical term ที่ นิยมใชกันเปนมาตรฐาน รวมทั้งคํายอมาตรฐาน (ถามี) เชน general appearance, good consciousness, vital signs - เขียนสรุปผล laboratory data และ การตรวจวินิจฉัยอื่น ๆ เชน การตรวจทางรังสี ตรวจ EKG ผล ตรวจชิ้นเนื้อ เปนตน - ตองเขียนดวยลายมือที่อานออก ถาเขียนแลวอานไมออก ก็ไมมีประโยชนที่ตั้งใจเขียนบันทึกไว ๕. ในสวนของ assessment and plan เปนสวนสําคัญที่ทาทายศักยภาพของนักศึกษาแพทย เพื่อแสดงออก ถึงความรูความสามารถในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม ที่สามารถวิเคราะห อภิปราย (discuss) ปญหา ผูปวยอยางเปนระบบ ตลอดจนการวินิจฉัยแยกโรคและการดูแลรักษา ควรมีลําดับสําคัญ ดังนี้ - เริ่มดวยการจั ด ทํา pertinent findings รวม list จากทั้งประวั ติ ตรวจรางกาย ผล lab และการ ตรวจเพิ่มเติมอื่น ๆ ที่สําคัญตอการใชวิ นิจ ฉัย แยกโรค (differential diagnosis) หรือการให ก าร รักษา

๔๖

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

- ตอดวยการจัดทํา problem list ที่อาจเปนชื่อโรค เชน pancreatitis หรือรายการปญหาที่ยั งไม ทราบการวินิจฉัยโรคก็ได เชน abdominal pain เพื่อใชเปนหัวขอสําหรับแตละ problem ในการ เขียน assessment and plan ตามหลัก SOAP เพื่อแสดงขอคิดเห็นในการ differential diagnosis และ management plan ๖. การเขียน SOAP ของแตละ problem คือ - S (subjective pertinent findings) สรุปจากประวัติผูปวย ที่ใชชวยในการวินิจฉัยแยกโรคหรือการ ดูแลรักษา - O (objective pertinent findings) สรุปจากการตรวจรางกายและจาก laboratory data รวมทั้ง การตรวจวินิจฉัยอื่น ๆ ที่ใชชวยการการวินิจฉัยแยกโรคหรือการดูแลรักษา - A (assessment) การอภิปรายดวยหลักการ clinical decision making, evidence-based medicine อยางมีเหตุผลเชื่อถือไดมากที่สุด เพื่อวินิจฉัยแยกโรค ควรเรียงลําดับจากโรคที่ผูปวยนาจะเปนมาก ที่สุด และรองลงไป ทั้งนี้เพื่อชวยใหการคิดวิเคราะหในการวินิจฉัยแยกโรคเปนไปอยางเปนระบบ มี การแนะนําใหใช VITAMIN CDEy หรือ VINDICATE ดังนี้ VITAMIN CDEy VINDICATE Vascular Vascular Infectious/inflammatory Infection/inflammatory Trauma/toxic Neoplasm Autoimmune Degenerative Metabolic Iatrogenic Neoplastic Autoimmune Congenital Toxic/metabolic Degenerative Endocrine Endocrine Psychogenic ในการนําเสนอ list of differential diagnosis ไมควรเปดตําราลอกมาตรง ๆ นักศึกษาตองแสดงขอคิด เห็นวาทําไมคิดวาผูปวยนาจะเปนโรคนี้ไดมากที่สุด จากการใชขอมูลสําคัญที่สนับสนุนจากประวัติ ตรวจรางกาย หรือจากการตรวจวินิจฉัยทางหองปฏิบัติการตาง ๆ มาเปนหลักฐานอางอิง - P (plan of management) ในหัวขอนี้ประกอบดวยหัวขอยอยที่ตองเขียน คือ ๑) Investigation plan หรือ diagnostic plan ถามีความจําเปนตองทําการตรวจเพิ่มเติมสําหรับ การยืนยันการวินิจฉัยโรคที่นาจะเปนมากที่สุดหรือใชสําหรับการวางแผนการใหการรักษา ๒) Therapeutic plan คือ แผนการรักษา ซึ่งประกอบดวย supportive therapy คือการใหการ รักษาตามอาการ เชน การลดไข การแกปวด ตอดวย specific therapy คือการใหการรักษา จําเพาะของโรค เชน ยาปฏิชีวนะ ยา chemotherapy หรือ การผาตัด เปนตน และสุดทาย health promotion หรือ preventive medicine (ถามี) ๔๗

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ขอแนะนําทั่วไป เพื่อใหการเรียนในชั้นคลินิกประสบความสําเร็จ ๑. เนื่องจากนักศึกษาแพทยอาจเปนผูที่ใชเวลาและมีปฏิสัมพันธกับผูปวยมากที่สุด จนทําใหผูปวยเขาใจไป วา เปนหมอประจําตัว จึงควรเปนสื่อกลางในการเชื่อมโยงกับโรงพยาบาลไดดี ทั้งการขอความรวมมือ จากผูปวย การแจงผลการตรวจวินิจฉัยตาง ๆ หรือแจงความคืบหนาของการรักษา ทั้งนี้หากไมแนใจวา ขอมูลไหนควรแจง และจะใชวิธีการอยางไรในการบอกคนไข ควรปรึกษาอาจารยเพื่อการเรียนรูและ พัฒนาวิธีการสื่อสารระหวางแพทยกับคนไขใหดีขึ้น ๆ ๒. ตองมีความรับผิดชอบสูง ตรงตอเวลากับทีมงาน ตอผูปวย ตอการเขารวมงาน ward round และควรมี ขอมูลผูปวยที่พรอมนํามาเสนอใหทีมไดรับทราบหรือใชประกอบการตัดสินใจปรับเปลี่ยนการรักษาหรือ ทําการตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติมใหแกผูปวย ๓. หมั่นสังเกตและเรียนรูวิธีการเขียนคําสั่งในใบสั่งการรักษา หรือหาโอกาสรับอาสาชวยเขียน เพื่อฝกฝน พัฒนาการเขียนคําสั่งแพทยอยางมืออาชีพตอไป ๔. หาโอกาสเฝาสังเกตวิธีการทําหัตถการ หรือเขาชวยทํา เพื่อจะไดมีความพรอมและมั่นใจเมื่อไดโอกาสที่ จะตองเปนผูลงมือทําหัตถการภายใตการกํากับของอาจารย และควรหาโอกาสทําหัตถการซ้ํา ๆ จน ตัวเองมั่นใจวา สามารถทําไดดวยตนเอง ๕. หัดเขียน admission note เพื่อเตรียมและพัฒนาตนเองใหเปนแพทยมืออาชีพตอไป ๖. หาโอกาสเรียนรูผูปวยอื่น ๆ ที่อยูในความดูแลของเพื่อนนักศึกษาแพทยในชวงเวลาที่วางจากงานของ ตนเองแลว เพื่อเพิ่มเติมความรูและประสบการณ ควรเขาชวยทีมทํางานใน IPD อยางสม่ําเสมอ แมวา จะไมใชการปฏิบัติดูแลรักษาผูปวยในความรับผิดชอบ แตไมควรกาวลวงจนเกินขอบเขตทําใหเพื่อนที่ เปนเจาของคนไขไมไดฝกปฏิบัติ ควรใหเกียรติเพื่อนรวมงานเสมอ และอยาใชเวลาไปจนหมด จนละทิ้ง การทํา self-directed learning ใหตัวเองมีความรูที่ดีขึ้นดวย เทคนิคการเรียนในหอผูปวยนอก (Outpatient Department, OPD) การปฏิบัติงานของนักศึกษาแพทยในหอผูปวยนอก สวนใหญจะไดฝกปฏิบัติภายใตการกํากับดูแลอยาง ใกลชิดจากอาจารยแพทยมากกวาการปฏิบัติงานใน IPD การเรียนใหไดผลดีใน OPD ขึ้นกับปจจัยสําคัญคือ การ ทํางานอยางเปนระบบและมีประสิทธิผล นักศึกษาตองใชศักยภาพแสดงสมรรถนะในการคิดวิเคราะหสรุปปญหา ของผูปวยดวยตนเอง และตองมีความรูพื้นฐานที่ดี ทั้งนี้เนื่องจากผูปวยและอาจารยแพทยอาจมีเวลาจํากัดในการ ตรวจรักษาผูปวยแตละคน ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการทั้งเวลาและการมุงเนนผลลัพธจะตองรวดเร็ว กระชับ เพื่อใหทุกฝายสามารถทํางานไดเสร็จตามแผน หรือผูปวยสามารถกลับบานทันรอบเวลาของรถประจําทาง เปนตน ผูปวยที่มารับการรักษาที่หอผูปวยนอกมีหลากหลายประเภท ตั้งแตปกติดีแตมาขอรับบริการตรวจเช็ค สุขภาพ มีอาการเจ็บปวยมากจนตองมาปรึกษาแพทยทั้งแบบเฉียบพลันหรือแบบเรื้อรัง หรือแพทยนัดมาตรวจ ติดตามความคืบหนาในการรักษาหรือทําการรักษาโรคเรื้อรังอยางตอเนื่อง จึงเปนโอกาสสําหรับนักศึกษาแพทย ในการฝกปฏิบัติใหไดประสบการณที่แตกตางหลากหลาย แนวทางการทํางานใน OPD ที่สําคัญ คือ

๔๘

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

๑. ตองรับผิดชอบและตรงตอเวลา มาขึ้นปฏิบัติงานใหตรงกับตารางกําหนดการเรียน ตรงกับสถานที่ และอาคาร ที่ตองออกตรวจ เพราะทั้งอาจารยแพทยและผูปวยตางก็ตองรีบทํางานใหเสร็จตามแผน ๒. การรับและตรวจผูปวยที่หองตรวจผูปวยนอก อาจารยแพทยอาจมอบหมายใหนักศึกษานั่งเฝาสังเกตการณ การใหบริการตรวจรักษาของอาจารย ใหไดเห็นกระบวนการทั้งหมดตั้งแตการซักประวัติ การตรวจ รางกาย วิธีการอธิบายหรือตอบคําถาม รวมทั้งการสั่งการรักษาใหผูปวย นักศึกษาอาจมีคําถามไดเมื่อ สงสัย หรืออาจไดลองฝกตรวจรางกาย ในกรณีที่อาจารยแนะนําและขออนุญาตผูปวยใหนักศึกษาเขาฝก ตรวจ กิจกรรมแบบนี้มักจะใชสําหรับนักศึกษาแพทยที่เพิ่งเริ่มตนขึ้นเรียนในหอผูปวยนอก ๓. การรับและตรวจผูปวยใหมสําหรับนักศึกษาแพทยที่อาจารยพิจารณาแลววาสามารถปลอยใหนักศึกษา รับคนไข พรอมใหเวลาแยกหองตรวจ เพื่อเปดโอกาสใหนักศึกษาไดทําการซักประวัติ ตรวจรางกายสรุป ปญหาพรอม differential diagnosis ดวยตนเอง เมื่อทําไดครบแลว อาจารยแพทยจ ะใหนั ก ศึ ก ษา นําเสนอรายงานผูปวยดวยการสรุปประเด็นสําคัญ ขอคิดเห็นพรอมเหตุผลวาทําไมคิดวาผูปวยนาจะเปน โรคนี้ หรือทําไมตองสงตรวจเพิ่มเติมดวย lab นี้ เปนตน ความมีอิสระในการตรวจรักษาผูปวยจะมีมาก ขึ้น ๆ เมื่อนักศึกษาไดแสดงความสามารถวาปฏิบัติไดดวยตนเอง ภายใตการกํากับดูแลอยางหาง ๆ ของ อาจารยแพทย ซึ่งถือเปนสมรรถนะสําคัญที่ตองใชอยางตอเนื่องตลอดชีวิตการเปนแพทย ๔. มีขอแนะนําวิธีการเรียนรูในหองตรวจผูปวยนอกที่เปนหลักการของ learner-centered approach เพื่อ ใหนักศึกษาแพทยใชในการสรุปปญหาของผูปวย นําเสนออาจารยเพื่อทําการยืนยันหรือแนะนําเพิ่มเติม พรอมสั่งการรักษาผูปวยตอไป คือ SNAPPS model ดังนี้ Summarize briefly the history and findings. Narrow the differential to two or three relevant possibilities. Analyze the differential by comparing and contrasting the possibilities. Probe the preceptor with questions about uncertainties, difficulties, or alternative approaches. Plan management for the patient’s medical issue. Select a case-related issue for self-directed learning. ขอแนะนําใหนักศึกษาฝกฝนใช SNAPPS จนเปนขั้นตอนที่คลองทําไดอยางรวดเร็ว จะชวยใหการเรียนรู ในหอผูปวยนอกมีประสิทธิภาพ สรางความมั่นใจในการเปนแพทยที่ดีและเกงในอนาคตได Professionalism (ความเปนแพทยวิชาชีพ) แพทยเปนอาชีพที่ไดรับเกียรติยกยองอยางสูงจากสังคม และตองรับผิดชอบตอความคาดหวังที่สูงจาก การทําเวชปฏิบัติ ดังนั้นการดํารงตนเปนแพทยที่ดี มีคุณธรรมจริยธรรมตามมาตรฐานการประกอบวิชาชีพเวชกรรม จึงจําเปนจะตองไดรับการสั่งสมใหเกิดขึ้นในตัวนักศึกษาแพทย จนสามารถแสดงออกเปนพฤตินิสัยไปตลอดใน การทําหนาที่แพทย เทคนิคสําคัญที่จะทําใหมีความเปน professionalism มีดังตอไปนี้ ๑. จงทําใหดีที่สุดสําหรับผูปวยทุกคน เคารพในศักดิ์ศรีความเปนมนุษยทุกคน ตองรูวาผูปวยที่กําลังดูแล รักษาอยูนั้น เปนใคร เปนโรคอะไร ทําไมปวยดวยโรคนี้ และจักตองใหการดูแลรักษาใหดีที่สุด เสมือน หนึ่งวากําลังดูแลรักษาญาติพี่นองของตนเอง เมื่อแพทยใหความใสใจ สนใจปญหาผูปวยอยางจริงจัง ๔๙

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

๒. ๓.

๔. ๕.

๖.

๗.

และจริงใจ ผูปวยยอมเกิดความเชื่อมั่น (trust) และยินยอมปฏิบัติตามคําสั่งการรักษาของแพทยอยาง เต็มใจ เต็มกําลังความสามารถ มีคํากลาวเกี่ยวกับความเปน professionalism วา “The secret to caring for the patient is caring for the patient” ตองสะทอนคิด (reflection) ทบทวนการทํางานของตัวเองบอย ๆ วาหลังจากเสร็จงานตรวจรักษาผูปวย แลว ควรทบทวนวิเคราะหถึงประสบการณ อารมณ ความรูสึก วามีอะไรที่ดีที่นาประทับใจ มีสมรรถนะ/ ทักษะอะไรที่ควรปรับปรุงใหดียิ่ง ๆ ขึ้นไป ตองซื่อสัตยตอตัวเอง ตอผูปวยและผูรวมงาน ถือวาเปนเกียรติอยางยิ่งหากไมรูก็ตองยอมรับตรง ๆ วา ไมรู “I don’t know” ไมควรเดาซึ่งอาจเกิดผลเสียที่คาดไมถึงตามมาได ควรรวมกันพัฒนาคุณภาพของระบบการดูแลรักษาพยาบาลใหดีขึ้นอยางตอเนื่อง เพราะไมมีกระบวนการ ทํางานใด ๆ จะสมบูรณแบบจนไมตองปรับปรุงพัฒนา ยังมีความจําเปนที่จะตองปดชองโหว ลดความไม เพียงพอ ลดขอผิดพลาด เพิ่มขั้นตอนที่มีคุณภาพ ตามวงจรคุณภาพ PDCA อยางตอเนื่อง เรียนรูจากการทําผิดเสมอ เพราะคนที่ทํางานยอมมีโอกาสเกิดข อผิดพลาดได (human error) ควร นํามาเรียนรูแลกเปลี่ยนในวงกวาง เพื่อปองกันความผิดพลาดซ้ํา เปนเรื่องจําเปนที่ตองทํา เพื่อใหผูปวย และผูใหบริการมีความปลอดภัยสูงสุด สุดทายขอฝากหลักปฏิบัติของ professionalism ที่ไดรับการยอมรับกันแพรหลาย และควรนํามาปรับ ใชในทุก ๆ ครั้งที่มีการดูแลรักษาผูปวย ประกอบดวย Commitment to professional competence. Commitment to honesty with patients. Commitment to patient confidentiality. Commitment to maintaining appropriate relations with patients. Commitment to improving quality of care. Commitment to improving access to care. Commitment to a just distribution of finite resources. Commitment to scientific knowledge. Commitment to maintaining trust by managing conflicts of interest. Commitment to professional responsibilities.

สรุปสงทาย การเรี ย นรู ใ นชั้ น คลิ นิ ก สํ า หรั บ นั ก ศึ ก ษาแพทย เป น การเรี ย นรู ค รั้ ง แรกในชี วิ ต ที่ จ ะได ทั้ ง ความรู ประสบการณ ทั กษะ เจตคติ จริ ย ธรรมทางการแพทย ซึ่งจะเปน คุณสมบัติบุคคลติดตัว นักศึกษาแพทยจน ตอเนื่องไปเปนแพทย จึงขอแนะนําใหใชโอกาสที่ดีที่สุดนี้ใหมากที่สุด ในการเรียนรูจากผูปวย จากทีมสุขภาพ จากอาจารยแพทย จากโรงพยาบาลและคลินิกตาง ๆ ดวยความหวังวา ในอนาคตจะมีแพทยรุนใหมที่มีความรู ความสามารถ เปนแพทยที่ดี เปนผูนําและทําประโยชนแกสังคมสืบไป ---------------------------------------------------------------๕๐

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

การจัดการเรียนการสอนนักศึกษาแพทยชั้นคลินิก คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ในโรงพยาบาลพระนั่งเกลาจากอดีตถึงปจจุบัน

แพทยหญิงสิริรตั น ลิมกุล ผูอํานวยการศูนยแพทยศาสตรชั้นคลินิก โรงพยาบาลพระนั่งเกลา

โรงพยาบาลพระนั่งเกล าไดรับ การทาบทามจากคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม เนื่องจาก นักศึกษาแพทยรุนที่ ๑ ของคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยามซึ่งกําลังเรียนชั้นปที่ ๓ ไมสามารถขึ้นเรียนชั้น คลินิกที่โรงพยาบาลตํารวจได นายแพทยวิรุฬห พรพัฒนกุล ผูอํานวยการโรงพยาบาลพระนั่งเกลาในขณะนั้นจึง ไดเชิญคณะผูบริหารของคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม เขาพบและเชิญผูชวยผูอํานวยการดานการศึกษา หัวหนากลุมงานและประธานองคกรแพทย โรงพยาบาลพระนั่งเกลา รวมหารือถึงแนวทางแกปญหาทั้งสองฝาย เห็นชอบรวมกันโดยมอบใหหัวหนากลุมงานกลับไปหารือแพทยในแตละกลุมงานวายินดีจะชวยรับสอนนักศึกษา แพทยชั้นป ๓ ที่กําลังเดือดรอนไมมีที่เรียนชั้นคลินิกหรือไม ประมาณ ๑ สัปดาหหลังจากนั้นไดรับคําตอบจาก หัวหนากลุมงานหลักทุกกลุมงานวายินดีชวยสอนนักศึกษาแพทย ตอมาในวันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๕๘ ที่ประชุม แพทยสภาจึงไดมีมติในการแกปญหากรณีนักศึกษาแพทย มหาวิทยาลัยสยามปที่ ๓ ที่ไมสามารถขึ้นเรียนชั้น คลินิกที่โรงพยาบาลตํารวจได โดยอนุมัติใหขึ้นชั้นคลินิกที่โรงพยาบาลพระนั่งเกลาแทน และแพทยสภาไดแตงตั้ง คณะกรรมการกํากับดูแลจากคณะแพทยศาสตร ๕ สถาบัน เพื่อมาชวยกํากับดูแลและเปนที่ปรึกษาในการเตรียม ความพรอมสําหรับการรับนักศึกษาแพทยใน ๖ เดือนขางหนา นักศึกษาแพทยชั้นป ๔ มีกําหนดเปดเรียนในวันที่ ๓๐ พฤษภาคม๒๕๕๙ ในระหวาง ๖ เดือนนี้ โรงพยาบาลมีการเตรียมการในทุกดานเพื่อรองรับการจัดการเรียน การสอน ซึ่งถือวาเปนการเปลี่ยนแปลงครั้งสําคัญของโรงพยาบาลพระนั่ งเกลา มีการแตงตั้งคณะกรรมการ อํานวยการโครงการศูนยแพทยศาสตรชั้นคลินิกและคณะกรรมการบริหารศูนยแพทยศาสตรชั้นคลินิก เพื่อมาทํา หน าที่ บ ริ ห ารจั ดการภารกิ จ ด า นการเรี ย นการสอน การศึกษาดูงานสถาบัน รว มผลิต แพทย กรมการแพทย มหาวิทยาลัยรังสิต ศูนยแพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิกโรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห และกลับมาทําแผน ยุทธศาสตร พัฒนาอาคารสถานที่หองเรียน จัดหาวัสดุครุภัณฑสําหรับการเรียนการสอน การพัฒนาอาจารย ๕๑

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

แพทยและบุคลากรสายสนับสนุนการศึกษา การเตรียมความพรอมรับการตรวจเยี่ยมประเมินและแนะนําแนว ทางการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนเฉพาะกิจสําหรับนักศึกษาแพทย คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม จากคณะกรรมการกลุมสถาบันแพทยศาสตรแหงประเทศไทย (กสพท) ในวันที่ ๔-๕ เมษายน ๒๕๕๙ หลังการตรวจ เยี่ยมวันที่ ๗ เมษายน๒๕๕๙ แพทยสภาอนุมัติใหนักศึกษาแพทยขึ้นชั้นคลินิกที่โรงพยาบาลพระนั่งเกลา โดยให โรงพยาบาลพระนั่ งเกล าดํ า เนิน การแกไ ขตามขอ เสนอแนะหลัง การตรวจเยี ่ย มประเมิน ฯ และในวัน ที ่ ๒๐ เมษายน ๒๕๕๙ มีพิธีลงนามความรวมมือระหวางปลัดกระทรวงสาธารณสุขกับอธิการบดีมหาวิทยาลัยสยาม ณ หองประชุมเจษฎาบดินทรโ รงพยาบาลพระนั่ ง เกล า ในด า นการเตรียมความพรอมสําหรับอาจารยแพทย ด านแพทยศาสตรศึ กษา คณะแพทยศาสตร มหาวิ ทยาลั ยสยาม ไดจ ัด อบรม Essential Skills for Clinical Teacher สําหรับ อาจารยแพทยโ รงพยาบาลพระนั่งเกลา โดยเชิญทีมวิทยากรจากคณะแพทยศาสตรศิริราช พยาบาล การอบรมเชิ งปฏิบั ติการเรื่องการเขี ยน มคอ. ๓ ศูน ยแ พทยศาสตรชั้น คลิน ิก ไดสง อาจารยแ พทย เขารับ การอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง Coaching and Mentoring Role for Clinical Teacher, Assessment Workshop การอบรมเชิ งปฏิ บั ติการเรื่ องการสรางข อสอบ MCQ มหาวิทยาลัย สยามไดมีการลงทุน พั ฒ นา หองสมุดของโรงพยาบาล โดยจัดหาตําราทางการแพทยที่ทันสมัยและหลากหลาย ฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกส และ คอมพิวเตอรสําหรับการศึกษาคนควาสัญญาณอินเตอรเน็ตความเร็วสูงในบริเวณหองสมุดและสํานักงานศูนย แพทยศาสตรชั้นคลินิก ดานอาคารสถานที่ ผูอํานวยการโรงพยาบาลอนุญาตใหปรับปรุงหองประชุมของหองสมุด และหองทันตชุมชนบริ เ วณชั้ น ๖อาคารเจษฎาบดินทร ใหเปนสํานักงานศูนยแพทยศาสตรช้ันคลินิกและห อง ประชุมศูนยแพทยศาสตร (ชั่วคราว) ดานการจัดหาหองเรียน อาจารยแพทยภาควิชาอายุรศาสตรและศัลยศาสตร ไดแบงพื้นที่ของหองพักอาจารยเองเพื่อทําเปนหองเรียนใหแกนักศึกษาแพทย และปรับหองภายในหอผูปวยให เปนหองเรียนสําหรับนักศึกษาแพทยเพิ่มเติม ในดานที่พักนักศึกษาแพทย คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัย สยาม ไดเชาเหมาชั้นโรงแรมที่อยูหางจากโรงพยาบาลออกไปประมาณ ๖๐๐ เมตร จัดระบบความปลอดภัยใน ที่พักและจัดรถรับ-สงนักศึกษาระหวางที่พักและโรงพยาบาล และในวันที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๕๙ เปนวันที่ นักศึกษาแพทยชั้นป ๔ ไดเขามาในโรงพยาบาลพระนั่งเกลาเปนครั้งแรก มีพิธีบายศรีสูขวัญ พิธีสวมเสื้อกาวน และงานปฐมนิเทศ หลังจากการปฐมนิเทศ นักศึกษาแพทยชั้นป ๔ จะตองไปขึ้น เรีย นวิช านิติเ วชที่สถาบัน นิติเวชเปนเวลา ๒ สัปดาห และกลับมาเรียนที่โรงพยาบาลพระนั่งเกลาในวันที่ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๕๙ จึงถือวา วันนี้เปนวันแรกที่มีการเรียนการสอนนักศึกษาแพทยภายในโรงพยาบาลพระนั่งเกลา การปรับเปลี่ยนบทบาท จากโรงพยาบาลที่เนนการดูแลรักษาผูปวยเปนงานหลัก สูการเปนโรงเรียนแพทย การพัฒนาดานแพทยศาสตร ศึกษาในโรงพยาบาลพระนั่งเกลา จึงเปนการพัฒนาแบบ on the job training การผลิตแพทยที่มีคุณภาพออกสู สังคมเปนภารกิจใหมอันทรงคุณคายิ่งใหญและเปนความภาคภูมิใจของบุคลากรศูนยแพทยศาสตรชั้นคลินิก อาจารยแพทยและบุคลากรโรงพยาบาลพระนั่งเกลาทุกคน ๕๒

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

จากวั นแรกที่ โรงพยาบาลพระนั่ งเกล าเริ่ มรั บนั กศึ กษาแพทย จนถึ งวั นนี้ เป นระยะเวลา ๖ ป คณะ แพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยามและโรงพยาบาลพระนั่งเกลา รวมผลิตบัณฑิตแพทยออกไปรับใชประชาชนและ ประเทศชาติแลว ๔ รุน จํานวน ๑๕๔ คน ปจจุบันศูนยแพทยศาสตรชั้นคลินิกมีนักศึกษาแพทยชั้นป ๔ - ๖ จํานวน ๑๔๓ คน มีบุคลากรประจําทั้งสิ้น ๑๗ คน มูลนิธิคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ไดลงทุนปรับปรุงอาคารเฉลิม พระเกี ยรติ ให เป น สํ านั กงานศู นย แพทยศาสตร ชั้ นคลิ นิ ก ห องประชุ ม ห องเรี ยน อี ก ทั้ ง คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม มีแผนปรับปรุงโรงอาหารของโรงพยาบาลใหเปนอาคารโรงอาหารใหม ๕ ชั้นสําหรับผูมารับ บริการและบุคลากรโรงพยาบาล และเปนหอพักนักศึกษาแพทยตอไปในอนาคต ในโอกาสครบรอบ ๑๒ ป แหงการสถาปนาคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ซึ่งเปนโอกาสที่ โรงพยาบาลพระนั่งเกลาครบรอบ ๖๕ ป แหงการกอตั้งเชนเดียวกัน ศูนยแพทยศาสตรชั้นคลินิก ขอแสดงความ ยินดีกับคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม และหวังเปนอยางยิ่งวาทั้งสองสถาบันจะจับมือเดินหนา มุงมั่น พัฒนาภารกิจดานแพทยศาสตรศึกษารวมกันเพื่อใหการเรียนการสอนนักศึกษาแพทยมีมาตรฐานและคุณภาพดี ยิ่ง ๆ ขึ้นไปในอนาคต โดยยึดถือพระราชปณิธานในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระบิดาแหงวงการแพทยและสาธารณสุขไทย และพระบิดาแหงการอุดมศึกษาไทย ที่ทรงใหทุกคนถือประโยชน สวนรวมเปนกิจที่หนึ่งในการดําเนินการใด ๆ เพื่อประโยชนรวมกันของสังคม

๕๓

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

เรียนใหเปน (หมอ)

ผูชวยศาสตราจารย ดร.อภิชัย ชูปรีชา สาขาสรีรวิทยา

ในโอกาสที่คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ไดเปดการเรีย นการสอนหลั กสู ตรแพทยศาสตร บัณฑิตครบรอบ ๑๒ ป ผมรูสึกยินดีที่ไดรับเกียรติใหเสนอบทความเรื่อง เรียนใหเปน (หมอ) ในฐานะที่ไดมีโอกาส มารวมในองคกรตั้งแตเริ่มแรก คํากลาวที่วา “ไมมีนักเรียน-ไมมีครู” เปนจุดเริ่มตนที่ทําใหผมไดเขามามีบทบาทเปน “ครู” ในสถาบัน แหงนี้ ดวยเพราะสวนตัวมีความรักในวิชาชีพนี้เพราะจะไดมีโอกาสถายทอดประสบการณทางวิชาการที่ไดเรียนรู และสั่งสมมานับสิบปภายหลังเกษียณอายุราชการ อีกทั้งยังมีความชอบที่จะเขามามีสวนรวมในสถาบันแหงนี้ที่ เปดใหม เพราะดวยเปนคนที่ชอบงานทาทาย จนในปจจุบันปการศึกษา ๒๕๖๕ คณะมีความเจริญกาวหนามา โดยลําดับและไดเปดรับนักศึกษาเขาเรียนในหลักสูตรมาแลวรวม ๑๐ รุน ผมไดรับมอบหมายใหสอนวิชาทางสรีรวิทยาแกนักศึกษาแพทยในรายวิชาของชั้นปรีคลินิกป ๒ และ ๓ มาตั้งแตรุนแรก (นักศึกษามีรหัสขึ้นตน ๕๖๐๖๓๐….) ในปการศึกษา ๒๕๕๗ และยังคงสอนมาจวบจนปจจุบันได สอนแลวรวม ๑๐ รุน และมีนักศึกษาจบไปเปนแพทยแลว ๔ รุน นั กศึ กษาแพทย ทุกคนที่ มีส ว นร ว มไดเข ามาเรีย นที่ส ถาบัน แหงนี้เปน เวลาหกปแหงการเรีย นรู ต าม หลักสูตรฯ ไดศึกษาสําเร็จไปเปนแพทยรับใชสังคมแลวรวม ๔ รุน เปนไปตามปณิธานที่ทุกคนตั้งไวตั้งแตเริ่มแรก รับเขามาสูหลักสูตร แพทยที่จบแลวทุกคนเปนความภูมิใจและประทับใจของคณาจารยและบุคลากรทุกคนใน คณะที่ได มาเป นสว นหนึ่ งของฟน เฟ องที่สํ าคัญ ในการผลิตแพทยซึ่งจะไปประกอบอาชีพที่เปนประโยชนต อ ประเทศ อีกทั้งแพทยเปนบุคลากรที่สังคมตองการในอันที่จะคอยขจัดปดเปาปญหาและความเดือดรอนแกผูที่มี ปญหาทางดานสุขภาพ ในฐานะที่ไดมีโอกาสเปนหนึ่งในบุคลากรที่ไดแสดงความรูสึกผานบทความนี้ ผมอยากใหความมั่นใจลูก ศิ ษย ทุกคนว า คณะได พยายามทุ กวิ ถีทางที่จ ะนํา พาลูก ศิษยทุ กคนไปสงใหถึงฝงสมตามปรารถนาดว ยการ ดํ า เนิ น การเลื อกเฟ น บุ คลากรทั้ ง ทางสายวิช าการและสายสนับ สนุน ที่เ กง และดี ที่สุด โดยเห็น ไดจ ากการมี คณาจารยจํานวนมากที่มีความรูและประสบการณในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาในโรงเรียนแพทยที่มี

๕๔

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ชื่อเสียงและเปนโรงเรียนแพทยในลําดับตน ๆ ของประเทศ คณะมีการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนอย าง ตอเนื่อง โดยมุงหวังใหนักศึกษาทุกคนไดรับความรูและประสบการณที่ดีที่สุด อาจารย ทุกคนรักและหวังดีตอศิษย ทุกคน ปรารถนาที่จะทําใหทุกคนจบไปเปน แพทยที่มีความรูและประสบการณเพียงพอที่จ ะนําไปปรับ ใช ใน ชีวิตประจําวัน ไปประกอบอาชีพ และไปเรียนตอในระดับที่สูงขึ้น หากนักศึกษาเริ่มตนเขามาในคณะโดยขาด ความมั่นใจเสียแลวก็คงยากที่จะเกิดความมุงมั่น อยากเรียนรู ทําใหขาดแรงผลักดันและขับเคลื่อนที่สําคัญให ฟนฝาอุปสรรคลุลวงไปดวยดี ที่ผานมาลูกศิษยที่จบไปเปนแพทยโดยเฉพาะรุนแรกตระหนักและมั่นใจในคณะ เปนอยางดี แตตอมาความมั่นใจที่มีตอสถาบันลดนอยลงโดยลําดับในรุนของนักศึกษาตอ ๆ มา อาจเปนเพราะ การศึกษาในปจจุบันมุงเนนและใหความสําคัญกับการเรียน “กวดวิชา” มากขึ้น หากยังคงเปนเชนนี้ตอไปแลว นักศึกษาในอนาคตจะมุงแตจะไปเรียนกวดวิชาเพื่อสอบใหผาน ขาดความตั้งใจที่จะแสวงหาองคความรูที่แทจริง จากการเรียนในชั้นเรียน กิจกรรมทุกอย างย อมมีป ญหาและอุปสรรคเป นธรรมดา การศึกษาก็เช นกัน ที่กลาววา “No pain, no gain” จึงเปนสิ่งที่นักศึกษาทุกคนตองเตือนตัวเองอยูเสมอ “pain” ในที่นี้เนนไปที่เรื่องของการยอมเสียสละ เวลาและความสบายสวนตัว เอาเวลามาใชสําหรับศึกษาและแสวงหาความรู หากทําใหเปนกิจวัตรนานไปก็จะ เกิดความเคยชินและกลายเปนนิสัยและไมรูสึกขัดใจ คือ ไมรูสึกวาเปนการทรมานนั่นเอง นักศึกษาในปจจุบัน ยังคงยึดติดกับความสบายที่เคยปฏิบัติโดยไมยอมที่จะมีการปรับเปลี่ยน ดังนั้น จึงอยากกระตุนใหนักศึกษาทุก คนตองรูจักวางแผนโดยเฉพาะเรื่องการจัดการเวลา และเตือนตนเองอยูเสมอวาการทํางานในวิชาชีพแพทยเปน งานที่หนักและตองเสียสละ การเรียนใหประสบความสําเร็จเปนแพทยที่ “เกงและดี” แนนอนวาตองฝกตนใหเปนผูที่มีวินัย เขาเรียน อยางสม่ําเสมอ ตรงตอเวลาและหมั่นทบทวนบทเรียน หลายครั้งนักศึกษามักจะมองขามความสําคัญในเรื่องนี้ โดยเฉพาะการทบทวนบทเรียน มักทํากันเมื่อใกลเวลาสอบ และหลายคนทําตัวเปน “all-nighter” คืออาน หนังสือกันแบบหามรุงหามค่ําในคืนกอนสอบ ซึ่งเปนวิธีที่ไมถูกตอง ไมสมควรทํา การพักผอนใหเต็มที่ในวันกอน สอบมีความสําคัญอยางมากในการเตรียมตัวใหมีสภาพรางกายใหสดชื่น แข็งแรง และสมองปลอดโปรงพรอมที่ จะใชในการคิดแกไขปญหาในการสอบ บอยครั้งที่นักศึกษายังคงนั่งอานหนังสือหนาหองสอบทั้ง ๆ ที่ไดเวลาเขา หองสอบแลวบางครั้งถึง ๑๐ นาที ซึ่งเปนวิธีที่ไมถูกตอง อ านมาถึ งตรงนี้ ห ลายคนคงมองวาบทความนี้มีแตขอความในเชิงลบตอนักศึกษา ไมไดแสดงความ ประทับใจตอนักศึกษา ดวยติดในความเปนครูผมอยากใหมองวาวัตถุประสงคในบทความนี้เปนการ “ติ เพื่อ กอ” นักศึกษาที่ไดเขามาศึกษาในคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม พึงระลึกอยูเสมอวาทุกคนไดรับโอกาสที่ดี และควรรักษาโอกาสอันนี้ไวใหดีที่สุด หวังเปนอยางยิ่งวาบทความนี้จะสื่อไปถึงนักศึกษาที่รักทุกคน และหวังวา จะไดขอคิดและแนวทางที่จะนําพาไปพัฒนาปรับปรุงตนเองเพื่อที่จะประสบผลสําเร็จอันสูงสุดตอไป การเรียนรู ไมมีที่สิ้นสุดและสามารถพัฒนาตอเนื่องไดดวยความเอาใจใส ใฝรู แตละคนควรสรรหาแรงบันดาลใจ มีความ มุงมั่น ตั้งใจ ละเอียด รอบคอบ มานะอดทน มีหลักการ มีการวางแผนที่ดี รวมทั้งการใหความชวยเหลือซึ่งกัน และกัน รวมทั้งการกระทําการใด ๆ ขอใหเปนไปตามหลักและกฎเกณฑที่สังคมวางไว

๕๕

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

สุดทายแตไมใชทายสุดผมอยากฝากขอคิดและแนวทางในการเรียนเทาที่ตนเองมีประสบการณเลือกใช และเคยปฏิบัติมาในการศึกษาและเรียนรู จนตนเองมองวาประสบความสําเร็จในระดับหนึ่งจนสามารถกาวมาถึง ทุกวันนี้ได โดยขอยกรูปแบบ “การเรียนรูแบบองครวม” หรือ “Holistic Learning” โดยสรุป คือ อานมากอน เริ่ มเรียน ตั้ งใจฟ งในห องเรี ยน จั บประเด็ น ทํ า ความเขา ใจความรูพื้นฐานใหไ ดอยา งแมนยํา และมั่นคง เชื่อมโยงความรูใหมเขากับความรูเกา แปลงขอมูลใหเปนรูปภาพแทนการจดจําเนื้อหาลวน ๆ ตามโนต และ สุดทาย แบงปนและแลกเปลี่ยนความรูกับเพื่อน ๆ ดวยการถกและวิเคราะหปญหาโดยการติวกลุม ผมมั่นใจ วาหากปฏิบัติไดตามนี้นักศึกษาทุกคนจะประสบความสําเร็จไดโดยงาย ขออานุภาพแหงความกตัญูรูคุณตอ ครูบาอาจารยและอานิสงสแหงความขยันหมั่นเพียรนับเนื่องแตนี้ไป จงสงผลใหนักศึกษาทุกคนมีความกาวหนา ในการศึกษาเลาเรียน มีความสําเร็จในชีวิต มีความสํานึกในความรับผิดชอบตอชาติบานเมือง และโชคดีตลอดไป ผมขอขอบคุ ณ คณะผู บ ริ ห าร คณาจารย บุ ค ลากร ศิ ษ ย เ ก า และนั ก ศึ ก ษาคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยามปจจุบัน ที่ชวยกันสรางและพัฒนาคณะ ของเราใหเจริญกาวหนา ผานการประเมินรับรอง มาตรฐาน ดังเปนที่ประจักษมาจวบจนปจจุบัน และหวังเปนอยางยิ่งวา นับแตนี้ตอไปเราทุกคนจะกาวไปดวยกัน และพรอมที่จะผลักดันโดยทุกวิถีทางเพื่อใหคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม เปนสถาบันผลิตแพทยที่มี ชื่อเสียงและเปนที่รูจักในระดับประเทศและนานาชาติตอไป

๕๖

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

เพชรเจียระไน อาจารย ดร.ณัฏฐพล ศุภกลมเสนีย สาขาสรีรวิทยา

อาจารย ดร.ธิดารัตน เนติกุล สาขาจุลชีววิทยาและปรสิตวิทยา

นักศึกษาและบัณฑิตของคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ที่ไดสรางชื่อเสียงใหแกคณะมีดังนี้

ปการศึกษา ๒๕๖๕

๕๗

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ปการศึกษา ๒๕๖๔ แพทยหญิงกชพร ไวทยกุล บัณฑิตแพทยรุนที่ ๓ ไดรับรางวัลบัณฑิตแพทยศาสตรดีเยี่ยม จากมูลนิธิสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ประจําปการศึกษา ๒๕๖๔

การเลือกตั้งคณะกรรมการบริหารสหพันธนิสิตนักศึกษาแพทยแหงประเทศไทย เเละ คณะกรรมการสหพันธนิสิต นักศึกษาแพทยแหงประเทศไทย (สพท. รุนที่ ๓๒) (SMST 32) ประจําปการศึกษา ๒๕๖๔ โดยนักศึกษาคณะแพทยศาสตร (นศพ.) มหาวิทยาลัยสยาม ที่ไดรับตําเเหนง มีดังนี้ ๑. นศพ. ลลิตภัทร ขาวละเอียด ( อั้ม ) ป ๔ Minor board : ฝายสงเสริมความสัมพันธภายนอกองคกร ๒. นศพ. พิชชาภา ทองคง ( อิ้งค ) ป ๔ Minor board : ประธานโครงการคายนักพูด ๓. นศพ. กวินนาถ ธนากิจบริสุทธิ์ ( โอคเเลนด ) ป ๓ Minor board : content creator ฝายประชาสัมพันธ ๔. นศพ. ชนาธิป เภาเจริญ ( เฟรม ) ป ๓ Minor board : ประธานโครงการสัมพันธองคกร

๕๘

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ตัวแทนนศพ. ชั้นปที่ ๓ เขารวม SIMPIC ครั้งที่ ๑๑ (Siriraj International Medical Microbiology, Parasitology and Immunology Competition)

นศพ.วัฒนพล ศิริรัตนาวราคุณ ไดรับรางวัลรองชนะเลิศ การประกวดเรื่องราวในชีวิตประจําวัน “1 Day with me” vlog contest SMST Elective Thailand สหพันธนิสิตนักศึกษาแหงประเทศไทย ๒๕๖๕

๕๙

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

นักศึกษาคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ที่ไดผานรอบคัดเลือกการประกวดเรื่องราวในชีวิตประจําวัน “1 Day with me” vlog contest SMST Elective Thailand สหพันธนิสิตนักศึกษาแพทยแหงประเทศไทย ๒๕๖๕

นศพ. จันธิดา กลวยจํานงค ชั้นปที่ ๕ คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ที่ไดรับตําแหนง รองนายกสหพันธนิสิตนักศึกษาแพทยแหงประเทศไทย ฝายสงเสริมความสัมพันธองคกร คณะกรรมการบริหารสหพันธฯ ประจําปการศึกษา ๒๕๖๔

๖๐

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

นศพ. ณัฐกานต ตรีศักดิ์ศรีสกุล ไดรับการคัดเลือกใหนําเสนอผลงานวิจัย การประชุมวิชาการนานาชาติ ดานการวิจัยของนักศึกษาแพทย “The impact of Covid-19 epidemic on depression, anxiety, and stress in healthy medical science students”

นศพ. ชั้นปที่ ๖ ตีพิมพผลงานวิชาการ เรื่อง ผลของความรอนตอคุณภาพของสเปรมและการมีบุตรยากใน เพศชาย (การทบทวนวรรณกรรม) ในวารสาร J Med Health Sci

๖๑

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

นศพ. ป ๒ ที่ไดรับการคัดเลือกไดรับการตีพิมพ เรื่องปจจัยและประสิทธิภาพของการรักษาภาวะซึมเศราหลังคลอดในมารดาวัยผูใหญตอนตน “The association factor and effective therapy for young adult postpartum depression”

นศพ. ป ๓ ที่ไดรับการคัดเลือกไดรับการตีพิมพผลงานวิชาการ เรื่องการศึกษาความชุกของการผาตัดคลอดขณะที่หัวใจหยุดเตนในหญิงตั้งครรภหัวใจหยุดเตน และผลลัพธการรักษาดวยวิธีการทบทวนอยางเปนระบบและการวิเคราะหอภิมาน

๖๒

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

นศพ. ป ๖ ที่ไดรับการคัดเลือกไดรับการตีพิมพผลงานวิชาการ เรื่องการศึกษามาตรการจัดการปญหาฝุนละอองขนาดไมเกิน ๒.๕ ไมครอนของประเทศไทย ตามแนวทางองคการนามัยโลก

ตัวแทนนศพ. ชั้นปที่ ๓ เขารวม SIMPIC ครั้งที่ ๑๑ (Siriraj International Medical Microbiology, Parasitology and Immunology Competition)

๖๓

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ปการศึกษา ๒๕๖๓ นายแพทย กรรณ ดานวิบูลย บัณฑิตแพทยรุน ๓ ไดรับโลเกียรติคุณ ดานคุณธรรม จริยธรรม ประจําปการศึกษา ๒๕๖๓ จากแพทยสภา

นายแพทยจิรณัฐ บุษหมั่น บัณฑิตคณะแพทยศาสตร รุนที่ ๑ ไดรับการคัดเลือกใหเปน แพทยเพิ่มพูนทักษะดีเดน ประจําป ๒๕๖๒ โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก

นศพ.กัญญภัส เพ็งหนู นักศึกษาแพทยชั้นปที่ ๓ เนื่องในโอกาสที่ไดรับการคัดเลือกใหดํารงตําแหนง ประธานโครงการคายนักพูด ครั้งที่ ๔ ประจําปการศึกษา ๒๕๖๓

๖๔

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

นศพ.พัทธมน เภตรากาศ นศพ.พงศเทพ อรรถสกุลชัย ที่ไดรับการคัดเลือกเปนคณะกรรมการสหพันธ นิสิตนักศึกษาแพทยแหงประเทศไทย (สพท.) ประจําปการศึกษา ๒๕๖๓

ปการศึกษา ๒๕๖๒ นศพ.เกียรติกุล สิงหชา และ นศพ.ธวัลรัตน ตวงวิทยสุธี นักศึกษาชั้นปที่ ๒ ที่ไดรับเลือกใหเปนอุปนายกชาย และ ผูชวยเลขานุการ สโมสรนักศึกษามหาวิทยาลัยสยาม

๖๕

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

นศพ. ป ๓ ทั้งสามคน ที่ไดรับเลือกใหเปน ๑ ใน คณะกรรมการสหพันธนิสิตนักศึกษาแพทยแหง ประเทศไทย

นักศึกษาแพทยไดรับเหรียญงานหูกวางเกมสป ๒๕๖๒

๖๖

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ปการศึกษา ๒๕๖๑ ตัวแทน นศพ. ที่ผานการคัดเลือกไปแขงขัน ตอบปญหาทางสรีรวิทยาในระดับนานาชาติ ครั้งที่ ๑๖ จัดขึ้นที่ University of Malaya เมืองกัวลาลัมเปอร ประเทศมาเลเซีย

ปการศึกษา ๒๕๖๐ ตัวแทน นศพ. ที่ผานการคัดเลือกไปแขงขัน ตอบปญหาทางสรีรวิทยาในระดับนานาชาติ ครั้งที่ ๑๕ (จัดขึ้นที่ University of Malaya เมืองกัวลาลัมเปอร ประเทศมาเลเซีย)

๖๗

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ความในใจของศิษยเกาคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม นายแพทยปริรตั น ภพลือชัย (รุน ๑) สวั ส ดี ค รั บ กระผม นายแพทย ป ริ รั ต น ภพลื อ ชั ย ชื่ อ เล น “ญี่ ปุ น ” ตํ า แหน ง นายแพทย ปฏิบัติการ รพ.สุราษฎรธานี ขณะนี้กําลังศึกษาแพทยประจําบานศัลยศาสตร โรงพยาบาลสุราษฎรธานี ศิษยเกา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม รุนที่ ๑ สําหรับประสบการณการเรียนที่คณะแพทยศาสตร นั้น ตองขอนอมระลึกถึงพระคุณ ของทาน ดร.พรชัย มงคลวนิช อธิการบดีมหาวิทยาลัยสยาม และ นพ.บุญ วนาสิน ในการกอตั้งคณะแพทยศาสตรขึ้นมา รวมถึง ทานคณบดีคนแรก รศ.นพ.ชูเกียรติ อัศวาณิชย และตอมาเปน ศ.เกียรติคุณ นพ.อมร ลีลารัศมี ที่ไดรวม ดูแล ประคับประคอง รุน ๑ มาจนจบการศึกษาและผานมาตรฐานการสอบใบประกอบวิชาชีพทั้ง ๓ ขั้นตอน จากศูนยประเมินและรับรองความสามารถในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมของแพทยสภา (ศรว.) และออกไป ปฏิบัติงานในภาครัฐซึ่งกระจายตัวอยูทุกภาคของประเทศไทย ขอระลึกในพระคุณคณาจารยทุกทานทั้งฝงปรีคลินิก มหาวิทยาลัยสยามและฝงคลินิกศูนย แพทยศาสตรชั้ น คลินิ ก รพ.พระนั่งเกล า ศ.กิตติคุณ นพ.เฉลิม วราวิทย ที่ไดประสิทธิ์ ประสาทความรู คอย เคี่ยวเข็ญ ปลูกฝงความรับผิดชอบและจริยธรรมอันดีสูนักศึกษาแพทย ในรุ น ที่ ๑ นั้ น การเรี ย นการสอน ป ๑ เปน การศึ ก ษาที่ ม หาวิ ท ยาลั ย สยาม ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ General education ตาง ๆ ซึ่ ง จะได เ รี ย นร ว มกั บ นั ก ศึ ก ษาคณะอื่ น ๆ ของมหาวิ ท ยาลั ย เช น วิ ช าภาษาอั ง กฤษ วิ ช าเทคโนโลยี คอมพิวเตอร ตาง ๆ กระผมรูสึกมีความสุขและเพลิดเพลินมาก เปนการเติมเต็มวิชาของการใชชีวิต ขณะนั้นไดสอบแขงขันจาก ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ป น ตั ว แ ท น ไ ป แ ข ง ขั น Microsoft office specialist ณ ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก าทํ า ให ไ ด ป ระสบการณ ตาง ๆ มากมาย ในป ๒ ถึง ๓ นั้น ไดเรียนวิชาพื้นฐานทางการแพทย ที่มหาวิทยาลัยสยามเปนหลั ก แมวา ชวงแรกจะมีติดขัดจากเดิมที่จะไดจัดเรียนชั้นปรีคลินิกที่ รพ.ตํารวจ เปลี่ยนเปนการจัดการศึกษาในมหาวิทยาลัย สยาม แตอยางไรก็ตามคณาจารยก็ไดปรับเปลี่ยนการเรียนการสอนกลับมาที่มหาวิทยาลัยสยามไดอยางราบรื่น และเรียนวิชามหกายวิภาคศาสตร (ผาศึกษาอาจารยใหญ) ณ อาคารชิโนรส

๖๘

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ในการสอบ ศรว. ขั้นตอนที่ ๑ ครั้งแรกของรุน ๑ เปนสถานการณที่ยากเย็นและเปนที่กังวลใจ มากในชวงแรก เพราะเปนสถาบันที่เปดใหมและทั้งอาจารยและนักศึกษาก็ใหม แตดวยความตั้งใจของทุกฝายก็ ทําใหผานไปได และผานในเปอรเซนไทลที่นาพึงพอใจ และมีเพื่อนนักศึกษาแพทยทําผลการสอบไดถึงเปอรเซน ไทล ๙๘.๘๙ เปนที่ประทับใจและเปนกําลังใจใหเพื่อน ๆ และรุนนองในปถัด ๆ ไป ในป ๔ ถึง ๖ ไดไปขึ้นชั้นคลินิกที่ รพ.พระนั่งเกลา โดยมีทีมคณาจารยชุดที่เปนอาจารยแพทย แผนกตาง ๆ เชน อายุรกรรม ศัลยกรรม สูตินรีเวชกรรม กุมารเวชกรรม เปนตน ไดเรียนรูจากผูปวยจริง และมี คณาจารยคอยใหความรู ปลูกฝงความรับผิดชอบการดูแลผูปวย ขอขอบพระคุณศูนยแพทยศาสตรชั้นคลินิก ซึ่ง นําโดย ผอ.ศูนยแพทยฯ พญ.สิริรัตน ลิมกุล ที่คอยดูแลเอาใจใส ในการวัดผลประเมินผลตาง ๆ ใหเปนไปตาม เกณฑ ทําใหผานการประเมินในทุกขั้นตอน ในชีวิตการปฏิบัติงานเปนแพทยหลังจากจบการศึกษาจาก คณะแพทยศาสตร กระผมและเพื่อนนักศึกษาแพทยเกือบทั้งหมดได สมัครเขารับ ราชการ ปฏิบัติงานโดยมีความรู ความสามารถ ไมแพ สถาบันการศึกษาอื่น ๆ โดยหัวใจการทํางานอยูที่ความรับผิดชอบดูแล ผูปวยที่คณาจารยไดปลูกฝงมา สุดทายในโอกาสนี้ กระผมรูสึกยินดีและภาคภูมิใจ ในคณะ แพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม เปนอยางมาก ที่ไดผลิตแพทย หลอ หลอมกระผม เพื่อน ๆ รวมถึงรุนนอง ๆ ที่เปยมไปดวยคุณภาพออกสู วงการสาธารณสุขและสังคมไทยสืบตอไป

๖๙

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ความในใจของศิษยเกาคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม รอยตํารวจตรี นายแพทยปริย ตะวิชัย (รุน ๒) ประสบการณเรียนแพทยที่ คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม เมื่อ พูดถึงคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ในปที่ผมสอบเขา ประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ถือวายังเปนหนึ่งในคณะแพทยศาสตรที่เปดใหม ซึ่งตอนนั้นก็ถือวายังไม เปนที่รูจักมากนัก ประกอบกับสวนตัวทําตามความตั้งใจของทางบานวาอยากให เรียนหมอ จึงไดลองสอบและไดที่คณะแพทยศาสตรแหงนี้ ซึ่งเมื่อเขามาเรียนใน ชั้นปที่ ๑ เรียกไดวายังใชชีวิตติดเลนคลาย ๆ เด็กมัธยม เนื่องจากเนื้อหาวิชาเปน วิชาทั่วไป ยังไมไดเขาวิชาของคณะ และยังพอใชความรูเกาหากินไดอยู พอขึ้นป ที่ ๒-๓ หรือเรียกวาปรีคลินิก ถือวาเปนงานหนักมาก สวนใหญวิชาที่เรียนจะเปน วิชาที่เปนพื้นฐานเพื่อตอยอดทางการแพทยในชั้นคลินิก หรือบางวิชาก็จะเปน วิชาเกี่ยวกับโครงสรางของระบบสาธารณสุข ซึ่งเปนความรูใหมที่ไมเคยไดเรียน ทําใหตองใชเวลาในการอาน หนังสือและหาความรูเพิ่มเติมมากขึ้น โดยสวนใหญมักจะอานจากตําราและรวมกันอานกับเพื่อน ๆ ในคณะ ซึ่ง ตัวเนื้อหาในชั้นปรีคลินิกบางวิชาไมเพียงแตเนนความรูความสามารถเทานั้น บางวิชายังฝกความเปนผูนํา การ แกไขปญหาเฉพาะหนา และ SOFT SKILL ดานตาง ๆ ไปในตัวอีกดวย สวนในชวงปดเทอมไดใชเวลาและไดรับ การสนับสนุนจากทางคณะไปดูงานเกี่ยวกับระบบสาธารณสุขและการบริหารโรงพยาบาลตามโรงพยาบาลตาง ๆ เชน โรงพยาบาลดอยหลอ จ.เชียงใหม, โรงพยาบาลคริสเตียนแมน้ําแคว จ.กาญจนบุรี เปนตน ซึ่งตองยอมรับวา ในชวงปรีคลินิกสวนตัวมีความรูสึกเบื่อหนายกับการเรียนเล็กนอย เนื่องจากยังติดภาพลักษณของแพทยที่ตรวจ ผูปวยอยู แต ณ ขณะเรียนในชั้นปที่ ๒ แทบจะไมไดสัมผัสแมแตมนุษยเลย เต็มที่ก็เพียงไดผาอาจารยใหญ พอ ขึ้นชั้นคลินิกเริ่มเวียนแผนกตาง ๆ เริ่มมีความเปนแพทยมากขึ้น ถือวาไดเดินทางมาครึ่งทาง ณ เวลานั้น ทําให รูสึกวาโชคดีที่พื้นฐานของชั้นปรีคลินิกยังดี ทําใหการเรียนในชั้นคลินิ กไม ตองทบทวนเยอะเทาไร ถือวาโชคดีที่ถึงรูสึกเบื่อหนายกับชั้นปรีคลินิกแตก็ ไมไดทิ้งไปเสียทีเดียว ในชั้นคลินิกก็จะถูกสอนใหฝกตรวจโรค วินิจฉัย ใหการรักษา และทํา หัตถการตาง ๆ ตามแผนกที่วน โดยจะเพิ่มความรับผิดชอบเรื่อย ๆ ตาม ชั้นป พอหนักสุดในชั้นปที่ ๖ หรือ EXTERN แทบจะตองดูแลและจัดการกับ คนไขเองรวมกับแพทยใชทุน หรือ INTERN โดยภาระรับผิดชอบมาก แตก็ สามารถผานมาได หากทําใจใหชอบกับสิ่งที่ทํา

๗๐

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ความในใจของศิษยเกาคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม แพทยหญิงกชพร ไวทยกุล (รุน ๓) ประสบการณการเรียนที่คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม กอน จะไดเขารับการศึ กษาในคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ดิฉันไมเ คย ทราบมาก อ นว า มหาวิ ท ยาลั ย สยาม มี ก ารเป ด การเรี ย นการสอนคณะ แพทยศาสตร เนื่องจากคณะเพิ่งเปดมาไมถึง ๓ ป โดยดิฉันเขาเรียนในรุนที่ ๓ ทําใหยังไมมีนายแพทยหรือแพทยหญิงจากสถาบันนี้ออกไปสรางชื่อเสียง ถึง อยางไรก็ตามสําหรับดิฉันการเขาเรียนในคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม แหงนี้เปนการเปดโอกาสใหดิฉันไดทําตามความฝนที่ตองการที่จะเปน แพทย หลังจากผิดหวังจากการสอบแขงขันเขาศีกษาตอในหลายครั้งที่ผานมา ปที่ ๑ ของการศึกษาในคณะแพทยศาสตรเปนปที่สบายที่สุด เนื้อหาการเรียนการสอนไมแตกตางจาก จากการศึกษาในชั้นมัธยมปลายมาก เนนการปูพื้นฐานไมวาจะเปนชีววิทยา เคมี และฟสิกสในสวนของเนื้อหา และการทดลองทางหองปฏิบัติการเพื่อตอยอดสูการเรียนในระดับถัดไป ชั้นปที่ ๒-๓ เปนปที่ยากลําบากสําหรับดิฉันมากที่สุดเนื่องจากตองปรับตัวเขาสูการเรียนการสอนใน วิชาการแพทยมากขึ้น ไมวาจะเปนวิชากายวิภาค สรีรวิทยา พยาธิวิทยาและอื่น ๆ อีกมากมาย ซึ่งเปนเนื้อหา ใหมที่เราไมคุนเคยมากอน โดยเฉพาะอยางยิ่งตั้งแตชวงชั้นป ๒ เทอมที่ ๒ ที่มีการศึกษาในลักษณะแบงตาม ระบบของรางกาย โดยเริ่มจากระบบผิวหนัง ระบบทางเดินหายใจ ระบบหัวใจและหลอดเลือด ฯลฯ เพื่อให นักศึกษาเรียนรูและทําความเขาใจตอเนื้อหาแบบองครวม มีชั้นเรียนการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน (Problem based learning) เพื่อใหมีโอกาสไดใชความรูที่เรียนมาในแตละสาขาในการประยุกตใชและอธิบายกลไกการเกิด โรคตาง ๆ มีการเรียนการสอนกับอาจารยใหญที่อุทิศรางกายใหนักศึกษาแพทยไดใชศึกษา และการเรียนตรวจ รางกายอยางละเอียด ทุกสิ่งทุกอยางแปลกใหมและตองอาศัยเวลาในการปรับตัวและจัดการกับความเครียดใน การสอบประเมินผลที่จัดขึ้นแทบจะทุกเดือน รวมถึงเตรียมพรอมสําหรับการสอบใบประกอบขั้นตอนที่ ๑ (NL 1) ชั้นคลินิกป ๔-๕ เปนปที่เปลี่ยนจากการเรียนการสอนในรั้วมหาวิทยาลัยเปนการเรียนกับคนไขจริงใน หอผูปวยของโรงพยาบาล ในความคิดดิฉัน การเรีย นชั้น คลินิกเปรีย บเสมือนการใชความรูที่ไดศึกษาตลอด ชั ้น ปรีคลิ นิ กในการดู แลคนไข ห นึ่ ง คน โดยดิฉัน ไดมีโ อกาสฝ กชั้น คลินิ กที่โ รงพยาบาลพระนั่ งเกลา ซึ่งเป น โรงพยาบาลประจําจังหวัดนนทบุรี ทําใหโรงพยาบาลแหงนี้มีคนไขเปนจํานวนมาก มีคนไขใหเรียนรูที่หลากหลาย และมีอาจารยแพทยหลากหลายสาขาวิชา เปนสถานที่ฝกฝนที่ดีเยี่ยมแหงหนึ่ง และการเรียนในชั้นปที่ ๖ หรือที่ เรียกวาเอ็กซเทิรนเปนปที่สนุกที่สุดสําหรับดิฉัน เพราะเปนปที่ไดมีโอกาสไดคิด ไดตัดสินใจ ไดทําหัตถการ ไดทํา การรักษาดวยตนเอง เปรียบเสมือนการฝกงานเพื่อเตรียมพรอมสูการเปนแพทยอยางเต็มตัวในปตอไป และยิ่งไป กว านั้ น หลั กสู ตรชั้ น ป ที่ ๖ ของที่ นี่ ยั งจั ดใหนักศึก ษาได ไ ปเวีย นฝก งานที่โ รงพยาบาลกํ าแพงเพชร ซึ่งเป น ๗๑

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ประสบการณที่มีคามาก ไดรับแรงบันดาลใจในการเปนแพทยที่ดีอยางเต็มที่ สุดทายนี้ดิฉันขอขอบคุณอาจารย ทุกทานไมวาจะเปนอาจารยชั้นปรีคลินิกหรือคลินิกที่ไดสั่งสอนและใหความรูจนสามารถสําเร็จการศึกษาเปน แพทย ได ในป จ จุ บั น และขอเป น หนึ่ งในกํ า ลังใจใหรุน นองนักศึกษาแพทยที่กําลังศึกษาอยูทุกคนใหป ระสบ ความสําเร็จตามที่หวังไว

๗๒

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ความในใจของนักศึกษาแพทย ป ๖ นักศึกษาแพทยศุภณัฐ งามเสงี่ยม ป จ จุ บั น เป น นั ก ศึ ก ษาแพทย ชั้ น ป ที่ ๖ ปฏิบัติงาน ณ โรงพยาบาลกําแพงเพชร ทั้งนี้เคย จบการศึกษาจากเภสัชศาสตรบัณฑิตมหาวิทยาลัย สยาม จากการจบออกไปปฏิ บั ติ ง านรู สึ ก ได ว า มหาวิ ทยาลั ย สยามแห งนี้ มีศักยภาพในการผลิ ต บั ณ ฑิ ต ทํ า ให ส ามารถออกไปทํ า งานมี ค วามรู ความสามารถไปไม น อ ยกว า สถาบั น รั ฐ บาล ซึ่ ง เหตุผลนี้เองทําใหเกิดความมั่นใจในการตัดสินใจ เขาศึกษาตอในคณะแพทยศาสตร ณ มหาวิทยาลัย แหงนี้ กระผมจึงไดเขามาศึกษาตอไดในชั้นปที่ ๒ (new track) ขณะที่ศึกษาอยูที่มหาวิทยาลัยสยามเองและการ เขามาปฏิบัติงานโรงพยาบาลพระนั่งเกลา และกําแพงเพชร รูสึกวาบรรยากาศของการเรียนไมไดมีความกดดัน มากจนเกินไป อาจารยทุกทานคอยชี้แนะอยางดี และมีความทุมเทในการชวยสอน อีกทั้งยังมีอาจารยที่ปรึกษาที่ คอยดูแลในชั้นปรีคลินิกและคลินิกตลอดเวลา หากนักศึกษามีปญหาในดานการเรียนหรือเวลาการทํางานใน กลุ ม /ที ม ก็ มี อ าจารย ช ว ยเป น ที่ ป รึ ก ษาได เ ป น อย า งดี สํ า หรั บ เรื่ อ งความรู ที่ ไ ด อ อกมาในการปฏิ บั ติ งานที่ โรงพยาบาล ทั้งพระนั่งเกลาและกําแพงเพชร รูสึกไดวาความรูที่อาจารยไดถายทอดให ทําใหเรามีความมั่นใจใน การดูแลผูปวยมากยิ่งขึ้น สามารถรับผิดชอบในการทําหัตถการที่มีตอผูปวยได สามารถสั่งการรักษาได ซึ่งรูสึกมี ประสิทธิภาพจากการเรียนในสถาบัน มหาวิทยาลัยสยามแห งนี้ ไมไดแตกตางไปจากเพื่ อนที่เ รียนในสถาบั น รัฐบาล จึงทําใหยังคงรูสึกดีใจและภูมิใจอยูเสมอที่ไดมาศึกษาที่สถาบันแหงนี้ครับ

๗๓

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ความในใจของนักศึกษาแพทย ป ๖ นักศึกษาแพทยณฐั ดิษฐ เจียนจิตเลิศ ตั้งแตไดเขาศึกษาที่คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัย สยาม ชวงแรกเริ่มสงสัยวาคณะแพทยศาสตรที่เปดใหม จะเปน อยางที่คาดหวังไวหรือไม แตพอไดเขาศึกษาแลว พบอยางแนชัด วาเปนการตัดสินใจที่ไมผิดพลาดอยางแนนอน เพราะการเรียน การสอนที่นี่ มีการสอนดวยอาจารยผูมีความรูตั้งแตชั้นปรีคลินิก มีความเอาใจใสตอนักศึกษา เครื่องมืออุปกรณที่มากพอในการ เรียนรูตลอดทั้งชั้นปรีคลินิกถึงชั้นคลินิก มีคนไขใหศึกษาที่ มี ความหลากหลายมาก อีกทั้งยังไดลงมือปฏิบัติดวยตนเองโดยมี อาจารยควบคุมการสอนไปพรอม ๆ กัน ทําใหมีความมั่นใจวา จบการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิต แหงมหาวิทยาลัยสยามนี้ จะ ประกอบอาชีพแพทยไดอยางทรงเกียรติ และความรูทั้งศาสตร และศิลป เพื่อจะไดดูแลรักษาผูปวยในสังคมสืบตอไป

๗๔

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ความในใจของนายกสโมสรนักศึกษาคณะแพทยศาสตร นักศึกษาแพทยจตุรวิทย จันทะบุตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม เปนคณะแพทยศาสตรเ อกชน แหงที่ ๒ ของประเทศไทย ที่เปดโอกาสใหผูที่มีความสนใจเขาศึกษาสามารถ สมัครเขาศึกษาไดตั้งแตนักเรียนที่สําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จนถึงผูที่สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ดวยเหตุนี้เองทําใหผูเรียนในแตละชั้น ปจะมีความแตกตาง และหลากหลายทั้งในดานคุณวุฒิและวัยวุฒิ กอใหเกิดการ เปลี่ยนความรูและประสบการณที่สามารถประยุกตใชในการเรียนการสอนได โดยไดมีการจัดการเรียนการสอนทั้งในภาคบรรยาย ภาคทฤษฎี มีการสาธิตและ การลงมือปฏิบัติจริง โดยคณาจารยผูมากดวยประสบการณ ซึ่งการเรียนการสอน ไดมุงเนนผูเรียนเปนศูนยกลาง ไดมีการฝกกระบวนการเรียนรูพัฒนาทักษะทั้งใน ดาน hard skill และ soft skill โดยมุงเนนในการพัฒนาทักษะความเปนผูนําใหแกนักศึกษา พัฒนากระบวนการ คิดอยางเปนระบบ เพื่อที่จะไดนําความรูและทักษะไปใชตอยอดในระดับคลินิกหรือการรักษาผูปวยในอนาคตได นอกจากนี้ยังไดมีการเรียนรูกับผูปวยจําลอง หรือการนําเอาเทคโนโลยีตาง ๆ เขามาประยุกตใชในการเรียนการ สอนมากยิ่งขึ้น อาทิ การใช application anatomed มาชวยในการเรียนรูรายวิชากายวิภาคศาสตร การเรียน การสอนไดมีการปรับปรุงและพัฒนาอยูเสมอ มีการสะทอนปญหาในระหวางเรียนในแตละรายวิชา สงผลให นั ก ศึ ก ษาและคณาจารย ได มี ก ารแลกเปลี่ ย นมุ ม มองและส ง เสริ ม กระบวนการเรี ย นรู ไ ด ดี ยิ่ ง ขึ้ น นอกจาก คณาจารยแลว ยังมีบุคลากรตาง ๆ ในคณะที่ไดดูแลเอาใจใส มอบความอบอุน ตลอดจนชวยเหลือและสงเสริม บรรยากาศในการเรียนใหดียิ่งขึ้น โดยในแตละชั้นปจํานวนนักศึกษามีจํานวนที่ไมมากทําใหมีความสนิทสนมกลม เกลียวและสามารถชวยเหลือกันได นอกจากในดานวิชาการแลวในฐานะนายกสโมสรนักศึกษาคณะแพทยศาสตร ที่มีสวนในการสรางสรรค และผลักดันโครงการและกิจกรรมที่เปนประโยชนตอนักศึกษา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ไดมีการ สนับสนุนความรูและความสามารถและสงเสริมใหมีกิจกรรมตาง ๆ ตามความสมัครใจและความสนใจของผูเรียน แตละคน มีการสนับสนุนการจั ดตั้ งชมรม ชุมนุม ทั้งดานกีฬา นันทนาการ วิชาการ เพื่อตอบสนองความรู ความสามารถใหรอบดาน มิใชเพียงแตกิจกรรมภายในชั้นปคณะยังสงเสริมใหมีกิจกรรมระหวางชั้นป กิจกรรม ระหวางคณะ และยังสนับสนุนใหมีกิจกรรมและรวมเปนสวนหนึ่งกับคณะแพทยศาสตร ตางสถาบันอีกดวย นับ ไดวาคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ไดมีการ “เจียระไนพัฒนาศักยภาพผูเรียนใหเปนแพทยมืออาชีพ มี ภาวะผูนํา” ตั้งแตวันแรกที่กาวเขามาจนเปนนักศึกษา ตลอดระยะเวลา ๖ ป จนกระทั่งสําเร็จการศึกษาเปน บัณฑิตแพทยที่จะตองรับผิดชอบตอผูปวยในอนาคต

๗๕

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

เรียนรูอดีตแลวคิดพัฒนาปจจุบัน เพื่อมุงมั่นสูอนาคต

ศาสตราจารยกิตติคุณ นายแพทยเฉลิม วราวิทย ที่ปรึกษาคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

Look to the past only for the lessons we can learn. Live today for the joy of being alive. Plan the future to ensure that what should be. Kay Claws 1990 ผมเกิ ด ที่ ต า งจั ง หวั ด ในภาคตะวั น ออกก อ นสงครามโลกครั้ง ที่ ส องและเติ บ โตในวัย เด็ ก ในชว งหลัง สงครามโลก นิสัยผมจึงคอนขางจริงจัง เครงครัดเรื่องระเบียบวินัย ขนบธรรมเนียมประเพณี ทุมเทกับการทํางาน มีความอดทน อดออมและอยูในกลุมอนุรักษนิยม อําเภอที่ผมเกิดไมมีแพทยปริญญา โรงเรียนประจําอําเภอมี การเรียนการสอนสูงสุดระดับมัธยมปที่สาม ผมเรียนจบครูระดับประโยคประถม (ปป) ที่กทม. ซึ่งตอนนั้นถาผม ขอรับราชการหรือขอรับทุนเรียนตอวิชาครูก็ได คุณพอเปนชาวนาและเปนหมอพื้นบาน หลวงนาเปนหมอพระ พอคิดวาผมเรียนเกงจึงขอใหผมเรียนหมอ ผมเลยตามใจพอสอบเขาเรียนแพทยที่มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร การ เรียนของผมลุม ๆ ดอน ๆ สอบซอมบางจนเรียนจบไดปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตจาก คณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร เมื่อผมอายุสี่สิบปและเริ่มตนทํางานดานแพทยศาสตรศึกษา ผมมีความสนใจการแพทยสมัยโบราณและ พบว า คั ม ภี ร แ พทย ไ ทยที่ ห มอแผนโบราณใช ย ารั ก ษาผู ป ว ยจะมี ส ว นประกอบของสมุ น ไพรเป น หลั ก แต มี สวนประกอบของสัตวหรือแรธาตุนอย ผูประกอบอาชีพหมอแผนโบราณสวนใหญจะเปนหมอประจําตําบล ผูนํา ทางจิตวิญญาณ หมอผี หรือผูนําทางศาสนา จากการศึกษาการแพทยในตางประเทศพบวาการแพทยในประเทศ อียิปต อินเดีย จีน และกรีก จะเนนการรักษาดวยการทําความเขาใจในปญหาการเจ็บปวยทางกาย ความรูสึก อารมณของผูปวย และรักษาตามอาการหรือตนเหตุคือ ธาตุ ดิน น้ํา ลม ไฟ หมอจะเฝาติดตามผูปวยจนหายหรือ เสียชีวิต กระบวนการดังกลาวหมอจะมีศิลปะในการบริบาลที่เขาถึงความรูสึกของผูปวยและญาติ ฮิปโปเครตีส (Hippocrates) เป น แพทย ช าวกรี กผู บุ กเบิ กวิช าแพทยแผนปจ จุบัน และไดรับ การยกยองใหเปน บิดาแหง วิชาการแพทย (Father of the Medicine) ไดวางรากฐานจรรยาบรรณวิชาชีพแพทยไวใหผูประกอบเวชปฏิบัติ ๗๖

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ดําเนินตามคือ คําปฏิญาณฮิปโปเครตีส (Hippocrates Oath) การแพทยในยุคกลาง (750 CE) ผูนับถือศาสนา อิสลามหรือชาวมุสลิมมีสวนรวมเสริมสรางความรูทางการแพทยดวยการศึกษาวิชาแพทยศาสตรจากประเทศกรีก (Hippocrates, Galen, Sushruta) Dr. Avicenna ถือเปนบิดาแหงการแพทยทานหนึ่งจากการที่ทานได ศึกษา วิชาแพทยศาสตร และเขีย นตํ าราการแพทยไวหลายเลม สวนในทวีปยุโรปนั้น การแพทยห รือการศึกษาวิช า แพทยศาสตรอยูภายใตการกํากับควบคุมของศาสนาหรือพระ อยางไรก็ตามเมื่อวิทยาศาสตรเริ่มเจริญงอกงามใน คริสตศตวรรษที่ ๑๖ ผูเกี่ยวของในวิชาการเริ่มตระหนักวา ความจริงที่พระหรือผูใหญสอนไวนั้นมิไดเปน จริง เสมอไป การคนพบเชื้อจุลินทรียตาง ๆ ที่เปนเหตุใหผูคนเจ็บปวยยังสงผลใหการศึกษาวิชาแพทยศาสตรเ ริ่ม เปลี่ยนแปลงดวยการนําผลการวิจัยทางชีววิทยามาประกอบวิชาชีพเวชปฏิบัติมากขึ้นในคริสตศตวรรษที่ ๑๘ การศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเริ่มตื่นตัวและกาวหนามากทําใหการศึกษาวิชาแพทยศาสตรตอง ศึกษาและพึ่งพาความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมากขึ้น วิทยาการทางเภสัชศาสตรก็ไดกาวหนามาก เชนกัน ความรูทางเภสัชวิทยามิใชศึกษาสมุนไพรแตอยางเดียวแตใหความสนใจในสรีระของมนุษย เชนเรื่องสาร น้ํ า และเกลื อ แร ใ นร า งกาย (fluid and electrolytes) ถึ ง แม ว า แพทยศาสตรศึ ก ษาจะนํ า คว ามรู  ท าง วิ ท ยาศาสตร แ ละความรู ท างเภสั ช วิ ท ยามาศึก ษาเลา เรีย นแตยัง ไม ม ากนัก ในป ค.ศ.๑๙๑๐ A. Flexner ไดรายงานการจัดทําหลักสูตรแพทยศาสตรในประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดาและมีขอเสนอแนะใหผูพัฒนา หลักสูตรวิชาแพทยศาสตร โดยเพิ่มความรูทางวิทยาศาสตรเพื่อใหแพทยมีความรูทางวิทยาศาสตรใหมากขึ้น ดวยขอเสนอดังกลาวมีผลใหผูจัดทําหลักสูตรแพทยศาสตรตระหนักในเรื่องนี้และใหความสําคัญกับวิทยาศาสตร การแพทยมากขึ้น โรงเรียนแพทยของประเทศในทวีปยุโรปและสหรัฐอเมริกาไดจัดการศึกษาแพทยศาสตรอยาง เปนระบบและแพรหลายไปทั่วโลก การศึกษาวิชาแพทยศาสตรของประเทศไทยก็ไดดําเนินตามนานาชาติดวย และให ความสํ า คั ญ ด า นวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีมากเชนเดียวกัน ประเทศไทยไดมีการพัฒ นาหลักสูตร แพทยศาสตรตั้งแตสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวที่มีพระบรมราชานุญาตใหจัดตั้งโรงเรียน แพทยเมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๒ จนประสบความสําเร็จเมื่อมีนิสิตแพทยสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาแพทยศาสตร บัณฑิตรุนแรกจาก คณะแพทยศาสตรและศิริราชพยาบาล ใน พ.ศ. ๒๔๗๑ ประวัติการศึกษาระดับเตรียมแพทยศาสตร ระดับปรีคลินิกและระดับคลินิก ในสมัยรัชกาลที่ ๖ พระเจานองยาเธอพระองคเจารังสิตประยูรศักดิ์ทรงกําหนดนโยบายและวางแนว ทางการปรับปรุงวิทยาศาสตรการแพทยพื้นฐานใหเขมแข็งเพื่อผูเรียนจะไดมีความสามารถติดตามความรูไดใน อนาคต ในระยะแรกสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาชัยนาทนเรนทรไดทรงขยายหลักสูตรแพทยศาสตร จากสี่ปเปนหาป และทรงวางแนวทางการศึกษาแพทยศาสตรเปนสองภาค ๆ ละสองปครึ่งคือภาคที่หนึ่งเรียน เคมี ฟ สิ ก ส ชี ว วิ ท ยา สั ต ววิ ท ยา กายวิ ภ าคศาสตร สรี ร วิ ท ยา ภาคที่ ส อง เรี ย นพยาธิ วิ ท ยา อายุ ร ศาสตร ศัลยศาสตร สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา เมื่อเริ่มเปดหลักสูตรแพทยศาสตรระดับปริญญารุนแรกไดขยายเวลาเรียน เปน ๖ ป คือ ๒ ปแรกเรียนที่คณะอักษรศาสตร และวิ ทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิ ทยาลัย วิชาที่จัด สอน ประกอบด ว ย ชั้ น ป ที่ ๑ เรี ย นวิ ช า Inorganic chemistry, Physics, General Biology, Zoology, English, Scientific Latin ชั้นปที่ ๒ เรียนวิชา Organic Chemistry, Physics, Vertebrate Anatomy, Botany, English, วิชาเลือก เชน French, Bacteriology ประวัติศาสตรไทย ปที่ ๓ นิสิตยายมาเรียนที่คณะแพทยศาสตรและศิริ๗๗

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ราชพยาบาล อีก ๔ ป คือ ปที่ ๑ เรียน Biochemistry, Physiology, Biochemistry, ปที่ ๒ เรียน Gross anatomy, Neuroanatomy, Topographic Anatomy, Pharmacology, General Pathology, Bacteriology, Parasitology, Physical Diagnosis, Introduction to Medicine, Hygiene and Public Health, Medical History, Surgery, Mataria Medica, Pharmacy, Clinical Pathology ปที่ ๓ เรียน Medicine and Pediatrics, Surgery, Obstetrics and Gynecology, Special Pathology, Public Health, X-rays, ป ที่ ๔ เรี ย น Medicine and Pediatrics, Surgery, Ophthalmology- Otolaryngology, Obstetrics and Gynecology, X-rays, Public Health ในระยะนั้น สมเด็จ พระมหิ ตลาธิ เบศร อดุ ลยเดชวิ กรม พระบรมราชชนก พระผู ได รั บการถวายพระสมั ญญาภิ ไธย จากแพทย และ ประชาชนทั่วไปวา “พระบิดาแหงการแพทยแผนปจจุบันของไทย” ไดทรงกรุณาพัฒนาการแพทยไทยใหเจริญรุงเรือง เทียบเคียงไดในระดับสากล หลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ ประเทศไทยไดจัดประชุมแพทยศาสตรศึกษาแหงชาติอันเปนเหตุปจจัยที่ สงเสริมใหการศึกษาแพทยศาสตรของประเทศไทยกาวหนาเปนอยางมากคือ การประชุมแพทยศาสตรศึกษา แหงชาติที่จัดขึ้นเปนครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๙ และการประชุมดังกลาวไดดําเนินติดตอกันมาทุก ๗-๘ ป และจัด ประชุมครั้งสุดทายเมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ วัตถุประสงคที่สําคัญคือขอเสนอแนะและการกําหนดทิศทางการผลิตแพทย ใหมีผลลัพธและสมรรถนะตามความตองการของประเทศ ผลการประชุมแตละครั้งนําไปสูการเปลี่ยนแปลงที่เปน รูปธรรมเห็นชัดเจนในประเด็นตาง ๆ ดังนี้ การประชุ มครั้ งที่ ๑ พ.ศ. ๒๔๙๙ ผลการประชุมนํ าไปสู การเปลี่ ย นแปลงใน พ.ศ. ๒๕๐๔ คณะ แพทยศาสตรศิริราชพยาบาล และคณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร ได จัดการฝกอบรมแพทยฝกหัดเพิ่มอีก ๑ ป การประชุมครั้งที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๐๗ ผลการประชุมนําไปสูการเปลี่ยนแปลงใน พ.ศ. ๒๕๑๒ แพทยสภาได ตั้งกรรมการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาอบรมแพทยประจําบานศัลยศาสตรเปนหลักสูตรแรก ซึ่งเปนจุดเริ่มตนที่ แพทยสภาจัดหลักสูตรการศึกษาอบรมแพทยเชี่ยวชาญสาขาตาง ๆ ในเวลาตอมา การประชุมครั้งที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๑๔ คณะแพทยศาสตรไดแบงหรือเพิ่มวิชาแขนงตาง ๆ ทั้งระดับปรีคลินิก และระดับคลินิก เชน ตั้งภาควิชาเภสัชวิทยา ชีวเคมี ซึ่งแยกจากภาควิชาสรีรวิทยา ตั้งภาควิชาปรสิตวิทยา จุลชีววิทยา นิติเวชศาสตร ซึ่งแยกจากภาควิชาพยาธิวิทยา ตั้งภาควิชาศัลยศาสตรออรโธปดิกส วิสัญญีวิทยา ซึ่ง แยกจากภาควิชาศัลยศาสตร ตั้งภาควิชาโสต ศอ นาสิก ลาริงซวิทยา ซึ่งแยกจากภาควิชาจักษุวิทยา ตั้งภาควิชา จิตเวชศาสตร ซึ่งแยกจากภาควิชาอายุรศาสตร ผูบริหารภาควิชาหลักตาง ๆ เชน อายุรศาสตร ศัลยศาสตร ฯลฯ ไดสงนิสิตนักศึกษาออกไปศึกษาหาประสบการณที่โรงพยาบาลตางจังหวัดมากขึ้น การประชุมครั้งที่ ๔ พ.ศ. ๒๕๒๒ คณะแพทยศาสตรตาง ๆ ไดปรับลดหลักสูตรเตรียมแพทยจาก ๒ ป เปน ๑ ป เริ่มที่คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน เปนแหงแรก (พ.ศ. ๒๕๑๖) มหาวิทยาลัยเชียงใหม (พ.ศ. ๒๕๒๑) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มหาวิทยาลัยมหิดล คือ คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล คณะ แพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี และคณะแพทยศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๒๒) และยกเลิก การฝกอบรมแพทยฝกหัด

๗๘

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

กระทรวงสาธารณสุขไดแบงการบริการทางการแพทยและสาธารณสุขออกเปน ๓ ระดับ คือ ระดับปฐม ภูมิ ทุติยภูมิ ตติยภูมิ (primary care, secondary care และ tertiary medical care) ตลอดจนมีการกําหนด บทบาทของแพทยจบใหมใหชัดเจนขึ้น การประชุมครั้งที่ ๕ พ.ศ. ๒๕๒๙ คณะแพทยศาสตรไดปรับปรุงหลักสูต รระดั บปรีคลินิกเป น แบบ บูรณาการและเนนวิธีการเรียนการสอนใหนิสิตนักศึกษาแสวงหาการเรียนรูดวยการนําตนเองมากขึ้น เชน การ เรียนการสอนดวยวิธี Problem-based Learning, Project-based Learning ฯลฯ การประชุมครั้งที่ ๖ พ.ศ. ๒๕๓๖ ผลการประชุมทําใหผูบริหารการศึกษาของทบวงมหาวิทยาลัย คณะ แพทยศาสตรและกระทรวงสาธารณสุขเกิดแนวคิดที่กวางขวางและครอบคลุมประเด็นตาง ๆ ในการจัดการศึกษา การกระจายแพทย และการปรับระบบบริการทางการแพทยสาธารณสุข การประชุมครั้งที่ ๗ พ.ศ. ๒๕๔๔ ที่ประชุมเสนอแนะจํานวนหนวยกิตหลักสูตรแพทยศาสตรไมนอย กวา ๑๙๒ และไมเกิน ๒๖๓ หนวยกิต เพิ่มวิชาเลือกสรางเสริมสมรรถนะเปน ๑๒ หนวยกิต และวิชาเลือกเสรี ๖ หนวยกิต ผูบริหารและคณาจารยคิดระบบการประกันคุณภาพการศึกษาทั้งระดับปริญญาแพทยศาสตร บัณฑิต และการศึ ก ษาหลั ง ปริ ญ ญา จั ด ระบบการสอบเพื่ อ ใบประกอบวิ ช าชี พ เวชกรรม พั ฒ นาระบบการศึ ก ษา แพทยศาสตร เพื่อตอบสนองระบบบริการสุขภาพ การกระจายแพทย การบริบาลผูปวยเคลื่อนที่ (ambulatory care) และการดูแลผูปวยแบบองครวม การประชุมครั้งที่ ๘ พ.ศ. ๒๕๕๒ ที่ประชุมมีขอเสนอหลายดาน เชน การบริบาลผูปวยโรคเรื้อรัง การ บริบาลผูปวยระยะสุดทาย การใชยาอยางสมเหตุสมผล การทํางานในชุมชน การถายทอดความรูใหสอดคลองกับ ความตองการของชุมชน การสื่อสาร การมีมนุษยสัมพันธที่ดี การบริบาลสุขภาพแกผูปวย ครอบครัวและชุมชน ดวยหัวใจความเปนมนุษย ภาวะผูนําและการทํางานเปนทีมในสหวิชาชีพ การสรางเสริมสุขภาพ และการปองกัน โรค การบูรณาการแพทยแผนไทยและแพทยทางเลือกในระบบบริการสุขภาพ การประชุมครั้งที่ ๙ พ.ศ. ๒๕๕๘ ที่ประชุมมีขอเสนอแนะการปรับเปลี่ยนการศึกษาแพทยศาสตรเพื่อ ผลิตแพทยสูสังคมในอนาคต ขณะนี้กําลังดําเนินการ การเรียนรูในปจจุบันเพื่อการดํารงชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑ เนื่องจากการศึกษาอบรมวิชาแพทยศาสตรในแตละประเทศมีความแตกตางกันทั้งระดับปริญญาบัณฑิต และการศึ ก ษาหลั ง ปริ ญ ญา สหพั น ธ แ พทยศาสตรศึ ก ษาโลก (World Federation Medical Education = WFME) ไดกําหนดมาตรฐานที่สําคัญระดับปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิต ใหสถาบันผลิตแพทยกําหนดแกนความรู ที่สําคัญและจําเปนตองเรียนรูไวในหลักสูตรระดับปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิต เชน วิทยาศาสตรการแพทย ระดับปรีคลินิกและคลินิก สังคมศาสตร พฤติกรรมศาสตร ในปจจุบันหลักสูตรแพทยศาสตรไดรวมเสาหลัก การศึกษาไวสามเสาหลัก คือ การศึกษาระดับปรีคลินิก ระดับคลินิก และ ระบบสุขภาพศาสตร (preclinical science, clinical science, health systems science) การเรียนศาสตรทั้งสามหลักนั้นมีความสําคัญที่จะตอง กําหนดไวในหลักสูตรใหสอดคลองกัน ตั้งแตเรียนปที่ ๑ ถึงปที่ ๖ เนื่องจากโลกมีการเปลี่ยนแปลงในเหตุการณ ตาง ๆ รวดเร็วมาก เราไดยินคําวา VUCA ซึ่งยอมากจาก Volatility (ความผันผวน) Uncertainty (ความไมแนนอน) ๗๙

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

Complexity (ความสลับซับซอน) และ Ambiguity (ความคลุมเครือ) ทําใหมนุษยตองการทักษะการคิด การ ปฏิบัติที่จะมารับมือกับความไมแนนอนที่เกิดขึ้น นอกจากนี้การมีขอมูลขาวสารที่เขามาหาตัวเรามากแลวเราจะรู ไดอยางไรวาขอมูลขาวสารนั้นนาเชื่อถือหรือไม หากเราไมมีกระบวนการคิดที่ดี โอกาสที่จะตัดสินใจผิดพลาดก็มี มาก ฉะนั้นหลักสูตรการเรียนการสอนจึงไดเนนการเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะของคนในศตวรรษที่ ๒๑ คือ การ สร า งกรอบแนวคิ ด การเรี ย นรู ด ว ยการกํ า หนดยุ ท ธศาสตร แ ละกลยุ ท ธ ก ารจั ด องค ค วามรู การเสริ ม สร า ง ประสิทธิภาพการเรียนรูดวยการเนนที่ผลลัพธความรู ทักษะ ทัศนคติ และสมรรถนะวิชาชีพเพื่อการดํารงชีวิตใน สังคมแหงการเปลี่ยนแปลงดวยการผสมผสานองคความรู ทักษะเฉพาะดาน ความชํานาญและความรูเทาทันการ เปลี่ ย นแปลงด า นต า ง ๆ เข า ด ว ยกั น เพื่ อ นํ า มาพิจ ารณาทางเลื อ กที่ส มเหตุส มผลดว ย องค ป ระกอบต า ง ๆ ประกอบดวย 8C ดังนี้ ๑) Critical Thinking and Problem Solving ดานการคิดอยางมีวิจารณญาณ และทักษะในการแกปญหา ๒) Creative Thinking and Innovation ดานการคิดริเริ่มสรางสรรค และนวัตกรรม ๓) Collaboration, Teamwork and Leadership ดานการรวมมือ การทํางานเปนทีม และภาวะผูนํา ๔) Communications, Information, and Media Literacy ดานการสื่อสาร สารสนเทศ และการรอบรูสื่อ ๕) Cross-cultural Understanding ดานความเขาใจความตางวัฒนธรรม ๖) Computing and ICT Literacy ดานคอมพิวเตอร และการรอบรูเทคโนโลยีสารสนเทศ ๗) Career and Lifelong Learning Skills ดานทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรูตลอดชีวิต ๘) Convey Experience/ Knowledge Transfer ดานการถายทอดประสบการณ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม แพทยสภา และกลุมสถาบันแพทยศาสตร แหงประเทศไทยไดเสนอแนะใหคณะแพทยศาสตรนําแนวทางการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษา แหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แกไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๒ พ.ศ ๒๕๔๕ ฉบับที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๕๓ ฉบับที่ ๔ พ.ศ. ๒๕๖๒ มา ประยุกตการจัดการเรียนการสอนใหหลากหลายเพื่อสรางบัณฑิตแพทยใหบรรลุเปาหมายตามคุณสมบั ติ ของ หลักสูตรของแตละสถาบัน

๘๐

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ศิษยและอาจารยควรมีวิธีการเรียนการสอนอยางไรในระดับปรีคลินิก ครูกับการเรียนการสอน ปจจุบันคําแนะนําสําหรับการเรียนรูในระดับอุดมศึกษามีหลากหลายแตที่ สําคัญคือ การเรียนรูเปนหนาที่ของผูเรียน ครูเปนผูชี้แนะแนวทางใหผูเรียนเดินตามความถนัดในการเรียนรูของ ผูเรียนแตละคน ภาษิตจีนไดกลาวไววา ฉันไดยินแลวฉันก็ลืม ฉันไดเห็นแลวฉันก็จําได แตเมื่อฉันไดกระทํา ฉันจึง เข า ใจ หมายความว า การจั ด เรี ย นการสอนให ไ ด ผ ลต อ งดี ต อ งเป ด โอกาสผู เ รี ย นมี ส ว นร ว มในกิ จ กรรม (engagement) และคํากลาวที่วา Teach less and Learn More นั้นมีความสําคัญมาก ถาครูอาจารยใชเวลา ในการสอนรายละเอียดมากเกินไป นักศึกษาจะมีเวลาในการไตรตรองความรูที่เปนสาระแกนสารนอย ถาเรา ระลึกความหลังถึงวิธีการเรียนของเราขณะที่เราเปนนิสิตนักศึกษา เราตองการเรียนใหไดเกรดดีหรือคะแนนสูง เราตองใชเวลาในการเรียนที่เหมาะสม นั่นคือผูเรียนจําเปนตองบริหารเวลาใหเกิดประโยชนสูงสุด วิธีการเรียนให ไดผลดีเราตองเรีย นรู ในภาพใหญ ใหเ ข าใจแจ มแจ งก อน ตัวอยางการเรียนในระบบหัวใจ (cardiovascular system) เราตองทําความเขาใจในโครงสรางและหนาที่ของระบบหัวใจ เชน anatomy, histology, cardiac output, systemic vascular resistance, blood pressure, blood flow, and venous return ใหชัดเจนวา ระบบการทํางานของหัวใจมีความสัมพันธซึ่งกันและกันอยางไรกับโครงสรางและเกิดผลกระทบอยางไรถามี โครงสรางหรือการทําหนาที่อยางหนึ่งอยางใดผิดปกติ เมื่อเขาใจดีแลว การศึกษาในรายละเอียดแตละอยางจะ งายมาก ในความจริงพบวาผูเรียนที่เรียนชาจะใหความสนใจศึกษาทองจําในรายละเอียดเกินความจําเปนและ มองไมเห็นภาพใหญ ฉะนั้นผูสอนตองจัดประสบการณการเรียนใหผูเรียนเห็นภาพใหญในแตละสาขาวิชาหรือ คาบวิ ช าก อน เพราะภาพใหญ จ ะช ว ยผู เ รี ย นจดจําไดน าน หลังจากนั้น ผูเรีย นแตล ะคนจะใชเวลาศึกษาใน รายละเอียดแตละประเด็นเพื่อบรรลุเปาหมายของแตละคนไดงายขึ้น วิธีการจัดการเรียนการสอนแบบตาง ๆ ที่ คณาจารยของคณะแพทยศาสตรจั ดอยูในปจจุบั น เชน Interactive lecture, Case-based Learning (CBL), Problem-based Learning (PBL), Project Work/ Project-based Learning (Pr-BL), Laboratory learning, Field Study, Flip Classroom Learning, Tutorial Learning, Self-directed Learning (SDL) ถาอาจารยจัดกระบวน การเรียนการสอนที่ยึดนักศึกษาเปนสําคัญ อาจารยควรจัดใหนักศึกษามีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนและหา วิธีการจัดการเรียนการจัดการเรียนการสอนใหนักศึกษามีอัตตลักษณตามที่คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัย สยาม ตั้งปณิธานไวคือ Professional, Leadership, Active Learning, Internationalization (PLAI) ในคาบ การเรียนการสอนแลวจะทําใหมั่นใจไดวา ผลลัพธการเรียนรูจะบรรลุคุณลักษณะบัณฑิตแพทยสยาม และตองมี ความมั่นใจในการจัดการเรียนการสอนใหบัณฑิตแพทยดํารงชีวิตอยางมีความสุขในศตวรรษที่ ๒๑ ควรจัดการ เรียนการสอน 8C ตามที่กลาวไวแลวขางตนดังตอไปนี้ ๑) การคิดอยางมีวิจารณญาณ และทักษะในการแกปญหา คือการจัดการเรียนการสอนใหนักศึ กษามี ทักษะกระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ วิธีจัดการเรียนการสอนคลายกับการแกปญหาทางวิทยาศาสตร คือ การรวบรวมขอมูลและทําความเขาใจใหชัดเจนเพื่อกําหนดประเด็นของปญหา อธิบายปญหา จัดระบบขอมูล วิเคราะหขอมูล แยกแยะความคิดเห็นที่แตกตาง การแปลผลเพื่อประเมินความสมเหตุสมผลของขอมูลแลวสรุป ขอมูล พิจารณาทางเลือกวิธีการแกปญหาอยางสมเหตุสมผล

๘๑

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

๒) การคิดริเริ่มสรางสรรคและนวัตกรรม คือการจัดการเรียนการสอนใหนักศึกษามีจินตนาการ มีแรง บันดาลใจใหเกิดความคิดสรางสรรค มีเปาหมาย แลวลงมือปฏิบัติ การทํางานอยางสม่ําเสมอ มีวินัยในการ ทํางานจากนั้นนําผลงานมาไตรตรองและแลกเปลี่ยนเรียนรูกับเพื่อนและปรับปรุงจนมั่นใจวาผลงานมีคุณภาพสูง ๓) การสื่อสาร สารสนเทศ และการรูเทาทันสื่อ คือการจัดการเรียนการสอนใหนักศึกษามี ทักษะการ สื่อสาร อันประกอบดวย การเขียน การสื่อสารทั้งทางภาษาวาจาและภาษากาย (วัจนะภาษาและอวัจนะภาษา) ทักษะการฟงอยางตั้งใจ ทักษะการตั้งคําถามอยางลึกซึ้ง การทวนความเขาใจ การเสนอแนะและการสื่อสารเสนอ ผลงานทางวิชาการ การรูสารสนเทศ มีสมรรถนะการเลือกใชสื่ อ การประเมินสื่ อ การสื่อสารข อมูล อย า งมี ประสิทธิภาพ มีสมรรถนะรูเทาทันสื่อ การวิเคราะหสื่อ รูปแบบการใชสื่อ การสรางสื่อและผลกระทบแกผูใชสื่อ ๔) การรวมมือการทํางาน การทํางานเปนทีมและภาวะผูนํา คือการจัดการเรียนการสอนใหนักศึกษามี ความรับผิดชอบตองานที่รับมอบหมาย การรวมกันทํางานกลุมเพื่อความสําเร็จของกลุม การเคารพกฎกติกาที่ กลุมกําหนดไว ๕) ความเขาใจความตางวัฒนธรรม คือการจัดการเรียนการสอนใหนักศึกษาเห็นคุณคาในการยอมรับใน ความหลากหลายทางวัฒนธรรม กลาวคือ การเปนผูยอมรับและปรับเปลี่ยนความคิดของตนใหสอดคล องกับ วัฒนธรรมที่ประสบซึ่งประกอบดวย การปรับแนวคิดของตนตามบริบททางวัฒนธรรม การมองเห็นคุณคาของ วัฒนธรรมอื่น ๆ และมีความพรอมจะรับคานิยมใหม ๆ ที่ไมขัดแยงกับคานิยมของไทย ดังนั้นการเรีย นรูที่จ ะ ยอมรับและเขาใจความแตกตางเหลานั้น คือหัวใจสําคัญที่จะทําใหเรามีชีวิตอยูในสังคมไดอยางมีความสุข ๖) ทักษะดานคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ คือการจัดการเรียนการสอนใหนักศึกษามีความรู และทักษะดานการใชคอมพิวเตอร การใช computer software และอุปกรณในการทํางานเพื่อประมวลผล ข อ มู ล จั ด เก็ บ ข อ มู ล อย า งเป น ระบบ การสื บ ค น สารสนเทศ การใช เ ครื อ ข า ยและเทคโนโลยี ส ารสนเทศ ความสามารถการใชเทคโนโลยีดิจิทัล (digital technology) คือ ความหลากหลายของทักษะที่เกี่ยวของสัมพันธ กั น ของการรู ดิจิ ทัล (Digital literacy) ทั กษะเหลานั้น อยูภ ายใต การรอบรู สื่ อ (Media literacy) การรอบรู เทคโนโลยี (Technology literacy) การรอบรูสารสนเทศ (Information literacy) การรอบรูเกี่ยวกับสิ่งที่เห็น (Visual literacy) การรอบรูการสื่อสาร (Communication literacy) และการรอบรูสังคม (Social literacy) ๗) ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรูตลอดชีวิต คือการจัดการเรียนการสอนใหนักศึกษาเริ่มตนเรียนรูสิ่ง ใหม ๆ ดวยตัวเอง การทํางานโครงการ การทําวิจัย และการเรียนรูดวยการนําตนเอง เปนการฝกฝนอบรมการ เรียนรูตลอดชีวิตใหบัณฑิตแพทยไมวาจะอยูที่ไหน ในวัยไหนก็สามารถเรียนรูไดไมมีที่สิ้นสุดเพื่อการดํารงชีวิตให เขากับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

๘๒

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

๘) การถา ยทอดความรู คือการจัดการเรีย นการสอนใหนักศึกษาปฏิบัติกระบวนการแบงปน ความรูที่ ถายทอดจากคนหนึ่งไปยังอีกคนหนึ่ง กลุมหนึ่งไปยังอีกกลุมหนึ่ง การถายทอดความรูจากผูรูไปยังผูที่ตองการ ความรู การจัดการเรียนการสอนใหนักศึกษามีทักษะการถายทอดความรูคือเริ่มตนดวยการสนับสนุนใหนักศึกษา เรี ย นรู ร ว มกั น ในกลุ มเพื่ อน พี่ ส อนน อง การเรีย นรูรว มกัน ระหวางศิษยกับ อาจารย ดว ยการสรางนิสัย การ ถายทอดความรูดังกลาวแกนักศึกษาจะชวยสรางนิสัยนักศึกษาในการแสวงหาความรูในวิชาชีพที่ถูกตองแลว นํามาถายทอดความรูแกผูปวย ครอบครัว ชุมชนและผูรวมวิชาชีพตอไป จากความจริงที่วาการเรียนรูของศิษยไมเทาสิ่งที่ครูสอน ผูเรียน (ลูกศิษย) จึงจําเปนตองมีทักษะการ เรียนรู เชน การวางแผนการเรียน การเตรียมตัวกอนเรียน การมีสมาธิขณะเรียน การประเมินความรูของตนเอง ด ว ยตนเองและปรั บ ปรุ ง ตนเองด ว ยฝ ก การฟ ง และการถามอย า งลึ ก ซึ้ ง เพื่ อ นํ า ไปปฏิ บั ติ พั ฒ นาตนเองให เจริญกาวหนาตลอดไป อนาคตอยูที่ไหน คําสั่งสอนของพระพุทธองค กลาวไววากรรมในปจจุบันเปนผลจากกรรมในอดีต และ กรรมปจจุบันเปนเหตุใหเกิดกรรมในอนาคต อนาคตเปนสิ่งไมแนนอน สิ่งที่แนนอนคือทํากรรมปจจุบันใหดีแลว ผลกรรมดีจะตามมา คณาจารยคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยามและโรงพยาบาลพระนั่งเกลา ไดทํากรรมดี ดวยการจัดประสบการณการเรียนรูแกนักศึกษาเพื่อสรางบัณฑิตใหมีคุณลักษณะตรงตามบั ณฑิตแพทยที่ พึง ประสงคไดแก ๑. ประพฤติตนอยางมีจริยธรรมเหมาะสมกับความเปนแพทย ๒. ประยุกตความรูในการเก็บรวบรวมและวิเคราะหขอมูล เพื่อการวินิจฉัย ดูแลรักษาและฟนฟูสมรรถภาพ ผูปวยอยางเปนองครวม สมเหตุผลและปลอดภัย ๓. สรางเสริมสุขภาพ ปองกันโรค ในระดับครอบครัว ชุมชน และประชาชน ๔. สื่อสารและสรางสัมพันธภาพที่ดีกับผูปวย ญาติและประชาชน ๕. สื่อสารและปฏิบัติงานรวมกับแพทยและบุคลากรในระบบสุขภาพ ๖. พัฒนาความรูความสามารถและพฤติกรรมในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมของตนเองอยางตอเนื่อง อัตลักษณของบัณฑิตแพทย มหาวิทยาลัยสยามคือ Professional, Leadership (collaboration, communication) Active Learning, Lifelong Learning, Internationalization (PLAI) และคํานิยมของ โรงพยาบาลพระนั่งเกลา Professional Practice, Network, Knowledge Management (PNK) การจัดการศึกษาหรือการเรียนการสอนใหบรรลุเปาหมายนั้นบุคลากรแตละคนตองปฏิบัติหนาที่ของตนให เต็มตามศักยภาพที่ มีและจั ดการเรี ยนการสอนใหไดตามแนวคิดในพระราชบัญญั ติการศึกษาแห งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และฉบับแกไขเพิ่มเติม การจัดการเรียนการสอนตามทักษะ 8C, PLAI และ PNK นั้นมิอาจจัดการเรียน การสอนดวยวิธีหนึ่งวิธีใดเทานั้น แตตองจัดวิธีการจัดเรียนการสอนหลายรูปแบบ เพราะแตละแบบจะมีจุดเดนและ จุดดอยตางกัน คณาจารยควรหมั่นประชุมปรึกษาหารือเพื่อบูรณาการองคความรูในระบบตาง ๆ ใหสมั พันธ ๘๓

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

กันแบบหลักสูตรเกลียวสวาน (Spiral Curriculum) และพัฒนาการจัดการเรียนการสอนที่ทําอยูแลวในปจจุบัน ให มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพยิ่ งขึ้ น ด ว ยการจั ด การเรี ย นการสอนนั ก ศึ ก ษา เป น ศู น ย ก ลางการเรีย นผู เ รี ย นมีส ว นรว ม (student engagement) การเรียนแบบเชิงรุก การเรียนรูดวยการนําตนเอง อาจารยทําหนาที่เปนผูสนับสนุน การเรียนรู (facilitator) เปนกัลยาณมิตร (mentor) เปนผูฝกสอน (coacher) อาจารยเปนแหลงขอมูลความรู สนับสนุนใหนักศึกษามีสวนรวมกิจกรรมการเรียนการสอน สรางความสัมพันธการเรียนรูระหวางนักศึกษากับ นักศึกษา อาจารยกับศิษยและนั กศึกษากับผูปวยและพัฒนาสื่ อการเรียนรู ตาง ๆ ใหทันสมัย อาจารยเป น ผู อํานวยความสะดวกใหนักศึกษาแสวงหาความรูในดานตาง ๆ เชน ความจริง (fact) มโนทัศน (concept) ทฤษฎี (theory) หลักการ (principle) และการแกปญหา (problem solving) พรอมกับการนํานวัตกรรมการเรียนการ สอนการตาง ๆ มาชวยพัฒนาปรับปรุงพฤติกรรมหรือปรับเปลี่ยนทัศนคติของนักศึกษาใหทําความดี ความงาม ความถูกตอง การนําวิธีการวัดและประเมินผลแบบใหม ๆ ที่สงเสริมการเรียนรู เมื่อปฏิบัติไดดังกลาวก็มั่นใจไดวา บัณฑิตแพทยของคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยามจะเปนแพทยมืออาชีพ มีอัตลักษณคือ PLAI และ PNK ทํางานและดํารงชีวิตในสังคมอยางมีความสุข สุดทายแตไมทายสุดที่ผมขออัญเชิญพุทธพจนของพระพุทธเจามหาศาสดาโลกและคํากลาวของ อัลเบิรต ไอนสไตน นักวิทยาศาสตรโลกในตางกรรม ตางวาระไวเปนขอคิด ดังนี้ "What we are today comes from our thoughts of yesterday, and our present thoughts build our life of tomorrow: Our life is the creation of our mind." Siddhattha 543 BC "The distinction between past, present, and future is only a stubbornly persistent illusion." Albert Einstein 1955

๘๔

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ความสําคัญของการใชรางอาจารยใหญในวงการแพทย Roles of body donors in medical fields

ศาสตราจารย นายแพทยธนั วา ตันสถิตย ที่ปรึกษาคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

อาจารยใหญเปนผลจากการเอื้อเฟอมอบรางจากผูมีศรัทธาในกุศลบุญสุดทายที่ทานสามารถทําใหกับ มวลมนุษยชาติเมื่อทานไดจากโลกนี้ไปแลว เปนการเสียสละรางที่ทานทนุถนอมมาตลอดชีวิต โดยสามารถยอม ใหมีผูเขารับการอบรมเพื่อเปนบุกคลากรดานการแพทยท่ีไมเคยรูจักกันมากอน ไมไดติดคางบุญคุณใด ๆ มา ชําแหละเรียนรูจากรางทาน และมีสวนรวมอนุโมทนาบุญจากญาติที่อนุเคราะหดําเนินการติดตอประสานงานมา ที่ศูนยรับรางจนไดรับเขามาเรียนเปนอาจารยใหญ ทั้งนี้สถาบันการศึกษาที่รับทานเขามามีพันธะที่จะตองดูแลให เกียรติทาน อยางเหมาะสมตลอดการศึกษาและพรอมประกอบพิธีทางศาสนาตามความเชื่อของทานจนสิ้นสุด กระบวนการ

จะมีการรักษาสภาพอาจารยใหญเพื่อการเรียนรูตามลักษณะที่กําหนดไวตอนแรกรับเขา ๑. รักษาสภาพดวยการฉีดน้ํายาดองฟอรมาลินเพื่อใหคงสภาพไดนาน ควรทาน้ํายาใหชุมชื่นเสมอเพื่อไมให แหงจนแข็ง ถามีการฉีดเรซินผสมสีแดงเขาในหลอดเลือดแดง จะทําใหสามารถศึกษาขอมูลอางอิงทางกายวิภาค ศาสตรไดมาก สามารถใชเรียนกายวิภาคศาสตรและทําวิจัยเก็บขอมูลดานกายวิภาคศาสตรประยุกตได ๘๕

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

๒. รักษาสภาพดวยน้ํายาดองแบบนุม มีปริมาณฟอรมาลินนอยกวา ๔ เปอรเซ็นต ในน้ํายาดอง จะทําให สามารถรักษาชั้นของเนื้อเยื่อและขยับขอตอได ใชในการฝกหัตถการทางการแพทย ใสทอชวยหายใจ ฝกตอเนื่อง ซ้ํากันไดหลายคนจนกวาจะชํานาญ เหมาะกับหัตถการตามมาตรฐานของการฝกอบรมนั้น ๆ ฝกตรวจวินิจฉัยคลื่น ความถี่สูง เจาะน้ําไขสันหลัง ผาตัดทุกชนิด ยกเวนการสองกลองในลําไสที่ยังมีเศษอาหารคางอยูมาก จะสูญเสีย ความชื้นเร็ว เสื่อมสภาพมีกลิ่นมากขึ้นตามเวลาที่ผานไป ตองมีการดูแลใสใจเปนพิเศษหากตองใชซ้ําในวาระ ตอเนื่องตอไป ๓. รักษาสภาพดวยการแชแข็ง กอนใชตองรอจนน้ําแข็งละลายกอน มักตัดแยกมาใชครั้งเดียวในแตละสวน ของรางกาย หอทุกชิ้นกลับไปรวมกันรอเก็บเผาทําลายพรอมกันทั้งราง มักใชในการเก็บขอมูลวิจัยทางคลินิ ก สามารถสั่งมาจากตางประเทศไดโดยประสานกับทางกรมศุลกากรและการทาอากาศยาน กรณีที่สถาบันฝกอบรมไมมีผูเชี่ยวชาญ หรือสถานที่เหมาะสมพิเศษ ในการเก็บรักษาสภาพดวยน้ํายา ดองแบบนุมแบบที่สอง แตมีสถานที่ในการจัดเปนหองฝกหัตถการได เชน ปรับปรุงหองปฏิบัติการที่อาคาร ชิโนรส หองผาตัดที่โรงพยาบาลพระนั่งเกลา หรือหองผาตัดที่โรงพยาบาลธนบุรี แตหองฝกหัตถการเหลานี้ตอง แยกสวนออกมาจากหองผาตัดคนไข เพราะมาตรฐานการเคลื่อนยายราง และระบบระบายอากาศ ตองแยก เสนทาง ไมปนเปอนกับคนไขหรือผูเขาฝกอบรม การจัดหารางอาจไดจากผูบริจาคที่เสียชีวิตในโรงพยาบาลดวยโรคที่ไมติดตอแพรกระจาย โดยมีสําเนา ใบมรณบัตร สําเนายินยอมมอบรางจากญาติผูนําสง ผานการตรวจเลือดไวรัสตับอักเสบบี เชื้อเอชไอวี ไมมี ประวัติโรคระบาดควบคุมตามประกาศกฎกระทรวงสาธารณสุข และวัณโรค รางผูเสียชีวิตตามธรรมชาติที่มาจัด งานที่วัด และยอมใหใชศึกษาฝกหัตถการทางการแพทยไดในชวงเวลาหนึ่ง เชน สวดโลงเปลา ๓ - ๗ วัน รอ ฌาปนกิจได ๒ เดือน โดยเก็บรางในตูแชแข็ง ลบ ๒๐ องศา ที่ทําขนาดพอดีรางนอนตรง ในหองขาง ๆ หองฝก หัตถการ การฝกหัตถการทางการแพทยเปนการจําลองสถานการณที่พิสูจนแลววามีประสิทธิภาพมากที่สุด เทียบ ไดกับการฝกทางยุทธวิธีการทหาร และเหนือกวาการฝกดวยระบบ เวอรชวล เรียลลิตี้ อยางมาก สามารถสราง บุ คลากรที่ มีความคลองตั ว ทํ า งานรวดเร็ว ผิดพลาดนอย ชํานาญในการใชเครื่องมือละเอีย ดออนบอบบาง กอใหเกิดประโยชนกับคนไขอยางมาก ปจจุบันศูนยฝกผาตัดทางการแพทยเปนมาตรฐานสากลที่ไดรับการจัดตั้งขึ้นในศูนยการแพทยที่ทันสมัย ทั่วโลกและมีในโรงเรียนแพทยเกือบทุกแหง สรางโอกาสทางธุรกิจและอาชีพที่เกี่ยวของใหคนรุนใหมอีกมากมาย ทั้งการวิจัยและการคิดคนเครื่องมือ และรูปแบบการรักษาพยาบาลใหม โดยเฉพาะที่ออกแบบตามโรคและความ ผิดปกติเฉพาะบุคคล ผูเขียนเองไดมีโอกาสออกแบบและใหคําแนะนําในการจัดตั้งศูนยฝกผาตัดในที่ตาง ๆ ทั่ว ประเทศไทย และหลายแหงในโลก ทั้งที่เกาหลี ญี่ปุน อเมริกา ฮองกง ซึ่งจะเปนมาตรฐานของการฝกอบรม หัตถการทางการแพทยตอเนื่องไปอีกนานตราบเทาที่แพทยตองทําหัตถการดวยตนเองในคนไขอยู

๘๖

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ทายที่สุดคุณความดีใด ๆ ที่ไดรวมดูแลกอตั้งกิจการดานการฝกอบรมในอาจารยใหญมาตลอดชีวิตจนมี สวนทําใหวงการแพทยเจริญรุดหนา เปนความปลอดภัยของผูปวย และความสุขของแพทยผูรักษาและญาติ ผูปวย ขอมอบอุทิศแดทานอาจารยใหญทุกทานที่ไดเกี่ยวของกันมาในสถานศึกษาทุกแหงที่มีสวนรวมอยางเต็ม ความสามารถ ขอบุญกุศลนั้นเปนไปตามความเชื่อของอาจารยใหญแตละทานและตอบสนองใหครอบครัว และ บุคลากรที่ตั้งใจเรียนฝกกับทาน ไดรับแตความสุขความเจริญกาวหนาในอาชีพการงาน สามารถอดทนฝาฟน อุ ป สรรค ความลํ า บากจนประสบความสํ า เร็จ เปน ขั้น ๆ ไป อดทนกับ การปว ยไขที่ผานเขามาในชีวิตอยาง ปลอดภัย ประสพความสุขตามอัตภาพไดตลอดไป

๘๗

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

COVID-19 กับการเปลี่ยนแปลงของวงการสาธารณสุขไทย ศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยอมร ลีลารัศมี รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยสยาม กรรมการแพทยสภา อดีตคณบดีคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ณ วันที่ ๒๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๕ จากขอมูลขององคการอนามัยโลกแจงวา พบผูติดเชื้อ SARSCoV-2 ทั่วโลก จํานวน ๕๓๙,๘๙๓,๘๕๘ ราย มีผูเสียชีวิตจากโรคนี้ ๖,๓๒๔,๑๑๒ ราย และจนถึงวันที่ ๒๐ มิถุนายน ๒๕๖๕ มีผูไดรับวัคซีนโควิด-๑๙ ชนิดตาง ๆ จํานวน ๑๑,๙๑๒,๕๙๔,๕๓๘ ราย มีรายงานในวารสาร Lancet Infectious Disease ในวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๖๕ วา การฉีดวัคซีนปองกันโรคโควิด-๑๙ ในปแรก (ระหวางวันที่ ๘ เดือนธันวาคม ๒๕๖๓-๖๔) ทําใหมีผูรอดตายจํานวน ๑๙.๘ ลานรายจากผูติดเชื้อ (ที่นาจะตาย) จํานวน ๓๑.๔ ลานราย ประเทศไทยเปนประเทศหนึ่งที่รวมมือกับองคการอนามัยโลกและตางประเทศในการฟน ฝาอุปสรรคตอสูกับโรคโควิด-๑๙ จนกระทั่งมาถึงวันนี้ ประเทศไทยประกาศใหโรคนี้เปนโรคประจําถิ่นไปแลว นับวา เปนการตอสูที่ทุกคนในชาติไดรวมมือกัน แบงปนกัน ศึกษา เรียนรูและตอยอด และทําการปองกันรวมกัน จนไดกลยุทธวิธีการในการตอสูกับโรคไดดีที่สุด เกิดผลกระทบทางลบนอยที่สุดในดานตาง ๆ ตามความเชี่ยวชาญ ของแตละคน แตละสถาบัน แตละองคกร แตละคณะกรรมการที่ตั้งขึ้น เพื่อชวยกันควบคุมโรคโดยมี ศบค. และ กระทรวงสาธารณสุขเปนแกนกลาง เกิดการเปลี่ยนแปลงหลายดานในวงการสาธารณสุขในระหวางการตอสูกับ โรคโควิด-๑๙ การเปลี่ยนแปลงบางอยางเกิด ขึ้นชั่ว คราวก็จ ะหายไป บางอยางจะยั งคงอยูและมี การพั ฒ นา ตอเนื่องเพื่อใหการดูแลรักษาผูติดเชื้อและระบบสาธารณสุขดีขึ้น ขณะเดียวกันมีการพัฒนาเครื่องมือสื่อสาร เวชศาสตรจีโนม และปญญาประดิษฐมากอนที่จะมีการระบาดของโรคโควิด-๑๙ และไดมีการนําเทคโนโลยี เหล า นี้ ม าใช ม ากขึ้ น ตามลํ า ดั บ ซึ่ ง จะนํ า มาสู ก ารเปลี่ ย นแปลงระบบและการทํ า งานของวงการแพทย แ ละ สาธารณสุขตอไป ยอนกลับไปในชวงเวลา พ.ศ. ๒๕๖๓-๖๕ โรคโควิด-๑๙ จัดเปนโรคติดเชื้อไวรัสชนิดใหมที่กอโรคใน ระบบการหายใจและมีการระบาดอยางรวดเร็วไปทั่วโลก ทําใหผูติดเชื้อสวนใหญเจ็บปวยคลายโรคหวัด แตผูที่ไม มีภูมิคุมกันผูสูงวัยหรือมีโรคประจําตัวกลับเจ็บปวยรุนแรงจนถึงแกกรรมไดโดยเฉพาะผูที่มีโรคอวนและ/หรือมี โรคประจําตัวที่ทําใหการทํางานของอวัยวะที่สําคัญบกพรอง ทําใหสังคมไทยเกิดความตื่นตระหนกและหวาดกลัว ในระยะแรกของการระบาดของโรคนี้ ทุกคนรีบหาหนทางที่จะปองกันตนเอง ทั้ง ๆ ที่ยังมีขอมูลวิชาการดานโรค โควิด-๑๙ นอยมาก ตองอาศัยการเทียบเคียงกับขอมูลและประสบการณการดูแลรักษาโรคติดเชื้อไวรัสชนิดอื่นใน ระบบทางเดินหายใจเพื่อนําไปสูมาตรการควบคุมโรค แตก็ยังไมทันกาลกับการระบาดของเชื้อโรคและความ ๘๘

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ตื่นตระหนกของประชาชนและการดิ้นรนหาทางรอดจากการติดเชื้อใหตนเอง การระบาดระยะแรกในเดือน กุมภาพันธและมีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ ทําใหผูติดเชื้อกลายเปนที่รังเกียจของประชาชน แมแต“ผีนอย”ที่จะกลับมา เมืองไทยก็เปนบุคคลไมพึงประสงค คนในประเทศบางกลุมถึงกับขอปดประเทศและหามคนนอกประเทศเขา ประเทศไทย การควบคุมโรคในตอนนั้นมีความยากลําบากจนกระทรวงสาธารณสุขตองประกาศใหเปนโรคติดตอ รายแรง เพื่อเพิ่มอํานาจของบุคลากรทางการแพทยหรือเจาหนาที่ในการเขามาควบคุมโรคที่อาจจะกระทบถึง สิ ท ธิ ส ว นบุ คคลได ตามราชกิ จ จานุเ บกษา ประกาศ ณ วั น ที่ ๒๖ กุ ม ภาพั น ธ พ.ศ. ๒๕๖๓ โดยกระทรวง สาธารณสุขประกาศใหโรคโควิด-๑๙ เปนโรคติดตออันตราย ลําดับที่ ๑๔ และรัฐบาลรีบหาวิธีปองกันประชาชน ในระดับชาติจากการเจ็บปวยของโรคนี้ ประกอบกับเชื้อ SARS-CoV-2 เปนเชื้อไวรัส RNA ที่ กลายพันธุไดบอย การระบาดทําใหเกิดการคัดเลือกเชื้อสายพันธุใหมที่สามารถแพรกระจายเกงกวาสายพันธุพอแมและยังทําใหเชื้อ สายพันธุใหมหลบหลีกภูมิคุมกันที่เกิดจากการติดเชื้อตามธรรมชาติหรือการฉีดวัคซีนไดดวย สงผลกระทบอยาง รุนแรงตอการควบคุมโรค การเลือกใชยาปองกันหรือรักษาโรคและเกิดความจําเปนที่ตองคงการใชวิถีชีวิตใหม แบบ D-M-H-T-T อยางตอเนื่อง (ซึ่งเปนการปองกันการติดเชื้อ) จนกวาการระบาดจะลดลงและไมพบเชื้อกลาย พันธุสายพันธุใหมหลังจากมีเชื้อ omicron BA.2 มาระบาด (คาดวา นาจะเปนสายพันธุสุดทายที่เกงที่สุดแลว?) ตั้งแตเริ่มตนของการระบาดมาจนถึงเดือนมิถุนายน ๒๕๖๕ นี้ วงการสาธารณสุขไทยและการดูแลรักษาผูติดเชื้อ มีการเปลี่ยนแปลงหลาย ๆ ดานเกิดขึ้นเพื่อตอบสนองและตอสูกับโรคระบาดโควิด-๑๙ ใหทันกาลและประสบ ความสําเร็จในระดับดีมาก จนทําใหองคการอนามัยโลกยกยองประเทศไทยวา เปนหนึ่งในประเทศที่ทําการ ควบคุมโรคนี้ไดดีมากจากการมีระบบสาธารณสุขที่เขมแข็ง ความรวมมือของนักวิชาการ และความพยายามที่จะ ไมทิ้งใครไวเบื้องหลังแมจะเปนประเทศที่จัดอยูในกลุมกําลังพัฒนาก็ตาม

การเปลี่ยนแปลงของวงการสาธารณสุขไทยในยุคโควิด-๑๙ พอจะสรุปเปนหัวขอตาง ๆ ไดดังนี้ ๑. กําเนิดศูนยบริหารสถานการณโควิด–๑๙ (ศบค.) ในประกาศสถานการณฉุกเฉินฉบับแรกเมื่อวันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๓ สํานักนายกรัฐมนตรีไดใหเหตุผลวา “บัดนี้ ทุกฝายเห็นวาสถานการณควรยกระดับขึ้นสูการ บังคับใชมาตรการขั้นสูงสุดไดแลว เพื่อวารัฐจะสามารถนํามาตรการอื่น ๆ มาบังคับใชเพิ่มขึ้นจากเดิม... จากความสับ สนวุน วายของสังคม และการเสนอวิธีการดูแลรักษาและ ปองกัน โรคนี้ของแตล ะหนว ยงาน ของรัฐบาลยังไมเปน เอกภาพและ ขั ด แย ง ในบางประเด็ น ข อ มู ล วิ ช าการกั บ ก าร ตั ดสิ นใ จ ท า ง นโยบายยังไปกันคนละทาง จะเอา ท อ งเที่ ย วและเศรษฐกิ จ นํ า หน า หรือเอาสุขภาพนําไปกอนแลวตาม

๘๙

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ดวยการเยียวยาเศรษฐกิจ บางครั้งติดขัดเรื่องขั้นตอนระเบียบกฎหมาย ขอบังคับทางราชการ ทําใหขยับไดยาก จึงมีการเชิญผูเชี่ยวชาญใน สายตาของนายกรัฐมนตรีมาประชุมหาหนทางออกที่ประชุมไดเสนอ ให มีการสั่ งการรวมศู น ย จ ากรั ฐ บาลและเร ง การสนั บ สนุ น จากภาค ประชาชนเพื่อจํากัดผูติดเชื้อใหอยูกับที่หรือกักตัวในชุมชนและมีการ เวนระยะหางทางสังคม ที่ประชุมก็เสนอและสนับสนับสนุนใหมีการ จัดตั้งศูนยบัญชาการหนึ่งเดียว เปนการรวมผูนําและผูเกี่ยวของมารวม ศูนยเพื่อรวมกันใหเปนหนึ่งเดียวในการออกคําสั่งบัญชาการสูรบกับ โรคโควิด-๑๙ ไดแก การจัดตั้ง “ศบค.” และงดการชุมนุมในวันสงกรานต สื่อสายทําเนียบและสื่อทั่วไปให ขอมูลตาง ๆ นานา รวมถึงเปดเบื้องหลังกอนออก ๖ มาตรการสูไวรัสโคโรนา (COVID-19) พล.อ.ประยุทธ จันทร โอชา นายกรัฐมนตรี เชิญแพทย ผูเชี่ยวชาญของไทย ๕ ทาน มาใหคําปรึกษาและคําแนะนํา เพื่อวางมาตรการใน การปองกันการระบาดของไวรัสโคโรนา ซึ่งที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) ไดอนุมัติใหปดโรงเรียน สถานศึกษา สถาบันกวดวิชา สนามมวย สถานบันเทิงระหวางวันที่ ๑๘-๓๑ มีนาคม ๒๕๖๓ เปนครั้งแรกในประเทศไทย สื่อ ตาง ๆ พาดหัวขาวเพื่อลดความตื่นตระหนกของสังคมดังนี้ “ฟงคุณหมอ เลิกเชื่อนักการเมือง” “รูจัก ๕ กุนซือ” “เปดตัว ๕ กุนซือทีมแพทยสูศึก COVID-19” ระดมอาจารยหมอ” ระดมสมอง “ครูแพทย” สูวิกฤติโควิด-๑๙ เปดภาพนายกฯ ถก“อาจารยหมอ”ชั้นนํา กอน คลอด ๖ มาตรการฝา‘โควิด-๑๙’ เรียกวา กูวิกฤติศรัทธาของรัฐ บาลในการแก ไขปญหาโรค ระบาดโควิด-๑๙ ไประยะหนึ่ง และสรางความมั่นใจใหประชาชนวา รัฐบาลแกไขปญหาตามหลักการวิชาการ โดยยึดสุขภาพเปนนโยบาย ตัวตั้งในระยะแรกของการระบาด ศบค. ชุ ด ใหญยั งคงอยู จ นถึ งเดื อนมิถุน ายน ๒๕๖๕ และ นาจะยังคงอยูจนถึงสิ้นปนี้ ๒. กําเนิดความรวมมืออยางกวางขวางระหวางหนวยงานของรัฐ เอกชน และสภาวิชาชีพทางการแพทย อยางที่ไมเคยมีมากอนในการออกมาตรการการดูแลรักษาและปองกันโรคโควิด-๑๙ และยังทําตอเนื่องจนถึง เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๕ การใหหนวยงานภาครัฐออกมาตรการในดานการดูแลรักษาและการปองกันโรคโควิด-๑๙ เพียงฝาย เดียวอาจจะไมไดรับการยอมรับและอาจจะขาดความนาเชื่อถือจากประชาชนและผูรับไปปฏิบัติ ดังนั้นการออก มาตรการตาง ๆ จาก ศบค. กระทรวงสาธารณสุข หรือกรมตาง ๆ ในกระทรวงสาธารณสุข เชน กรมการแพทย เปนตน ไดผานการรับฟงความเห็น การตรวจสอบความถูกตองดานวิชาการ จากคณบดีคณะแพทยศาสตรตาง ๆ ผูเชี่ยวชาญหรือองคกรตาง ๆ มากมายนอกกระทรวงสาธารณสุข ทําใหเกิดจากความรวมมือดานวิชาการอยาง กวางขวางระหวางหนวยงานของรัฐและเอกชนอยางที่ไมเคยมีมากอนนํามาสูความนาเชื่อถือของมาตรการตาง ๆ ๙๐

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ที่กําหนดออกมาจากหนวยงานของรัฐ ในการออกมาตรการการดูแลรักษาและปองกันโรคโควิด-๑๙ และยังใช แนวทางนี้ในการทําอยางตอเนื่องจนถึงเดือนมิถุนายน ๒๕๖๕ ดังตัวอยางที่แสดงใหเห็น แนวทางเวชปฏิบัติการวินิจฉัย ดูแลรักษา และปองกันการ ติดเชื้อในโรงพยาบาล กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) สําหรับแพทยและบุคลากรสาธารณสุข CPG COVID-19 สําหรับแพทยและบุคลากรสาธารณสุข ฉบับปรับปรุงครั้งที่ ๒๓ (วันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๖๕) โดยความรวมมือของคณาจารยผูทรงคุณวุฒิจากหนวยงาน ตาง ๆ และผูแทนทีมแพทยที่ปฏิบัติหนาที่อยูหนางาน แนวทางปฏิบัติสําหรับสถานพยาบาลเรื่องการตรวจคัดกรอง โรคโควิด-๑๙ ในผูปวยทั่วไป และบุคลากรทางการแพทย ในชวงระยะเปลี่ยนผานสูโรคประจําถิ่น (วันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๕) เพื่ อ การเตรี ย มความพร อ มให ส ามารถกลั บ มาให บ ริ ก ารได ภายใตสถานการณการเปลี่ยนแปลง ซึ่งการระบาดของโรคโค วิด-๑๙ จะเขาสูระยะ "โรคประจําถิ่น" กระทรวงสาธารณสุ ข โดยกรมการแพทยรวมกับ คณาจารย ผูทรงคุณวุฒิ จาก คณะ แพทยศาสตร ราชวิ ทยาลั ย ฯ สมาคมวิ ช าชีพ และภาคสว น ตาง ๆ ไดรวมจัดทํา แนวทางปฏิบัติสําหรับสถานพยาบาลเรื่อง การตรวจคัดกรองโรคโควิด-๑๙ ในผูปวยทั่วไปและบุคลากร ทางการแพทยในชวงระยะเปลี่ยนผานเขาสูโรคประจําถิ่น โดย เนนใหความสําคัญกับความปลอดภัยของผูใหบริการและรั บ บริการ ความคุมคา ตระหนักถึงการใชทรัพยากรที่มีอยู อยาง สมเหตุสมผล โดยมีแนวทางการดําเนินงาน ดังนี้

๙๑

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

การออกแนวทางปฏิบัติตาง ๆ ของกรมการ แพทยก็ใชความรวมมือดานวิชาการจากสภา วิชาชีพ ราชวิทยาลัยฯ สมาคม ชมรม และ โรงพยาบาลตาง ๆ ที่เกี่ยวของมาใหความเห็นและวางแนวทางปฏิบัติใหแกสถานพยาบาตาง ๆ ทั้งของรัฐและ เอกชน ในการดูแลรักษาผูปวย โดยไดทบทวนและปรับแนวทางการดูแลรั กษาผูปวย ตามขอมูลวิชาการใน ประเทศ และตางประเทศ อยางตอเนื่อง ความรวมมือจากนักวิชาการ จาก หลายองค ก ร ร ว มกั บ กระทรวง สาธารณสุขยังคงอยูตอไปจนกวา โรคโควิ ด-๑๙ จะสงบลง เพราะ มาตรการต า ง ๆ ที่ อ อกมาจาก ความร ว มมื อ นี้ น า เชื่ อ ถื อ มี ก าร ปรับเปลี่ยนไปตามสถานการณและ ไดมาจากองคกรและผูเชี่ยวชาญที่ เป น ที่ ย อมรั บ จากประชาชนและ บุคลากรทางการแพทย นอกจากนี้ ความรว มมือจากสภา วิชาชีพทางการแพทย ทําใหแพทย พยาบาล ทันตแพทย เทคนิคการแพทย สามารถฉีดวัคซีนโควิด-๑๙ ในสถานี กลางบางซื่อและในพื้นที่ตาง ๆ ที่จัด ใหมีการระดมฉีดวัคซีนอยางเรงดวน ใหประชาชน ใหไดวันละอยางนอย ๑๐๐,๐๐๐ รายขึ้นไปกลายเปนเรื่องที่ทําได การเปลี่ยนแปลงที่เกิดความ รวมมือกันอยางกวางขวางระหวางองคกรตาง ๆ และสภาวิชาชีพทางการแพทยคงจะหมดไปเมื่อโรคโควิด-๑๙ สงบลง แตนับเปนเรื่องที่นาชื่นชมและยกยองในยุคที่เกิดโรคระบาดโควิด-๑๙ ๙๒

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

๓. กําเนิดการใหขาวทุกวันจาก ศบค. และขอมูลจากผูเชี่ยวชาญหลายทานจากภาครัฐและเอกชนอยาง ตอเนื่องยาวนาน ผานทางสื่อสาธารณะตาง ๆ ทั้งวิทยุ หนังสือพิมพ โทรทัศน Facebook เปนตน เพื่อให ประชาชนไดเขาถึงขอมูลและเขาใจโรคโควิด-๑๙ ไดดีขึ้นและใหความรวมมือกับภาครัฐในการควบคุมโรคให เหมาะสมมากขึ้น ศบค. จั ด ให มี โ ฆษกแถลงข า วสถานการณ โ ควิ ด -๑๙ ทุ ก วั น และแจ ง มาตรการต า ง ๆ ที่ ศบค. ให ประชาชนรับทราบและปฏิบัติในเวลาเที่ยงวันทุกวันมาตอเนื่องยาวนานกลายเปนขาวที่ตองติดตาม ฟงทุกวันจน เหตุการณเขาสูสภาพปกติ และโควิด-๑๙ จะกลายเปนโรคประจําถิ่น จึงใหขาวไมถี่เหมือนเมื่อกอน อยางไรก็ตาม ขาวจาก ศบค. อาจจะเปนที่ถกเถียงในวงการวิชาการบาง ทําใหมีการนําขาวจาก ศบค. ไปวิเคราะหตอทั้งในเชิง ที่เห็นดวยหรือไมเห็นดวยตอไปอีกในสื่อตาง ๆ

เนื่องจากมีการประกาศใช พ.ร.บ.คุมครองขอมูลสวนบุคคล หรือ Personal Data Protection Act B.E. 2562 (PDPA 2019) มีผลบังคับใชในวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๖๕ จึงขอยกตัวอยางขอมูลจากสื่อตาง ๆ ดังกลาว จากผูเขียนทานเดียวเทานั้นในบทความนี้ ทั้ง ๆ ที่มีผูเชี่ยวชาญหลายทานมาใหความเห็นที่มีประโยชนมากในสื่อ สาธารณะแกประชาชนและภาครัฐอยางตอเนื่องตลอดมา ตัวอยางตอไปนี้จึงมีขอมูลของขาพเจาเพียงผูเดียวเพื่อ มิใหพาดพิงไปถึงบุคคลอื่นโดยไมจําเปน

๙๓

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

๙๔

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ภาพตอไปนี้เปนขอมูลที่ ศบค. รายงานขอมูลผูติดเชื้อรายใหมตอวัน การเจ็บปวย อัตราการไดรับวัคซีน และผูที่ถึงแกกรรมจากโควิด-๑๙ ทั้งทางตรงและทางออมทุกวัน จนกระทั่งโรคโควิด-๑๙ กลายเปนโรคประจําถิ่น ในเดือน มิถุนายน ๒๕๖๕ การใหขอมูลเปนรายวันเพื่อทําใหประชาชนทราบสถานการณของการระบาดโรค COVID-19 จนกวาโรคจะสงบ และ ศบค. ถูกยุบไป ตัวอยาง รายงานสถานการณ COVID-19 ในประเทศไทยเปนรายวัน หรือในชวงเวลาหนึ่ง และขอมูลที่เกี่ยวของ

๙๕

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

๔. กําเนิดการอนุมัติการใชวัคซีนหรือยาตานเชื้อไวรัสโรคโควิด-๑๙ อยางรวดเร็วภายใตสถานการณฉุกเฉิน ระเบียบและกฎหมายมีขั้นตอนมากมายทั้งในดานวิทยาศาสตรและขอบังคับที่ใชควบคุมการขึ้นทะเบียน ใชยาหรือวัคซีนในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมแผนปจจุบัน ภายใตสถานการณปกติ ระเบียบและกฎหมาย เหลานี้มีไวเพื่อคุมครองประชาชน สรางความเปนธรรมในการบริโภค ทําใหเกิดประโยชนมากที่สุดแกผูบริโภค และมี ผ ลเสี ย น อ ยที่ สุ ด และให ค วามมั่ น ใจแก ว งการแพทย ใ นการที่ จ ะนํ า วั ค ซี น หรื อ ยามาใช กั บ ประชาชน อาสาสมัคร หรือผูปวย แตภายใตสถานการณฉุกเฉินที่โรคระบาดอยางรวดเร็ว มีผลกระทบในดานลบตอสังคมเปน วงกวางและมาตรการในดานการรักษาปองกันที่มีอยูดูจะไมเพียงพอที่จะหยุดยั้งความรุนแรงและผลกระทบดาน ลบที่มีตอระบบสาธารณสุขและประชาชนได การเรงทํางานตามขั้นตอนบางอยางจึงมีความจําเปนเพื่ อช ว ย ประชาชนใหทัน จึงเปนที่มาของการอนุมัติใหใชวัคซีนและยาตานไวรัสภายใตสถานการณฉุกเฉิน การพัฒนา วัคซีนโรคโควิด-๑๙ ก็ใชเวลาเพียง ๑ ป ก็เริ่มนํามาทดลองฉีดในอาสาสมัครของประเทศผูผลิตแลว ไมวาจะ เปน mRNA vaccine หรือ viral-vector RNA vaccine และ monoclonal antibody ตานไวรัส โดยรัฐจํากัด ความรับผิดชอบในดานความปลอดภัยใหประชาชนแทนผูใหบริการ ทําใหเรามียาและวัคซีนใชอยางรวดเร็วใน เวลา ๑-๒ ป แทนที่จะใชเวลาวิจัยนานถึง ๕-๑๐ ป จึงตองยอมรับวา การตัดสินใจตาง ๆ ในการเผชิญวิกฤติโควิดครั้งนี้อยูภายใตความรูทางวิชาการเทาที่มี และใชตรรกะวิชาการของโรคระบาดอื่น ๆ มาประยุกตใช เพราะในภาวะฉุกเฉินตองการความเร็ว ขอมูลที่ไม สมบูรณตองนําไปสูการตัดสินใจ การสนับสนุนทางวิชาการทั้งการแพทยและการควบคุมโรคตองสังเคราะหผลิต ติดตอกับหนวยงานที่เกี่ยวของในการหาขอมูลเทาที่มีมาสนับสนุนการตัดสินใจ ที่สําคัญคือการตอบคําถามหลาย ขอไมอาจใชงานวิจัยมาหาคําตอบไดทันกาล จึงตองอาศัยความเชื่อถือไวใจของประชาชนตอกลุมงานที่ออก มาตรการตาง ๆ ดวย สวนการขึ้นทะเบียนวัคซีนหรือยาตานไวรัสในประเทศ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ได รีบขึ้นทะเบียนวัคซีนปองกันโควิด-๑๙ เมื่อไดรับเอกสารครบตามกําหนด เชน วัคซีนแอสตราเซนเนกา โดย บริษัท แอสตราเซนเนกา (ประเทศไทย) จํากัด และที่ผลิตในประเทศโดย บริษัท สยามไบโอไซเอนซ จํากัด วัคซีน โคโรนาแวค ของบริษัท ซิโนแวค นําเขา โดยองคการเภสัชกรรม และ วัคซีนจอหนสันแอนดจอหนสัน โดยบริษัท แจนเซน-ซีแลค จํากัด เปนตน ซึ่งบางครั้งก็ยังขึ้นทะเบียนไมเร็วทันใจคนไทยบางรายในประเทศไทย หรือ บางครั้ง เกิดปญหาวา องคการอนามัยโลกอนุมัติวัคซีนโควิด-๑๙ ภายใตสถานการณฉุกเฉิน ๖ รายการแตไมมี “ซิโนแวค” ซึ่งเปนวัคซีนที่ อย. ไทย ใหการรับรองไปแลวตามระบบการขึ้นทะเบียนวัคซีนหรือยาของประเทศ ไทย อาจจะทําใหมีผูสงสัยในมาตรฐานการขึ้นทะเบียนยาของประเทศไทยได ทั้ง ๆ ที่ อย.ไทยมีขั้นตอนที่เปน มาตรฐานในการขึ้นทะเบียนยาไดเองอยูแลว อยางไรก็ตาม ยังมีปญหาปลีกยอยอีกมากที่จะตองแกไข เพราะการที่รัฐรับผิดชอบดานความปลอดภัย ใหดวย ทําใหกลุมเอกชนที่จะชวยรัฐออกเงินสั่งซื้อวัคซีนหรือยามาฉีดใหเจาหนาที่ของตนหรือประชาชน ก็ทํา ไมได ติดขัดไปหมด ตองสั่งซื้อวัคซีนจากหนวยงานของรัฐเทานั้น ซึ่งรัฐแยงซื้อวัคซีนสูบางประเทศที่ร่ํารวยกวา ไมได นอกจากนี้ ถึงแมหนวยงานของรัฐจะออกมาตรการการรั กษาดูแลประชาชนและผูปวยสวนใหญ ไว ได เหมาะสมแลว แตจะขาดการมีสวนรวมตัดสินใจหรือความเห็นชอบจากผูปวยหรือประชาชนในการรักษาตนเอง ๙๖

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ดวย (ที่เรียกวา shared decision making) เชน การใชยาตานไวรัส ไมวาเปนยา favipiravir, paxlovid, molnupiravir ใน เวชปฏิบัติและทฤษฎี จะใชใหไดผลดีที่สุดตอเมื่อผูปวยนั้นไดรับยาตั้งแตวันแรกที่ติดเชื้อ แตแนวทางการรักษาที่ ออกโดยรัฐ จะใหรอการใหยาในคนปกติไปกอน จนกวาผูนั้นจะมีอาการรุนแรงขึ้นซึ่งอาจจะสายเกินไป บางครั้ง รัฐหาซื้อยาเลียนแบบที่มีราคาถูกมากและทําในประเทศใกลเคียง แตคนไทยบางรายไมยอมรับ จะยอมรับเฉพาะ ยาตนแบบเทานั้น เปนตน ดังนั้นการทําการรักษาหรือปองกันโรคหรือการตรวจวินิจฉัยโรคโควิด อาจจะมาติดขัด ที่วา แนวทางที่กําหนดมาไมไดเขียนไวชัด ๆ อยางนี้แลว จะทําไดหรือไม? จะเบิกคารักษาจาก สปสช. ไดหรือไม? ทั้งที่หากไมทําตัวเปนนักกฎหมาย ไมดูตัวหนังสือ เราใชความรูการแพทยที่เรียนมา เราตัดสินใจไดเลยวา ใชยาได เลยเพื่อประโยชนคนไข แตพอเปนเรื่องโควิดจะติดอยูที่ขอบังคับ แนวทางตาง ๆ ที่รัฐกําหนดมาหมด ทําให บางครั้งจะรูสึกฝนใจที่ตองทําตามแนวทางที่กําหนดมาแลว ในชวงแรกมีติดขัดระเบียบขอบังคับตาง ๆ จํานวน มาก ตอมามีการปรับใหทุเลาปญหา ทําใหติดกับระเบียบนอยลงกวาชวงแรก ๆ ที่ทํางานในดานนี้ การเปลี่ยนแปลงขั้นตอนเพื่อใหมีการอนุมัติยาหรือวัคซีนภายใตสถานการณฉุกเฉิน ควรจะหมดไปในเร็ว ๆ นี้ ๕. การใชสถานพยาบาลใน“ระบบคูกัน” เพื่อการบูรณการการรักษาและเสริมระบบสถานพยาบาลแบบเดิม ที่ใชอยู ในสถานการณปกติ สถานพยาบาลผูปวยจะมีหลายระดับ ตั้งแตรานขายยาที่ผูปวยไปซื้อยากินเอง ไป รักษากับหมอตามคลินิก แลวหากโรครุนแรงจนตองติดตามอาการและความรุนแรงของโรคเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง ก็ จ ะไปรั ก ษาต อ ที่ โ รงพยาบาล พระราชบั ญ ญั ติ ส ถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑ กํ า หนดว า สถานพยาบาล หมายความวาสถานที่รวมตลอดถึงยานพาหนะซึ่งจัดไวเพื่อการประกอบวิชาชีพเวชกรรมตามกฎหมายวาดวย วิชาชีพเวชกรรม และในมาตรา ๑๔ สถานพยาบาลมี ๒ ประเภทดังนี้ สถานพยาบาลประเภทที่ไมรับผูปวยไวคาง คืน และ สถานพยาบาลประเภทที่รับผูปวยไวคางคืน เมื่อการระบาดรุนแรงจนมีผูปวยมากเกินกวาจํานวนเตียงในโรงพยาบาลในทองที่นั้น มีทั้งผูปวยปอด อักเสบ ผูปวยที่ตองใชเครื่องชวยหายใจ ตองใชออกซิเจนสูดดม หรือตองติดตามอาการอยางใกลชิดและรักษา อยางตอเนื่องในหออภิบาล เกิดเหตุสุดวิสัยที่ทําใหเตียงในโรงพยาบาลไมพอกับผูติดเชื้อที่เพิ่มจํานวนขึ้นมาก ในชวงเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม ๒๕๖๔ ระบบสาธารณสุข “ลม” ในบางพื้นที่ เมื่อโทรศัพทไปที่หนวยงานรับ ผูปวยในพื้นที่นั้นก็ไมมีการตอบรับกลับมา ก็เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญในรูปแบบของสถานพยาบาลประเภท ที่รับผูปวยไวคางคืน มีการพวงหองพักในโรงแรมกับโรงพยาบาลเพื่อใหโรงแรมรับผูปวย (สีเขียว) ไวดูแลโดยมี แพทยจากโรงพยาบาล “คู” กัน มาสอบถามอาการทางโทรศัพทบาง หากผูปวยอาการดีขึ้นจนหาย ก็รักษาตัวอยู ที่โรงแรมจนหาย หากมีอาการหนักมากขึ้น โรงพยาบาลคูสัญญาก็รับผูปวยกลับมารักษาในโรงพยาบาล การจับคู กันนี้ทําใหใชหองพักในโรงแรมมาเพิ่มเตียงใหโรงพยาบาล เพื่อรับผูปวยอาการนอยไวดูแลรักษา ตอมาจํานวน เตียงตามโรงแรมไมเพียงพออีก จึงเกิดโรงพยาบาลสนามตามมา มีการใชโรงพยาบาลสนามและโรงแรมที่มี โรงพยาบาลแตละแหงทั้งของรัฐบาลและเอกชนเขามาชวยกันดูแลผูติดเชื้อ โรงพยาบาลสนามบางแหงไดพัฒนา ไปเปนหออภิบาลที่มีการใชเครื่องชวยหายใจไดดวยจนกระทั่งสามารถผานพนวิกฤตินี้ไปไดในเวลาสี่เดือนตอมา เมื่อตนป ๒๕๖๕ มีการระบาดของเชื้อโอมิครอนที่กอโรคเบากวาสายพันธุเดลตาแตระบาดไดเร็วและงายกวา ๙๗

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

จึ งมี การปรั บระบบ การดูแลรักษาผูติด เชื้อใหเหมาะสมขึ้น อีก นอกจากมีการใช โรงพยาบาลสนาม แบบ hospital แล ว ตอมาใชการรั กษา แบบ "ผูปวยนอก" และ Home Isolation (HI) หรือ Community Isolation (CI) โดยเริ่มตนในวันที ๑ มีนาคม ๒๕๖๕ มีการเพิ่มบริการตรวจผูปวยโควิดแบบผูปวยนอกหรื อ OPD รวมกับการรักษาแบบ Home Isolation (HI) หรือ Community Isolation (CI) แนวทางการรักษาดวยยา ยังคง เดิมแลวแตระดับความรุนแรงของโรคหรืออาการ พรอมแจงแนวทางใหบุคลากรทางการแพทยทราบดวย การปรับ เปลี่ยนครั้งสุดทายใหคลินิกอบอุนรับการตรวจที่ไดผลบวกจากการตรวจ ATK จากผูติดเชื้อแลวใหจายยา ใหเลยใน ระบบของ สปสช. หรือแจงมาที่เบอร ๑๓๓๐ แลวอีก ๑ ถึง ๒ วันตอมา จะมีการสงกลองบรรจุยา ขนานตาง ๆ สงมาใหถึงบานทางไปรษณีย กรมการแพทยเผยขอแตกตางการรักษาแบบ OPD กับ HI/CI วาแม จะรักษาแบบโอพีดีแตไมใชแบบไปกลับ ไมสามารถออกขางนอกบานหรือไมกักตัว ยังตองกักตัวเองอยางนอย ๗ วัน และมีชองทาง ติดตอแพทยเพื่อประเมินอาการหลังติดเชื้อได ๔๘ ชม. แบบสุดทายที่เปนการรักษาแบบผูปวยนอกนี้ ผูปวยโควิด-๑๙ รักษาแบบผูปวยนอกหรือ OPD ไมตอง อยูในสถานพยาบาลหรือ Home Isolation (HI) หรือ Community Isolation (CI) หากสามารถดูแลตัวเองได ก็ จะมีการใหยา นอกจากยาฟาวิพิราเวียรแลว รายที่ไมมีอาการหรืออาการนอย อาจใหรับยาฟาทะลายโจร หรือยา ดู แ ล รั ก ษ า ต า ม อาการ ระหวาง ๗ วัน ที่รัก ษาตนเอง ที ่บ า นตอ งติด ตอ กับ แพทย เพื่อให รูวาผูติดเชื้ออยูจุ ด ไหน ซึ่ง สว นใหญ โรคจะคอย ๆ หาย เอง ดังนั้นการรักษา แบบนี้เปนการบริหาร วิธีการรักษาใหสมดุลและเหมาะสมกับประชาชนมากที่สุด นอกจากนี้ยังจัดใหมีระบบคัดกรองโควิด-๑๙ เพื่อเตรียม เขาสูภาวะโรคประจําถิ่น (Endemic) ซึ่งใชการรักษาแบบ OPD มาเสริม โดยหากมีอาการทางเดินหายใจหรือ ๙๘

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ประวัติสัมผัสเสี่ยงสูง ใหประเมินอาการตนเอง หากเขาขายสงสัย สามารถตรวจ ATK เองไดหากผลเปนบวกจะมี วิธีรักษาใหเลือก ๒ วิธี วิธีแรกโทร ๑๓๓๐ จะมีการประเมินความเสี่ยง ซึ่งอาจจะเพิ่ม Robot Screening ใน การชวยคัดกรอง และ วิธีที่ ๒ ที่ใชไดทั่วประเทศ คือสามารถเดินเขาไปยังคลินิกทางเดินหายใจ (ARI Clinic) หรือคลินิกสงสัยผูติดเชื้อ (PUI) ที่มีในทุกโรงพยาบาลหรือหากมีเบอรก็โทรประเมินได โดยจะมีการประเมิน ภาวะเสี่ยง หากมีภาวะเสี่ยง คือ กลุม ๖๐๘ มีโรคประจําตัวแตอาการไมมาก จะใหเขาระบบ HI/CI First ซึ่งยังมี Hotel Isolation และฮอสป เ ทลด ว ย หากอาการมาก มีภ าวะเสี่ย งและอาการรุน แรงจะถูกสงตัวมารักษาที่ โรงพยาบาล นอกจากนี้ ระบบ“จับคูกัน” หรือแมแตการรักษาตนเองที่บาน ก็ตองมีการแจงเขาระบบฐานขอมูล กลางเพื่อติดตามตัวและใหหนวยงานหลัก เชน โรงพยาบาล คลินิกอบอุนใน กทม. หรือ สปสช.สามารถสงยามา ทางไปรษณียใหผูปวยถึงบานไดดวยการสงยาทางไปรษณียมาใหผูปวยถึงบานจะทําใหระบบการจับคูกันระหวาง โรงพยาบาลหรือศูนยบริการ กับ บาน หรือ การใชระบบโทรเวช มีความครบถวนสมบูรณมากขึ้น ทั้งนี้ สําหรับความแตกตางผูปวยนอกกับ HI คือ ผูปวยนอกจะมีแพทยติดตามอาการหลังตรวจคัดกรอง ภายใน ๔๘ ชั่วโมง แตหากมีอาการเปลี่ยนแปลงเร็ว สามารถติดตอกลับไดทุกเวลา การรักษาแบบ OPD จะไม มีการแจกอุปกรณตรวจประเมิน เชน ปรอทวัดไขและเครื่องวัดออกซิเจนปลายนิ้วและไมมีอาหารใหเหมือนอยูใน ระบบ HI และ CI หลังดําเนินการ จะมีการประเมินระบบเปนระยะ ๆ เนื่องจากการระบาดในตนป ๒๕๖๕ เปน ตนมา สวนมากเปนสายพันธุโอมิครอนที่ทําใหเกิดอาการรุนแรงและเสียชีวิตนอยกวาสายพันธุที่ผานมา โดย ขอมูลของ กทม. ในวันที่ ๒๕ ก.พ. ๒๕๖๕ จะพบวา ผูปวยสวนใหญอยูใน HI/CI และเตียงระดับ ๑ ซึ่งเปนฮอสปเทล (Hospitel) ใน รพ.เอกชน และ รพ.รัฐ คิดเปนรอยละ ๙๕ สวนผูปวยที่มีอาการรุนแรงเขาเตียงระดับ ๒.๑ ระดับ ๒.๒ และระดับ ๓ รวมแลวประมาณรอยละ ๔-๕ เทานั้น ดังนั้นแสดงวาผูติดเชื้อสวนใหญมากกวารอยละ ๙๐ แทบไมมีอาการหรือมีนอย การปรับระบบการดูแลรักษาแบบจับคูกันนี้ นับวา เปนการเปลี่ยนแปลงที่จะทําใหมีการบูรณาการ ระบบสุขภาพเขากับโรงแรม การทองเที่ยว การฟนฟูสุขภาพและเพิ่มพูนสมรรถนะการทํางานของรางกายสําหรับ ผูสูงวัยใหเห็นจริงไดงายและชัดเจนขึ้น ในอนาคตอันใกล จะพบการจัดทําสถานที่ฟนฟูสุขภาพ การดูแลรักษา สุขภาพในโรงแรมจากแพทยหรือบุคลากรทางการแพทยในสถานพยาบาลที่อยูในโรงแรมได สวนในระยะยาว น า จะเห็ น การบริ ก ารสุ ข ภาพครบวงจรในสถานที่ ต า ง ๆ ได ม ากขึ้ น อาจจะเริ่ ม จากโรงพยาบาล โรงแรม สถานพยาบาลซึ่งตองติดตามตอไป การสํารวจความเห็นจากประชาชนผูติดเชื้อก็สอดคลองกับการรักษาวิธีนี้เพราะพบวาผูปวยที่ไมมีอาการ มากกวารอยละ ๙๐ อยากรักษาตนเองที่บาน หรือแบบผูปวยนอก กลุมนี้มีอาการนอย อาจจะมีคันคอ ไอ เกือบ ทั้งหมดหายเองได และไมตองกินยาหรือเสี่ยงจากผลขางเคียงจากยาฟาวิพิราเวียร เชน คลื่นไส อาเจียน ตาหรือ เล็บสีฟา เปนตน วันที่ ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๖๕ กรมการแพทยไดจัดการประชุมรวมกับบุคลากรทางการแพทย ทั่วประเทศเพื่อชี้แจงถึงแนวทางการดูแลแบบผูปวยนอกและการแยกกักตัวเองที่บานนาน ๗ วัน ซึ่งการดูแลแบบ ผูปวยนอกจะใชในกรณีผูปวยไมมีอาการ มีอาการเล็กนอย ที่ไมมีความเสี่ยง สวน HI และ CI ใชในกรณีอาการ เล็กนอยหรือปานกลาง และการเขารักษาในโรงพยาบาลในกรณีที่ผูติดเชื้อมีอาการรุนแรง

๙๙

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ดังนั้น ระบบ“จับคูกัน” จะเปนการเปลี่ยนแปลงครั้งสําคัญในวงการสาธารณสุขและจะมีการพัฒ นา ระบบนี้ไปเรื่อย ๆ จนมีการบูรณการระบบสาธารณสุขเขากับความเปนอยูในชีวิตประจําวัน เพื่อเอื้อตอการมี สุขภาพดีที่ยั่งยืนและเนนการปองกันโรคไดอยางมีประสิทธิภาพมากกวาการมุงเนนมารักษาโรค เปนการบริการ สุขภาพครบวงจรรวมอยูในสถานที่อยูอาศัยในชุมชนนั้น ๆ ๖. การวินิจฉัยโรคดวยตนเองโดยการตรวจตัวอยางดวยวิธี ATK การวินิจฉัยโรคโควิด-๑๙ ที่เปนมาตรฐานคือ การนําตัวอยางจากผูปวยไปเพาะเชื้อไวรัสหรือทํ าการ ตรวจรหัสพันธุกรรมดวยวิธี RT-PCR ในหองปฏิบัติการหรือในโรงพยาบาล ตอมามีการพัฒนาวิธีการตรวจใหงาย ขึ้นและสามารถทําไดดวยตนเอง จนกระทั่งประชาชนสามารถตรวจ antigen test kit (ATK) ไดเองจนชิน หาก ไดผลบวก จะไดกักตนเองที่บานและสามารถรักษาตนเองที่บานไดดวย จนถึงเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม ๒๕๖๕ ประชาชนตรวจหาหลักฐานการติดเชื้อโควิด-๑๙ ดวยวิธี ATK จนชินแลว ในอนาคตการตรวจแบบ ATK จะทําที่ คลินิกอบอุน รานขายยา หรือที่บาน ทําใหการวินิจฉัยโรคและการควบคุมโรคระบาด ทําไดรวดเร็วขึ้น ๗. การใหบริการแบบ “โทรเวช” หรือการบริการการแพทยทางไกล การระบาดของโรคโควิ ด -๑๙ ทํ า ใหเกิดการใชร ะยะหางทางสังคมและการทํา งานจากที่บาน เพื่อ หลีกเลี่ยงการมาชุมนุมอยูดวยกันอยางแออัดในสถานที่ทํางานหรือในโรงพยาบาล ผูปวยที่มีโรคประจําตัวเชน เบาหวาน ความดันโลหิตสูงและโรคอื่น ๆ ที่ตองกินยาอยางตอเนื่อง ก็อยากจะหลีกเลี่ยงการมารอคอยอย าง แออัดโดยเฉพาะในโรงพยาบาลที่มีผูปวยจํานวนมากเพื่อมารักษาตัวในแตละวัน หลายรายปวยเปนโรคที่กําลัง รักษาอยูและมีอาการคงที่หรือกําลังทุเลามานานแลว จึงเกิดการเปลี่ยนแปลงการรักษาโดยใชการรักษาแบบให คําปรึกษาหารือทางโทรศัพทกับแพทย แลวสงยาทางไปรษณียไปใหผูปวย จัดเปนรูปแบบการรักษาที่สอดคลอง กับสถานการณการระบาดของโรคโควิด-๑๙ แตตอง มี ก ารกํ า หนดมาตรฐานการให บ ริ ก ารแบบนี้ จ าก แพทยสภาและกําหนดมาตรฐานของสถานบริการที่ มีเรื่องโทรเวชจากกรม สบส. ซึ่งจะเปน บริ ก ารที่ สําคัญ ในอนาคต แพทยสภาจึงไดออกแนวปฏิบัติ โทรเวช-คลิ นิ ก ออนไลน ใ นราชกิ จ จานุ เ บกษา เผยแพร ป ระกาศแพทยสภาที่ ๕๔/๒๕๖๓ เรื่ อ ง แนวทางปฏิ บั ติ ก ารแพทย ท างไกลหรื อ โทรเวช (telemedicine) และคลิ นิ ก ออนไลน ตามมติ คณะกรรมการแพทยสภาในการประชุมครั้งที่ ๗/๒๕๖๓ ในวันที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๖๓ โดยใหความหมายของ เรื่อง “โทรเวช” หรือ “การแพทยทางไกล” (telemedicine) วา เปนการสงผานหรือการสื่อสารเนื้อหาทางการ แพทยแผนปจจุบันโดยผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมทั้งจากสถานพยาบาลภาครัฐและ/หรือเอกชน จากสถานที่ หนึ่งไปยังอีกสถานที่หนึ่ง โดยอาศัยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส เพื่อใหการปรึกษา คําแนะนํา แกผูประกอบวิชาชีพ

๑๐๐

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

เวชกรรม หรือบุคคลอื่นใด เพื่อการดําเนินการทางการแพทยในกรอบแหงความรูทางวิชาชีพเวชกรรมตามภาวะ วิสัยและพฤติการณที่เปนอยู ทั้งนี้โดยความรับผิดชอบของผูสงผานหรือการสื่อสารเนื้อหาทางการแพทยนั้น ๆ สวนกระทรวงสาธารณสุขออกประกาศ ให ค วามหมายว า “การบริ ก ารการแพทย ทางไกล” หมายความวา การใหบริการการแพทย และสาธารณสุ ข ของสถานพยาบาลแก ผู ข อรั บ บริ การโดยผูป ระกอบวิ ช าชี พด ว ยระบบบริ การ การแพทย ทางไกลเพื่ อแลกเปลี่ ย นข อมู ล ที่ เป น ประโยชนตอการปรึกษา การตรวจ การวินิจฉัย การรั ก ษา การพยาบาล การป อ งกั น โรค การ สงเสริมสุขภาพและการฟนฟูสภาพรางกาย และ เพื่ อ ประโยชน สํ า หรั บ การศึ ก ษาต อ เนื่ อ งของ บุ ค ลากรทางการแพทย แ ละการสาธารณสุ ข “ระบบบริ ก ารการแพทย ท างไกล” หมายความว า ระบบงานที่ มี ก ารนํ า ดิ จิ ทั ล มาใช ใ นการให บ ริ ก ารด าน การแพทยและการสาธารณสุขที่อยูตางสถานที่ดวยวิธีการสงสัญญาณขอมูลภาพและเสียง หรือวิธีการอื่นใดและ ยังกําหนดใหผูรับอนุญาตและผูดําเนินการสถานพยาบาล ตองจัดใหมีองคประกอบตาง ๆ ใหชัดเจนดวยใน สถานพยาบาลที่ประสงคจะใหบริการโดยระบบบริการการแพทยทางไกล ดังนั้นเรื่องโทรเวชเปนสิ่งที่จะเกิดมาก ขึ้นเรื่อย ๆ และการบันทึกขอมูลตาง ๆ ตองพรอมที่จะเชื่อมโยงและใชรวมกันโดยมีระบบรักษาความลับสวนตัวดวย ๘. การใช แอป (app)…… (connect) บนโทรศัพทมือถือเพื่อการติดตอกับสถานพยาบาล ในโลกสื่อสังคมหรือโซเชียลมีเดีย (social media) ซึ่งหมายถึงสื่ออิเล็กทรอนิกสที่เปนสื่อกลางใหบุคคล ทั่วไปมีสวนรวมสรางและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นตาง ๆ ปจจุบันโรงพยาบาลตาง ๆ จัดทําแอปขึ้นมาและบรรจุ เปนแอป(app) ตาง ๆ มากมายลงในโทรศัพทมือถือ กลายเปนการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญในวงการสาธารณสุขและ นับวันจะขาดเสียไมได แอปตาง ๆ เหลานี้มีไว เพื่อใหความรูดานสุขภาพ โรคภัยไขเจ็บ ขาวสารในวงการแพทย แกผูปวยและประชาชน นัดวันมาตรวจ มารักษา เตือนการฉีดวัคซีน รวมถึงบางแอปมีการใหคําปรึกษาหารือกับ แพทย หรือฟงการประชุมวิชาการไดดวย (คลายโทรเวชที่ไมสมบูรณแบบ) ในอนาคตอาจจะมีขอมูลการเจ็บปวย ของผูปวยทานนั้นในโทรศัพทมือถือที่พรอมจะใหแพทยดูไดเมื่อไปรับการรักษาที่โรงพยาบาลตาง ๆ ดังนั้นการ เปลี่ ย นแปลงในวงการแพทย ใ นด า นนี้ นั บ วั น มี แ ต จ ะทวี ค วามสํ า คั ญ มากขึ้ น เรื่ อ ย ๆ ตั ว อย า งของแอปบน โทรศัพทมือถือที่ใชในวงการแพทยไทย

๑๐๑

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

๑๐๒

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

๙. การเพิ่ ม บทบาทของอาสาสมั ค รสาธารณสุ ข ประจํ า หมู บ า น (อสม.) และอาสาสมั ค รสาธารณสุ ข กรุงเทพมหานคร (อสส.) และผูชวยแพทยในระบบสาธารณสุขในชุมชนเมืองและชนบท การควบคุมโรคโควิด-๑๙ ที่สําเร็จลงได สวนหนึ่งเกิดจากการมีอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.) ในตางจังหวัด และอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร (อสส.) ลงพื้นที่ไปสืบหาขอมูล ติดตามผูติด เชื้อและผูไดรับวัคซีน ใหการดูแลประชาชนในแตละพื้นที่ และเปนตัวเชื่อมโยงกับกระทรวงสาธารณสุข และ กทม. รวมถึงโรงพยาบาลตาง ๆ และองคกรระดับชาติ อสม. และ อสส. จึงเปนเสมือนแกนนําสุขภาพที่คอยเฝา ระวัง ปองกันดูแลสุขภาพในชุมชน และชวยขจัดโรคโควิด-๑๙ ใหหมดไปจากประเทศไทย กรมสนับสนุนบริการ สุขภาพเปนผูดูแลและสนับสนุนสงเสริมบทบาทของ อสม.ในการสื่อสาร ใหความรู สรางความเขาใจเกี่ยวกับวัคซีน ปองกันโรคโควิด รวมถึงสํารวจและติดตามอาการประชาชนกลุมเปาหมายที่ไดรับวัคซีนในชุมชน โดย อสม.เคาะ ประตูบานใหความรู สื่อสารสรางการรับรูแกประชาชนไปแลวกวา ๓ ลานหลังคาเรือน นับเปนกําลังสําคัญของ ระบบการแพทยและการสาธารณสุขในการขับเคลื่อนระบบสุขภาพของประชาชน ชุมชน ตําบลและหมูบานให เกิดความเขมแข็ง ระบบสุขภาพในชนบทได อสม. มาชวยในเขตเมืองใหญ ตองมีการปรับระบบสาธารณสุขขนาน ใหญในอนาคต เพราะสภาพในเขตเมืองใหญมีหลายรูปแบบ ทั้งชุมชนสลัม ตลาดขนาดใหญ ตึกแถว ออฟฟศ สํานักงานขนาดใหญ ตึกเดียวอาจจะมีคนถึง ๕๐,๐๐๐ คน จึงตองพัฒนาระบบสาธารณสุขเหลานี้เพิ่มเติ มให เหมาะสมกับพื้นที่ที่หลากหลายในเขตเมือง ถือวาเปนการพัฒนาบุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุขให ๑๐๓

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

พรอมเพื่อสนองความตองการดานบริการสุขภาพของประชาชนที่เพิ่มมากขึ้นทั้งในชนบทและเขตเมือง และตอง พัฒนาทักษะของบุคลากรใหเหมาะสมกับระบบสุขภาพยุคใหม และทํางานดวยนวัตกรรมใหม ๆ และเตรียม รับมือปญหาสิ่งแวดลอมที่เปลี่ยนไป ทั้งจากภาวะโลกรอน และปญหาภัยธรรมชาติ ตองพัฒนาระบบเพื่อรับมือ การเปลี่ยนแปลง นอกจากนี้ แพทยสภายังไดเล็งเห็นความสําคัญของการผลิตผูชวยแพทย เพื่อชวยงานของแพทยใน โรงพยาบาลที่มีการดูแลรักษาผูปวยดวยเครื่องมือที่ซับซอนตาง ๆ เพื่อแบงเบาภาระของแพทยในการดูแลผูปวย ๑๐. เวชศาสตรจีโนมทางการแพทย เวชศาสตรจีโนมทางการแพทยมีการศึกษามากอนยุคโรคโควิด-๑๙ จะระบาด แตมีการศึกษาอยาง ตอเนื่องและเริ่มมีการใชประโยชนที่ชัดเจนในยุคที่โรคโควิด-๑๙ ระบาดนี้เองและจะมีการใชมากขึ้นหลังจากนี้ เปนตนไป เวชศาสตรจีโนมทางการแพทยเริ่มตนมาจากการคนพบกุญแจดอกสําคัญของรหัสพันธุกรรมในป พ.ศ. ๒๔๙๖ (๗๐ ปมาแลว) จากนักวิทยาศาสตร ๒ ทาน คือ ฟรานซิส คริก (Francis Crick) นักฟสิกสชาวอังกฤษ และเจมส วัตสัน (James Watson) นักชีววิทยาชาวอเมริกัน เพื่อใชอธิบายกระบวนการถายทอดลักษณะตาง ๆ ทางพันธุกรรมจากสิ่งมีชีวิตรุนหนึ่งไปสูอีกรุนหนึ่ง และนํามาสูการเปลี่ยนแปลงครั้งสําคัญในวงการแพทยและ สาธารณสุข เมื่อมนุษยสามารถสรางและผลิตเครื่องมือในการถอดรหัสพันธุกรรมของมนุษยหรือสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ไดอยางรวดเร็วในเวลาไมถึง ๒๔-๔๘ ชั่วโมง เชน การผลิตอุปกรณถอดรหัสพันธุกรรมมนุษยแบบพกพาขนาด เท าโทรศั พท มือถื อ ซึ่ งสามารถใช งานนอกหองปฏิบัติการไดทุกหนทุกแหงแมแตที่บาน ทําใหกระบวนการ ถอดรหัสพันธุกรรมมนุษยอันยุงยากซับซอน กินเวลานาน มีราคาแพง และตองทําในหองปฏิบัติการเทานั้น กลาย มาเปนเรื่องที่สามารถทําไดทุกที่ ทุกเวลา โดยเสียคาใชจายไมแพง (ยอนไปในอดีต โครงการถอดรหัสพันธุกรรม มนุษย หรือ Human Genome Project เริ่มในชวงป พ.ศ. ๒๕๓๓ และใชหองปฏิบัติการทั่วโลกรวมกันทํางาน เปนเวลานานถึง ๑๓ ป ใชเงินหลายรอยลานดอลลารสหรัฐฯ กวาที่จะถอดรหัสพันธุกรรมมนุษยไดครบถวนเปน ครั้งแรกของโลก เพื่อที่จะพบวา เซลลมนุษยมี ๒๐,๐๐๐ ยีน โดยสารพันธุกรรม ๑ ชุดมี ๓,๐๐๐ ลานเบส) ขณะนี้ ทีมวิจัยใน ๑๐ สถาบันทั่วประเทศไทยไดเริ่มเก็บขอมูลยีนคนไทยจํานวน ๑,๐๙๒ รายแลว โดยจัดเก็บใน ฐานขอมูลที่เรียกวา The Thai Reference Exome (T-REx) ตัวอยางของการคนพบยีนผิดปกติจากที มวิ จั ย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เชน ยีน SATB2 กอโรคพัฒนาการลาชา (Glass Syndrome), ยีน MBTPS2 กอโรค กระดูกเปราะ, ยีน KIF6 กอโรคสติปญญาบกพรอง และการพบยีน YEATS2 กอโรคลมชักและมือสั่น ทีมวิจัยนี้ใช เวลาถึง ๑๔ ป ในการตรวจวินิจฉัยหายีนที่ผิดปกติเหลานี้ ดั งนั้ น เมื่ อผลิ ตอุ ป กรณ ที่ส ามารถถอดรหัส พัน ธุ ก รรมได อย า งสะดวกรวดเร็ว จะสงผลใหเกิ ด การ เปลี่ ย นแปลงต อวงการแพทย และสาธารณสุขอยางมาก ทําใหแพทยมีโ อกาสวินิจ ฉัย ความเสี่ย งในการเกิ ด โรคมะเร็งในมนุษยไดอยางรวดเร็วเมื่อพบยีนกลายพันธุและดีเอ็นเอที่มีความบกพรอง ทั้งยังสามารถเลือกวิธีการ รักษาเฉพาะแตละบุคคลไดอยางเหมาะสม หรือใชติดตามเชื้อโรคดื้อยาไดงาย อุปกรณที่ใชถอดรหัสพันธุกรรม เหลานี้จะเปนกลายเปนเครื่องมือทางการแพทยที่สําคัญที่ใชประกอบในการดูแลรักษาประชาชนและผูปวยทั่วไป ๑๐๔

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

เชน ใชเครื่องมือนี้ในการคนพบโรคที่มีความผิดปกติทางพันธุกรรมที่หายาก ใชในการทํานายความเสี่ยงในการ เกิดโรค การเลือกวิธีการรักษาที่เหมาะสม การหลีกเลี่ยงการแพยาหรือวัคซีนอยางรุนแรง ทําใหผูรับการตรวจได ระมัดระวังตนเองมิใหเจ็บปวยหรือติดตามสุขภาพของตนเองอยางตอเนื่อง หรือใชตรวจหาเซลลผิดปกติในเลือด หรื อเซลล มะเร็ ง ได ห ลายชนิ ด ทํ า ให การรั ก ษามีป ระสิ ทธิภ าพ แมน ยํา รวดเร็ว สรางผลกระทบสู ง ทั้ ง ทาง สาธารณสุข สังคม และเศรษฐกิจ ประโยชนในการใชเครื่องมือเหลานี้ยังขึ้นอยูกับความสามารถของแพทยที่จะ อานวิเคราะหขอมูลทางพันธุกรรมที่เครื่องไดถอดรหัสออกมาใหแลว และการใหคําแนะนําแกผูรับการตรวจเพื่อ นําไปดูแลสุขภาพของตนเองตอไป ทั้งนี้ แพทยที่จะใชเครื่องมือเหลานี้และจะใหคําปรึกษาแกผูรับการตรวจ จะตองผานการอบรมในเรื่องนี้ มาก อน ส ว นสถานพยาบาลที่ จ ะให บ ริ การการตรวจรหัส พัน ธุกรรมนี้ จะตองมีคุณสมบัติตามประกาศของ กระทรวงสาธารณสุข เรื่องมาตรฐานการบริการเวชศาสตรจีโนมของสถานพยาบาลดวย นิยามของ “เวชศาสตร จีโนม (Genomic Medicine)” จะหมายถึงการแพทยที่อาศัยเทคโนโลยีพันธุศาสตรระดับโมเลกุล เพื่อประเมิน ความเสี่ยง วินิจฉัย ดูแลรักษา และพยากรณโรค สวนการบริการเวชศาสตรจีโนมหมายความวา การใหบริการ เกี่ยวกับการตรวจวิเคราะห การวินิจฉัย การแนะนําการใชยา การดูแลรักษาพยาบาล พยากรณโรค การประเมิน ความเสี่ยงของการเกิดโรค และการปองกันโรคโดยอาศัยศาสตรหรือเทคโนโลยีพันธุศาสตรในระดับโมเลกุล รวมถึงการใหคําปรึกษา การติดตามผลการบริการเวชศาสตรจีโนม ดวย ปจจุบัน มีการลงนามสัญญาจางและสัญญาเชาที่บริการถอดรหัสพันธุกรรม ระหวาง สถาบันวิจัยระบบ สาธารณสุข (สวรส.) และสํานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สกพอ.) รวมกับ กิจการรวมคาไทยโอมิกส ซึ่งประกอบดวย บริษัท จีโนมิกส อินเวชั่น จํากัด บริษัท เอไอดี จีโนมิกส จํากัด และ บริษัท เซินเจิ้น เจาจือเดา เทคโนโลยี จํากัด เพื่อถอดรหัสพันธุกรรมประชาชน ๕๐,๐๐๐ ราย ในระยะเวลา ๕ ป และใชในการวินิจฉัย ๕ กลุมโรค ไดแก กลุมโรคมะเร็ง กลุมโรคหายาก กลุมโรคติดเชื้อ กลุมโรคเรื้อรังไมติดตอ และกลุมโรคผิดปกติทางพันธุศาสตร ปจจุบันโครงการดังกลาวดําเนิน การเก็บตัว อยางไปแลว ๖,๔๖๙ ราย (ข อ มู ล วั น ที่ ๒๘ ก.พ. ๒๕๖๕) และคาดว า จะเก็ บ ตั ว อย า งเสร็ จ ภายใน พ.ศ. ๒๕๖๘ ป จ จุ บั น สํ า นั ก งาน หลักประกันสุขภาพแหงชาติไดเพิ่มเติม ๒ ชุดสิทธิประโยชนประจําป พ.ศ. ๒๕๖๕ ไดแก การตรวจยีน BRCA1, BRCA2 ในผูปวยมะเร็งเตานม เพื่อตรวจคัดกรองและคนหาการกลายพันธุของยีนโรคมะเร็งเตานม ใหพบใน ระยะเริ่มตนและไดรับการรักษาโดยเร็ว อีกหนึ่งโรคไดแก การตรวจคัดกรองทารกแรกเกิดโรคพันธุกรรมเมตาบอลิก เพื่อรักษาโรคหายากไดอยางรวดเร็วและชวยชีวิตเด็กได ๑๑. ปญญาประดิษฐ(artificial intelligence, AI) และการเปลี่ยนแปลงวงการแพทยและสาธารณสุข เทคโนโลยีนี้มีการพัฒนามาอยางตอเนื่องและใชมากขึ้นในยุคโควิด-๑๙ เชนกัน และจะมีการใชมากขึ้น เป น ทวี คูณหลั งจากนี้ เ ป น ต น ไป พร อม ๆ กับ มีการพัฒ นาการใชร ะบบอิน เตอรเ น็ต (Internet of Medical Things, IoMT) ที่ชวยเชื่อมตออุปกรณการแพทยเขากับเครือขายทางอินเตอรเน็ ต การเชื่อมตออุปกรณทาง แพทยตั้งแต ๒ อุปกรณขึ้นไปเพื่อการวินิจฉัยและการจัดการผูปวยจากระยะทางที่ไกลกวาปกติ เปนตน การ พัฒนาการวิเคราะหและประยุ กต ใช ขอมูล ขนาดใหญ (big data) ที่จะทําใหตลาดดู แลสุขภาพไดรับ ข อ มู ล ที่ เจาะลึกภายในเวลาอันรวดเร็ว และสามารถนํามาปรับปรุงบริการทางดานสุขภาพไดมากมายหลายดาน ๑๐๕

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ประโยชนของ AI ในปจจุบันมีหลายดาน เชน ชวยในการวินิจฉัยโรคในระยะแรกเริ่มในโรคมะเร็งเตานม และโรคมะเร็งปอด ทําใหมีโอกาสหายมากขึ้นหรือเพิ่มอัตราการรอดชีวิตใน ๕ ปใหมากขึ้น ชวยตรวจหาภาวะ ความผิดปกติของภาพเอกซเรยตาง ๆ ในตําแหนงที่ยากตอการวินิจฉัยดวยการอานภาพของมนุษย หรือชวย วินิจฉัยภาวะฉุกเฉินบางอยางไดอยางรวดเร็วยิ่งขึ้นและถูกตองแมนยํา อาจจะใช AI ชวยจัดคิวใหแพทยพบผูปวย ตามความเรงดวน หรือใช AI วินิจฉัยมะเร็งผิวหนังและจอประสาทตาจากภาพถาย ใช AI คัดกรองวัณโรคปอด จากภาพเอกซเรยทรวงอก โดย AI จะเขามาชวยดานการวินิจฉัยโรค/ประเมินและคัดกรองโรคระยะแรกไดอยาง รวดเร็ ว และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากขึ้ น มากกว า การวิ นิ จ ฉั ย จากแพทย อ ย า งเดี ย ว ซึ่ ง จะเป น การลดอั ต ราการ วินิจฉัยโรคผิดพลาด ลดขอผิดพลาดจากความออนลาหรือเหตุผลอื่น ๆ ของบุคลากรทางแพทย ปรับปรุงการ รักษาใหดียิ่งขึ้น ในขณะเดียวกันยังจะทําใหแพทยไดมีเวลามากขึ้นและสามารถใชเวลาเหลานั้นไปกับการมุง รักษาคนไขที่มีความยุงยากซับซอน มีผูรายงานการใช AI ในการวิเคราะหอาการเกี่ยวกับไขกระดูกที่สามารถ ชวยวินิจฉัยโรคไดภายใน ๑ วัน เทียบกับการศึกษาแบบเดิมที่อาจจะตองใชเวลาประมาณ ๕-๑๐ วัน หรือชวย วินิจฉัยโรคไดอยางรวดเร็วจากภาพที่ไดจากการสองกลองลงไปในระบบทางเดินอาหาร เปนตน การประยุกตใชปญญาประดิษฐในวงการแพทยและสาธารณสุข นับวันจะมีการนํามาใชมากขึ้น ทําให เกิดความรวดเร็ว แมนยํา สามารถทํางานไดตลอด ๒๔ ชั่วโมงโดยไมเหนื่อยลาหรือลดประสิทธิภาพ ใชติดตาม ปญหาสุขภาพของผูปวยไดอยางตอเนื่องและรายงานใหแพทยทราบไดอยางรวดเร็วอีกดวย หากมีการพัฒนา เครื่องมือที่ใชเก็บภาพตาง ๆ ของรางกายมนุษยใหสามารถขยายความละเอียดไดเพิ่มขึ้นอยางนอยอีก ๑,๐๐๐ เทา คลายกับการใชกลองจุลทรรศนทั่วไป หรือกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอน สองดูเซลลตาง ๆ รวมกับการใช AI จะทําใหการวินิจฉัยโรคตาง ๆ ทางกายวิภาคแมนยํามากขึ้นอีกมากมายหลายเทา โดยเฉพาะโรคทางสมองและ หัวใจ รวมถึงโรคของหลอดเลือดแดงขนาดเล็กดวย โดยสรุป การเปลี่ยนแปลงในวงการสาธารณสุขในยุคโรคโควิด-๑๙ ระบาดและนําไปสูการปรับเปลี่ยน ระบบสาธารณสุขและวงการแพทย จะเกิดขึ้นอยางตอเนื่องและรวดเร็วแมการระบาดของโรคโควิด-๑๙ จะทุเลา หรือหมดไป การบริการสุขภาพในปจจุบันจะเนนมาที่การดูแลสุขภาพครบวงจร “health care” และเนนมาที่ การปองกันโรคหรือการทําใหสุขภาพดีคงอยูอยางยาวนานแมเขาสูระยะสูงวัย ระบบสุขภาพไทยมีคาใชจายใน การรักษาพยาบาลคอนขางสูง โดยสัดสวนคาใชจายสงเสริมสุขภาพและการปองกันโรคมีเพียงรอยละ ๙ เทานั้น แตงบประมาณสวนที่เหลืออีกรอยละ ๙๑ เปนการใชจายสําหรับการรักษาพยาบาล โรงพยาบาลจะกลายเปน smart hospital และเปนศูนยรวมการบริการอื่น ๆ ไวในพื้นที่มากขึ้น การดูแลสุขภาพในอนาคตจะเนนมาเพิ่ม น้ําหนักกับการปองกันโรคและรักษาสุขภาพดีใหคงอยูยาวนานมากขึ้น โดยเฉพาะสังคมไทยเขาสูสังคมผูสูงอายุ มากอยางสมบูรณแบบ หนวยงานตาง ๆ ในระบบสาธารณสุขควรจะมีการบูรณาการมากขึ้นใหเกื้อหนุนกันและ กัน ระหวางหนวยงานในระดับชาติและในทุกระดับ การสื่อสารใหขอมูลดานสุขภาพจะรวดเร็วและทันกาลมาก ขึ้น การฟนฟูสุขภาพในระบบองครวมจะรวมไปถึงธุรกิจดาน wellness ที่ขยายตัวมากขึ้น อาทิ ธุรกิจออกกําลัง กาย การใหคําปรึกษาสุขภาพกายและจิตใจทางโทรเวช ประชาชนสามารถดูแลวินิจฉัยตนเองไดมากขึ้น การ ทองเที่ยวเชิงสุขสภาพจะเกิดมากขึ้น (wellness tourism) สิ่งตาง ๆ เหลานี้ จะเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ และการประยุกตใชทางการแพทยจากการมีนวัตกรรม การประยุกตใชปญญาประดิษฐในการวินิจฉัยโรคได แมนยําขึ้นโดยไมเหนื่อยลา ความสามารถในการเก็บขอมูลสุขภาพของประชาชนแตละรายและการสงตอขอมูล ๑๐๖

๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ระหวางสถานพยาบาลโดยความรวมมือจากผูเปนเจาของขอมูลหรือผูปวย การใชขอมูลสุขภาพสวนกลางของ ประชาชนในการวิเคราะหหาแนวทางสงเสริมสุขภาพ การใชเวชศาสตรจีโนม และการสื่อสารตาง ๆ อยาง รวดเร็วทางโทรเวชในวงการแพทยและสาธารณสุขดังที่กลาวมาแลว รวมทั้งการจัดบรรยากาศและสิง่ แวดลอมให ปลอดจากสารพิษและมลพิษทางอากาศเพื่อเอื้ออํานวยใหการมีสุขภาพดีคงอยูอยางยาวนานไดดวย

๑๐๗

เลาดวยภาพ ๑๒ ป แหงความทรงจํา

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

คณบดีคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ตั้งแตกอตั้งจนถึงปจจุบัน

๑.

ศาสตราจารย นายแพทยอดุลย

วิริยะเวชกุล

(วาระ ๖ กรกฎาคม – ๖ ตุลาคม ๒๕๕๓)

๒.

รองศาสตราจารย นายแพทยชูเกียรติ อัศวาณิชย (วาระ ๗ ตุลาคม ๒๕๕๓ – ๓๐ กันยายน ๒๕๕๖)

๓.

ศาสตราจารยเกียรติคณ ุ นายแพทยอมร ลีลารัศมี (วาระ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๖ – ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๒)

๔.

ศาสตราจารยคลินิก นายแพทยสุวัฒน เบญจพลพิทักษ (วาระ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ – ปจจุบัน)

๑๐๙

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

อดีตผูบริหาร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ๑. ศ.เกียรติคุณ ดร.จริยา บรอคเคลแมน ผูอํานวยการคณะแพทยศาสตร

พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๖

๒. พ.ต.อ.นพ.ฉัตรชัย อังสุโรจน

ประธานแพทยศาสตรศึกษา

พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๒

๓. พล.ต.ท.นพ. เลี้ยง หุยประเสริฐ

รองคณบดีฝายบริหาร

พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๕๙

๔. ผศ.ดร.ภก.สุรชัย อัญเชิญ

รองคณบดีฝายกิจการนักศึกษา

พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๕๘

๕. รศ.นพ.สังคม จงพิพัฒนวาณิชย

รองคณบดีฝายวิจัย

พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๕๗

๖. รศ.(พิเศษ) นพ.เอกชัย โควาวิสารัช

รองคณบดีฝายวิชาการ

พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕

๗. อ.ดร.ศักรินทร ภูผานิล

ผูชวยคณบดีฝายวิชาการ

พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๔

๘. อ.วิวัฒน จรกิจ

ผูชวยคณบดีฝายวิชาการ

พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๔

๙. อ.ดร.ธิดารัตน เนติกุล

ผูชวยคณบดีฝายกิจการนักศึกษา

พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๔

และบริการวิชาการ ๑๐. อ.ดร.ศราวุธ ลาภมณีย

ผูชวยคณบดีฝายวิจัยและวิเทศสัมพันธ

พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๔

๑๑. อ.ดร.ณัฏฐพล ศุภกมลเสนีย

ผูชวยคณบดีฝายวิชาการ

พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๕

๑๒. อ.สัตพร เจริญสุข

ผูชวยคณบดีฝายวิชาการ

พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๕

๑๓. อ.ดร.สรัญญา ศิริบาล

ผูชวยคณบดีฝายวิจัยและบริการวิชาการ

พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๕

๑๑๐

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

คณะผูบริหารปจจุบัน คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

ศ.คลินิก นพ.สุวัฒน เบญจพลพิทักษ คณบดี

ศ.กิตติคุณ นพ.เฉลิม วราวิทย ที่ปรึกษาคณะ

รศ.นพ.ชูเกียรติ อัศวาณิชย ที่ปรึกษาคณะ

๑๑๑

ศ.นพ.ธันวา ตันสถิตย ที่ปรึกษาคณะ

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

รศ.ดร.เสาวณีย รัตนพานี รองคณบดี

นพ.ชยุตม ตรีกิตติวงศ รองคณบดีฝายวิชาการ

อ.สุดจิตร เมืองเกษม ผูชวยคณบดีฝายนโยบายและแผน

ผศ.ทนพ.วรเชษฐ ขอบใจ ผูชวยคณบดีฝายวิชาการ

อ.ดร.กิตติศักดิ์ สินพิทักษกุล ผูชวยคณบดีฝายวิชาการ

อ.ดร.เจนวิทย นพวรท ผูชวยคณบดีฝายกิจการนักศึกษา

อ.ดร.เฉลิมขวัญ รุงสวาง ผูชวยคณบดีฝายวิจัย และบริการวิชาการ

รศ.ดร.อิศนันท วิวัฒนรัตนบุตร ผูชวยคณบดีฝายวิเทศสัมพันธ และศึกษาทั่วไป

๑๑๒

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

อดีตคณาจารย คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม ๑. ศ.เกียรติคุณ นพ.บุญเจือ ธรณินทร

สาขาเภสัชวิทยา

๒. ศ.ดร.นพ.พรพรต ลิ้มประเสริฐ

สาขาพยาธิวิทยาคลินิก, สาขาพันธุศาสตร

๓. ผศ.นพ.จิตวัต รุงเจิดฟา

สาขาอายุรศาสตรโรคเลือด

๔. พล.ต.ท.นพ.เลี้ยง หุยประเสริฐ

สาขานิติเวชศาสตร

๕. พ.ต.อ.นพ.ฉัตรชัย อังสุโรจน

สาขาศัลยศาสตรยูโรวิทยา

๖. อ.นพ.สมเกียรติ วงษทิม

สาขาอายุรศาสตรโรคปอด

๗. อ.นพ.ประเสริฐ หลุยเจริญ

สาขาอายุรศาสตรโรคหัวใจ

๘. รศ.ดร.ศิริพร สิทธิเลิศเดชา

สาขากายวิภาคศาสตร

๙. พันเอกหญิง ผศ.ดร.โกสุม ชินเศรษฐกิจ

สาขากายวิภาคศาสตร

๑๐. ผศ.ดร.กรณิกา ขนบดี

สาขากายวิภาคศาสตร

๑๑. อ.ดร.นพวรรณ ผลพานิช

สาขากายวิภาคศาสตร

๑๒. อ.ดร.พัฒนพงษ บุญพรม

สาขากายวิภาคศาสตร

๑๓. อ.ดร.วิภาวี ถึงเสียบญวณ

สาขากายวิภาคศาสตร

๑๔. อ.ดร.ธัญวรินทร ฐิติภัทรภูวนนท

สาขากายวิภาคศาสตร

๑๕. อ.วนิดา ณรงคศักดิ์

สาขากายวิภาคศาสตร

๑๖. อ.สิริสมบัติ สุนนท

สาขากายวิภาคศาสตร

๑๗. อ.บุตรโต นามบุญเรือง

สาขากายวิภาคศาสตร

๑๘. ผศ.ดร.ธิดารัตน เอกสิทธิกุล

สาขาชีวเคมี

๑๙. รศ.ดร.วิภาวี จําปาเงิน

สาขาจุลชีววิทยา

๒๐. ผศ.ดร.ภก.สุรชัย อัญเชิญ

สาขาเภสัชวิทยา

๒๑. อ.ดร.ปภาวีร สมาธิวัฒน

สาขาเภสัชวิทยา ๑๑๓

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

๒๒. อ.ดร.อชิรญา ธรรมศักดิ์ชัย

สาขาพยาธิวิทยา

๒๓. รศ.ดร.ทวีพร สิทธิราชา

สาขาสรีรวิทยา

๒๔. อ.อัฉริยา สุวาณิช

สาขาสรีรวิทยา

๒๕. อ.สัณหพงษ กอวงศ

สาขาภาษาอังกฤษ

๑๑๔

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

คณาจารยปจจุบัน คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม แพทยผูเชี่ยวชาญ

ศ.คลินิก นพ.สุวัฒน เบญจพลพิทักษ

ศ.เกียรติคุณ นพ.อมร ลีลารัศมี

(กุมารเวชศาสตร-โรคภูมิแพ)

(อายุรศาสตร โรคติดเชื้อ)

รศ.(พิเศษ) นพ.เอกชัย โควาวิสารัช

รศ.นพ.วิบูลย ฤทธิทิศ

ผศ.นพ.ไพศาล ลีละชัยกุล

(สูติศาสตร-นรีเวชวิทยา–เวชศาสตรมารดา และทารกในครรภ)

(เวชศาสตรครอบครัว)

(พยาธิวิทยา)

นพ.วีระพล ธีระพันธเจริญ

นพ.ชยุตม ตรีกิตติวงศ

นพ.ฐิติ กวักเพฑูรย

(อายุรศาสตร)

(อายุรศาสตร)

(พยาธิวทิ ยา)

๑๑๕

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

อาจารยสาขากายวิภาคศาสตร

ศ.นพ.ธันวา ตันสถิตย

อ.วิวัฒน จรกิจ

อ.อมรรัตน ยืนยงวัฒนกุล

อ.ดร.เฉลิมขวัญ รุงสวาง

๑๑๖

อ.สัตพร เจริญสุข

อ.สุกัญญา อุรุวรรณ

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

อาจารยสาขาชีวเคมี

อ.ดร.เจนวิทย นพวรท

อาจารยสาขาชีววิทยาและวิทยาศาสตรชีวภาพ

รศ.ดร.อิศนันท วิวัฒนรัตนบุตร

อ.ดร.ศักรินทร ภูผานิล

๑๑๗

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

อาจารยสาขาเคมี

รศ.ดร.เสาวณีย รัตนพานี

อาจารยสาขานิติวิทยาศาสตร

ผศ.ทนพ.วรเชษฐ ขอบใจ

๑๑๘

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

อาจารยสาขาวิทยาภูมคิ ุมกัน

รศ.ดร.มลวิภา วงษสกุล

อาจารยสาขาจุลชีววิทยาและปรสิตวิทยา

รศ.ดร.มาลินี ไทยรุงโรจน

อ.ดร.ธิดารัตน เนติกุล

อ.ดร.สรัญญา ศิริบาล

อ.นันธนิดา มงคล

๑๑๙

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

อาจารยสาขาเภสัชวิทยา

รศ.นพ.วิบูลย ฤทธิทิศ

รศ.ดร.ภญ.นวลนอย จูฑะพงษ

อาจารยสาขาพยาธิวิทยาและพยาธิวิทยาคลินิก

ผศ.นพ.ไพศาล ลีละชัยกุล

นพ.ฐิติ กวักเพฑูรย

๑๒๐

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

อาจารยสาขาสรีรวิทยา

ผศ.ดร.อภิชัย ชูปรีชา

อ.ดร.ณัฏฐพล ศุภกมลเสนีย

อ.ดร.ศราวุธ ลาภมณีย

อ.ดร.กิตติศักดิ์ สินพิทักษกุล

๑๒๑

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

ผูอํานวยการ โรงพยาบาลพระนั่งเกลา ตั้งแตเริ่มความรวมมือจนถึงปจจุบัน

นายแพทยวิรุฬห พรพัฒนกุล (วาระ พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๖๐)

นายแพทยประสิทธิ์ มานะเจริญ (วาระ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๒)

นายแพทยมณเฑียร เพ็งสมบัติ (วาระ พ.ศ. ๒๕๖๒ - ๒๕๖๔)

๑๒๒

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

นายแพทยศักดา อัลภาชน (วาระ พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๕)

แพทยหญิงณิชาภา สวัสดิกานนท (วาระ พ.ศ. ๒๕๖๕ – ปจจุบัน)

๑๒๓

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

ฝายบริหาร ผูอํานวยการศูนยแพทยศาสตรชั้นคลินิก โรงพยาบาลพระนั่งเกลา

แพทยหญิงสิริรัตน ลิมกุล ผูอํานวยการ

พญ.ศิริพร ธนามี รองผูอํานวยการฝายบริหาร

พญ.ชอทิพย วัฒนสุทธิพงศ รองผูอํานวยการฝายการศึกษา และประเมินผล

พญ.เจติยา สุรารักษ พญ.อุบลวรรณ เธียรโพธิ์ภิรักษ รองผูอํานวยการฝายพัฒนาอาจารย รองผูอํานวยการฝายประกันคุณภาพ

๑๒๔

พญ.กอบเกื้อ เลาหพจนารถ รองผูอํานวยการฝายกิจการ นักศึกษา

พญ.ธิดารัตน ทดแทนคุณ รองผูอํานวยการฝายวิจัย

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

คณาจารยแพทยประจําภาควิชา ศูนยแพทยศาสตรชั้นคลินิก โรงพยาบาลพระนั่งเกลา ภาควิชากุมารเวชศาสตร ๑. พญ.ดรุณี ศรีวิไล ๔. พญ.สุภาวดี ทองเสน ๗. พญ.สุวดี จิระศักดิ์พิศาล ๑๐. พญ.เจนจิรา ไอยรากาญจนกุล ๑๓. พญ.ปจฉิมา สุวรรณโกมุล ๑๖. พญ.เจนจิรา เอื้อพุทธจรรยา

๒. พญ.ชอทิพย วัฒนสุทธิพงศ ๕. พญ.ฐิติญา ไตรโสรัส ๘. นพ.อัธยา กัลยากาญจน ๑๑. พญ.ปรานทิพย ศรีสัตยกุล ๑๔. พญ.ณัฐชรินทร ทวีพลอังศุชวาล

๓. พญ.ชอทิพย นาสวาสดิ์ ๖. พญ.ธิดารัตน อัคราช ๙. พญ.ณิชารีย ณ สงขลา ๑๒. นพ.ภูมินทร ฉวีพิศาล ๑๕. นพ.วุฒิพล โพธิ์แกว

๒. นพ.พงศกร สุขเกษม ๕. นพ.สันติ อังคณาโสภิต ๘. นพ.พจน เลาหจีรพันธุ ๑๑. นพ.ชยานันต ศิริพานิชกร ๑๔. นพ.ธนกร ชวัญไสวธรรม

๓. พญ.รัชนี ยังไพโรจน ๖. พญ.ปวีณา ลาวัณลักขณา ๙. นพ.สุทธิเกียรติ จรดล ๑๒. นพ.ภาคภูมิ สถิรเรืองชัย ๑๕. นพ.ณัฐยุตม มหิทธาฟองกุล

๒. พญ.จุฑาสินี สัมมานันท ๕. พญ.รุงทิพย ชัยพรโภคิน ๘. พญ.เบญจมาศ กิจนิธี ๑๑. พญ.เพชรรัตน ปนประชานันท

๓. นพ.คํานวร จิตรมณีวรรณ ๖. นพ.ศุภณัฏฐ บุญเยี่ยมเยียน ๙. พญ.อรณัฐ วนาสิทธชัยวัฒน ๑๒. พญ.อรธิชา สุพัฒนาภรณ

๒. นพ.ธันยา วิชัยโกศล ๕. พญ.ศิรประภา วรอาภรณ

๓. นพ.สรวุฒิ เกษมสุข ๖. พญ.ชนากานต ตุมธรรมรงค

ภาควิชาศัลยศาสตร ๑. นพ.เจิมวิทย พิรัตน ๔. นพ.ชาคริต เสกธีระ ๗. พญ.ธนพร เติมวัฒนาภักดี ๑๐. นพ.ฐานิตย คุณานุสนธิ์ ๑๓. นพ.วิชัย สุรวงษสิน ๑๖. นพ.เฉลิมชัย เกียรติบํารุงพันธ

ภาควิชาสูติศาสตร-นรีเวชวิทยา ๑. พญ.เจติยา สุรารักษ ๔. พญ.ปานหนึ่ง อุดมสินกุล ๗. พญ.คัทลียา สุวรรณธนานนท ๑๐. พญ.ณิชพร สงวนดีกุล

ภาควิชาจิตเวชศาสตร ๑. พญ.ธิดารัตน ทดแทนคุณ ๔. พญ.สุธิรา ริว้ เหลือง

๑๒๕

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

ภาควิชารังสีวิทยา ๑. นพ.ประวิทย อนุเคราะหวิทยา ๔. พญ.นันทนภัส เหลาไทย ๗. พญ.นิรินทรวรรณ อุสาหะ

๒. นพ.สมพล รวมเจริญเกียรติ ๕. พญ.ณัฏฐพร กัลยาณวุฒิ

๓. พญ.ศิริพร ธนามี ๖. พญ.รุจิลักษณ โรจนธํารงค

๒. นพ.เอลวิล เพชรปลูก ๕. พญ.รุงกานต ผองใส ๘. นพ.กิตติศักดิ์ ตั้งจิตตรง ๑๑. พญ.พัสวีร ตังเดชะหิรัญ ๑๔. นพ.ศิรธันย อินนุพัฒน ๑๗. พญ.แพรโพยม อังศุสิงห ๒๐. พญ.ทักษอร อังศุธรารักษ ๒๓. พญ.พชรมน ภูสันติสัมพันธ ๒๖. พญ.รติมา ลือวิบูลยรัตน ๒๙. นพ.ธนบัตร มหาศรานนท ๓๒. นพ.วงศกร โรจนวิจิตรกุล ๓๕. นพ.อภิสิทธิ์ ลี่ดํารงวัฒนากุล ๓๘. นพ.สุทัศน ศรีสวัสดิ ๔๑. พญ.ณิชา เจนมานะชัยกุล

๓. พญ.ภิรดี ศรีจันทร ๖. พญ.สุธาสินี ลดาพงษพัฒนา ๙. นพ.วิชัย โสพัศสถิตย ๑๒. นพ.ประเวศ รุงจํารัสโสภา ๑๕. พญ.พิมพชนก ตุยเต็มวงศ ๑๘. พญ.ณัฐวรีย กาญจนอุทัย ๒๑. พญ.นิธิอาภา บํารุงศรี ๒๔. พญ.พิชญธินันท จิรัชยโชติ ๒๗. นพ.กิตติพงศ สุขุม ๓๐. นพ.นิธิภัทร กตัญูกุล ๓๓. นพ.วิจักษณ กาญจนอุทัย ๓๖. พญ.ทยานันท อรรถเวชกุล ๓๙. พญ.ยอดมณี ศิริเชี่ยวขจร ๔๒. พญ.จิตตศจี สิชฌนุกฤษฏ

๒. นพ.นราวิชญ จันทวรรณ ๕. พญ.วิศณีย ทองลิมป ๘. นพ.ธราธร หรายเจริญ

๓. พญ.จันทิรา แกวสัมฤทธิ์ ๖. นพ.ชญานิน ทัปนวัชร ๙. นพ.ศิรสิทธิ์ สถิรเจริญกุล

ภาควิชาอายุรศาสตร ๑. พญ.ศศิธร พินิจผล ๔. พญ.ปยาภรณ เลาหอุทัยวัฒนา ๗. พญ.ศรีเพชรรัตน เมฆวิวัฒนาวงศ ๑๐. นพ.ศรัณย เดชประภัสสร ๑๓. นพ.อดิชาญ เชื้อจินดา ๑๖. พญ.เกษีณี ลี่ดํารงวัฒนากุล ๑๙. พญ.ชวฎา ปยะบุญญานนท ๒๒. พญ.ประภัสสร เลิศจินดารัศมี ๒๕. พญ.รติกร สุนทรารัตนพงษ ๒๘. พญ.ศิฏฆะรินทร ฤทธิศิรินทร ๓๑. นพ.ภากร อรัญเชาวนชยั ๓๔. นพ.วิทยา ศิริชีพชัยยันต ๓๗. นพ.พันเลิศ ตันยากุล ๔๐. พญ.อัจฉรา อัศวพัฒน

ภาควิชาเวชศาสตรฉุกเฉิน ๑. พญ.เกศินี แซเฮง ๔. นพ.นิคม พันธพฤกษา ๗. นพ.ธนา ขํายัง ๑๐. นพ.ณัฐวุฒิ เฉลิมวณิชยกุล

๑๒๖

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

ภาควิชาจักษุวิทยา ๑. พญ.สุนทราภรณ ฐิตสมานนท ๔. พญ.ศรีตุลย บัณฑิตอาภรณ ๗. พญ.ชนิกานต ภัทราดูลย

๒. พญ.กอบเกื้อ เลาหพจนารถ ๕. พญ.สกาย บูรพาเดชะ ๘. นพ.ธันยฉัตร เจียรมณีโชติชัย

๓. พญ.สาธิตา วรสุวรรณรักษ ๖. พญ.ดวงพร อารยะพงษ ๙. พญ.พูลทิพย เจริญผล

๒. พญ.สิริรัตน ลิมกุล ๕. พญ.อุบลวรรณ เธียรโพธิภ์ ิรักษ

๓. พญ.ณัฏฐิกา ยุระเกตุ ๖. พญ.ศรัญญา หาญรุงโรจน

๒. นพ.กัลย ลิมกุล ๕. นพ.วิชัย พงศพฤฒิพันธ ๘. นพ.บัญชา จันทรสองสุข ๑๑. นพ.พัฒนพงษ สุวรรณโกมลกุล ๑๔. พญ.ธัญธีรา ธูปตากอง

๓. นพ.ปรีชา บรรจงเจริญเลิศ ๖. นพ.อรรถพร ปยะภาณี ๙. นพ.สถาพร เหลืองอราม ๑๒. นพ.นันทวัฒน รักษมณี ๑๕. พญ.ศวัลย เอี่ยมเมธาวี

๒. นพ.ประเสริฐ วองชูวงค ๕. นพ.ธนนันท วัฒนไพบูลยกุล

๓. พญ.พรรณทิพา สมุทรสาคร

ภาควิชาวิสัญญีวิทยา ๑. พญ.บุษราภรณ คันธกุลดุษฎี ๔. พญ.อัจฉรา ศรีมิตรรุงโรจน

ภาควิชาออรโธปดิกส ๑. นพ.พัฒนพงษ สุวรรณโกมล ๔. นพ.มนตรี วัฒนาแกวศรีเพ็ชร ๗. นพ.อรรถพล วันดี ๑๐. นพ.ธนเนตร ศศิวงศภักดี ๑๓. นพ.ปรเมษฐ ชัยวิรัตนะ ๑๖. นพ.สิทธิชัย เหลืองกิตติกอง

ภาควิชาโสต ศอ นาสิก วิทยา ๑. พญ.วีรยา สุรารักษ ๔. พญ.อภิชญา ทีฆอริยภาคย นักเวชศาสตรการสื่อความหมาย ๑. น.ส.สุพิชฌาย รอดจันทร

ภาควิชาเวชศาสตรครอบครัวและเวชศาสตรชุมชน ๑. พญ.แสงเดือน แสงสระศรี ๔. พญ.ธนพร จิระวิชชเลิศ

๒. นพ.ประเสริฐ ประกายรุงทอง

พยาบาลวิชาชีพ ๑. นางธีรนุช ชละเอม

๑๒๗

๓. นพ.จีระศักดิ์ ศรีเจริญ

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

ภาควิชาเวชศาสตรฟนฟู ๑. พญ.ปรียานุช อันอดิเรกกุล

๒. พญ.นันทนีย หวังธีระนนท

๓. พญ.โสภา โกศลสัมพันธ

นักกายภาพบําบัด ๑. น.ส.ณิชชาภัทร วิบูลยเกียรติ ๔. นางศุกรใจ วุฒิกิจโกศล

๒. น.ส.รุงเพชร แสงจันทร

๓. นางหทัยรัตน กรงไกร

๑๒๘

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

ผูอํานวยการโรงพยาบาลกําแพงเพชร

นายแพทยสุรชัย แกวหิรัญ

๑๒๙

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

ผูอํานวยการศูนยแพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลกําแพงเพชร

แพทยหญิงชินานาฏ พวงสายใจ

๑๓๐

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

คณาจารยแพทยประจําภาควิชา ศูนยแพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลกําแพงเพชร ภาควิชากุมารเวชศาสตร ๑. พญ.อังคณา อุปพงษ ๔. พญ.มัลลิกา ฤทธิ์ทอง ๗. พญ.อรวรีย สุขโกษา

๒. พญ.จารุพรรณ ตนอารีย ๕. พญ.พรโสภิต นวลสารี

๓. พญ.จินตนา พิมเสน ๖. พญ.ศณิตา ศรุติสุต

๒. นพ.ประวิช มงคลธร ๕. นพ.ปุลวิชช ผูภ ัคดี ๘. พญ.วนิดา บูรณะชนอาภา ๑๑. กรวิชญ วังศิริกุล

๓. นพ.อัครพงษ จุธากรณ ๖. นพ.ศตวรรษ สิงหสม ๙. นพ.ภูษิต ศักดิ์บูรณาเพชร

ภาควิชาศัลยศาสตร ๑. นพ.สมเพ็ง โชคเฉลิมวงษ ๔. นพ.วิริยะ กัลปพกษ ๗. นพ.รังสันต ชัยกิจอํานวยโชค ๑๐. นพ.ไตรวิชญ จรุงธนะกิจ

ภาควิชาสูติศาสตร-นรีเวชวิทยา ๑. พญ.วิบูลวรรณ ตัณศลารักษ ๔. พญ.จิตรลดา คําจริง

๒. นพ.ประสิทธิ์ ศุภกิจเจริญ ๓. พญ.ธารทิพย อุทัยพัฒน ๕. พญ.รัฐริญา ปญญาวชีรโสภณ

ภาควิชาอายุรศาสตร ๑. พญ.กชกร สุรางคมณีสิน ๔. นพ.ศักดิ์ชัย แกวนําเจริญ ๗. พญ.กชกร สุรางคมณีสิน ๑๐. พญ.ปยลักษณ วิโรจนสกุล

๒. นพ.สุจิรักษ ศรีบูรพา ๕. นพ.สุรชัย แกวหิรัญ ๘. นพ.กวีวรรษ รันตระกูล ๑๑. นพ.อธิป พุกนัด

๑๓๑

๓. นพ.พงศธร ปฏิเวชวิทูร ๖. นพ.สุจิรักษ ศรีบูรพา ๙. พญ.เชษฐสุดา ลิ้มวัฒนา

นักศึกษาแพทยศาสตร รุนที่ ๑ แสน แสงประทีปทอง ณัฐวดี มาลีรัตน

เบญญา แกวจรัส

ศิรดา ผดุงทรง

เกวลี ศรีวรกุล ศรัณยรัชฎ ไชยชุมศักดิ์

นัสวิน กัจฉมาภรณ

ทวีพร เทรูยา

สิรินดา ลีลาอุดมลิป วรพรรณ ธีระตระกูลชัย ปาณัสม โชติสุต

วรวีร วรกวี

อิทธิพงศ พิสิฐเวช

ธัญกมล พลเดช

วิรชา ลีวรรณนภาใส ปวเรศ ลาภจิตรกุศล ปริรัตน ภพลือชัย

จิรัชยา เจนใจ

พรทิพย ภูตินาถ

คตชาติ สันติกุล

ภามน ลีลเศรษฐพร ปาลิดา ศรีสวาง

ณัฐภัทร วรรักษา

เปรม สุรัตน

รัตนาภรณ เฮงวัฒนากุล มานิตา จุติวิบูลยสุข พงศธร ถวัลยธนากร อังคณา จิรเรืองตระกูล พชรอร ดัสดี

บัณฑิต งามนุสนธิ์กิจ พงศพล สําอางคอินทร

จิรณัฐ บุษหมั่น

ทรงโปรด ทองเรือง

จิตรา ปาวา

ชลวัฒน ทองไทยสิน

ปฐวีร บําเพ็ญบุญ ปณณธร มันตาวิจักษณ กันตกมล ภัสสรานนท

พิมพ ใจ คงเจริญสมบัติ ปภิชญา พิเชียรโสภณ ปนัดดา กนกนภากุล กชมน หงนิพนธ เรืองรอง ภาษยะวรรณ

นภสร ชูแสง

อรรถกร เฟองทอง

อรวรรณ ใจเย็น

รัชนันท วัฒนสานติ์

นักศึกษาแพทยศาสตร รุนที่ ๒ ปริย ตะวิชัย

เอกณัฐ ตรีทิพยรักษ

สิรินทรา เพคยางกูร มิ่งขวัญเงิน สําราญสุข สมฤดี นันทะจารุโภ

ปริญ นรวรชินกิจ

กานติมา ทันธิมา ธนัยภรณ ลิ้มสายพรหม

ฐนภัทร บุญบํารุงชัย ปาณัสม ธารไพศาลสมุทร ศุภกานต เทพสุวรรณ

คัทลียา จิรวิมุต

ปภาวรินท สมานคติวัฒน อิสริยา สัมภวะผล เภาลีนา คูวิสิษฐ โสภิต ณัฐพงศ ทะประสพ ณัฐนันท กรีพานิช อรรถสิทธิ์ ปาณปุณณัง

อรรถวุฒิ์ ชีวไมตรีวงศ สิทธิภา เขมะนันทกุล ปณภัทร สงสุขถวัลย วงศธร พงศประภากร

ยศบดินทร ศรีทับทิม

พิชญา ชาตินันท

อรณัฐ ธเนศธนสมบัติ กวินทิพย ทิพยพิมานชัย พิชัยยุทธ โตวรกุล รสกมล กระจางวงศชัย สุภเวช อารีอาสนธรรม หทัยชนก วิริยะโรจน

กิตติ์ พงศพัชราพันธ

ณัฐนิชา รัชธร

ธฤต ลี

ภัทรพร ทรัพย ไพศาล

ลลินท วิภาตวิทย

รัชนก เหรียญรักวงศ ภัทรวรรณ วรรณสาธพ วิญาดา ตามประทีป

ศิวกร กีรตวนิชเสถียร เพ็ญพิชชา นวอิสรารักษ รัชนิกร บุตรรัตนะ

ยศวัฒน วองไวเมธี

วชิรภัทร สุภานันท

นรมน รุงนิรันดรพร

นักศึกษาแพทยศาสตร รุนที่ ๓ ศุภชาดา จันทรเจาฉาย

ธนกร ธนะไพรินทร

พัชรพล เจียมอนุกูลกิจ

ทศพล เจียมอนุกูลกิจ

จิรัฏฐ รัตนเสรีเกียรติ

ศุจีภรณ ศรีประดิษฐ

ฉันทชนิต พฤกษเศรษฐ

ณัฐรดี อาจรักษา

กรรณ ดานวิบูลย

จิรายุส วิสุทธิกุล

จิรายุ เศวตไกรพ

วิจิตตราภรณ สุขเจริญ

รตรัฐ เขงคุม

ทรงสิทธิ์ รัศมีรัถยาธรรม

อภิชญา วัฒนปรีชานนท ปฏิพล ตั้งบํารุงกุล

เต็มฟา ศรีประเสริฐ ชุตินันท แสงกาญจนวนิช

โสภณวิชญ มะระพฤกษวรรณ ภาคยพงศ ศักดิ์เรืองงาม

พิชยา เสือสกุล

มุกตาภา สนธิอัชชรา

กมลชนก สายใจ

ปริยานุช เมธชนัน

โสภณัฏฐ มีโส

ชัชพิสิฐ เพ็ชรเจริญ

วริศ นอยเจริญ

กชพร ไวทยกุล

สุขจิกา คงจอย

จิดาภา ภูพงศเพ็ชร

พงศธร ทองเขียว

สิรดนัย ทองกรณ

พงษพัชร จิวสืบพงษ

อัครพงษ โชตเศรษฐ

สิริภัสร เจียรศิริกุล เฟองพงศ อรุณโรจนปญญา แอนดี้ บริพัฒน ปตตพงศ พิชชากร ตั้งอารมณสุข

นักศึกษาแพทยศาสตร รุนที่ ๔ ณัฐวรรณดี เดชขํา

พิชุตม เตือนจิตต

พชร คํามี

ธนพร บริการพานิชไพศาล พิชามญชุ ศิริเจริญแสง

พชรวรรณ อนันตหิรัญรัตน อรุณโรจน เลาหวิโรจน วีระเทพ งามนุสนธิ์กิจ ชยพล สุขทิพยาโรจน

ศุภาพิชญ เดชกุล พัทธธีรา ประสมบูรณ

นิติธร ไชยนาม

ณภัทร เผาพันธดี

เปมิกา จิตรโชติ ปราณปรียา กิตติรัตนชัยกุล ภัคจิรา ชูเกียรติวัฒนา

มยุเรศ กิริวรรณา ชญาณณิณท ศิริโชควากรณ ณัฐดิษฐ เจียรจิตเลิศ

ณัฐชนน คําอิ่ม

ชนิสรา ศิริใจชิงกุล

ธันพิวา จิตใจฉํ่า

ปรัชญชวนี นุชประมูล ศุภณัฐ งามเสงี่ยม

สาธิตา กนกานนท ไชยวัฒน วงษทรัพยทวี สุชาดา กองกุสุมาลย รัชนาท แกวอนันต

ธนภูมิ เนตรหาญ สุประวีณ ศิริวงศนภา

ธีรภัทร มาลัย

ธนัชพร แจงสุทธิวรวัฒน

นราธิป เลิศการวิจัย ติโรธ ธิติปญญาวงศ

อรชิสา อิทธิชูโชติ ชนิกานต บุญอรามพงษ

นวพร หนวิชิต ณัฏฐารมย จิรบวรนันท รดา สุนทรวิภาต

กชมล ฐิติชัยมงคล

ชอผกา รัตนา

ปรายฝน เศรษฐเสถียร

นับดาว กันกา

วรัทยา วิสุทธิกุล

นักศึกษาแพทยศาสตร รุนที่ ๕ ธนพร วิชิตจิตรกุล อนัญญา ทองนอย

ณภัทร ตั้งอยูสุข

ปราณปญญ ศาสตรสิงห พรรษกรศมณ โตศุภฤกษมงคล ญาณิศา กาญจนะคช

กัญญาพัชร หมื่นโฮง สุชนา ดุสิตนานนท อัยลดา เตชะวัฒนาธร จิตรลดา ชินสรนันท ณที่รัก หริณวรรณ

กัญญาณัฐ พลประถม อธิพัฒน วัฒนศิลป

กณิศา ภาณุวรรณากร พีระพงศ ขจรศักดิ์วรกุล

ผกามาศ มาตรา

ธนกร วัฒนวิเชียร จุฑามาศ สุดแสนยา ชัญญา เจริญยิ่งไพศาล จิรฐา พรหมอินทร

กชพร แซ โงว

ชนิตา อําไพชัยโชค เกศรินทร หงษบิน

รมิดา อภิภูวกุลธร

ญาตาวี กาญจนะคช ณัฐวดี เรียงอิศราง ธีรพงษ เศรษฐการ ธัญกานต พนาพุฒิ สุนิดา อิทธิอนนันตเกษม

วริยา กนิษฐานนท ภัทรชนน จันทรวรชัยกุล ปาลิตา ศรีสุข

วรัญญา คุมภาคสกุล

จันธิดา กลวยจํานงค ศุภกิจ โรจนประสิทธิ์พร

ฐิตาภา รองมี

ลักขิกา ชูสง

ฉัตรา วงษจริต กันตพัฒน ศรีละวรรณโณธาตา ภัชรพล กิตติบัญชากุล ณัฐรดา สกุลธนะศักดิ์ ธนัยชนก หอมศักดิ์มงคล

ธนากร โชคพิพัฒนพร ธเนศพล หวังคุณธรรม ณัฎฐินี หวังคุณธรรม

วรวัชร พานิชผล

ศวิตา ฐิศุภกร

นักศึกษาแพทยศาสตร รุนที่ ๖ ภาณุวัฒน ดวงชะเอม อุทัยวิทย พฤทธิพันธุ รัฐวุฒิ ไอศูรยพิศาลศิริ สิริยากร สันติกชกร พัชรวรัญ ญาณวัฒนานพกุล กฤติน เดี่ยวตระกูลชัย

ญาณิศา ใหมตา

รามิล สมิทธ คีรี

พรพิชชา สุมิตไพบูลย

ณิชาภัทร จันทรสงวน

ชยุต ทะระพงษ

วชิริศรา สุวรรณวงศ ณัฐณิฐณาฏ สิทธาภิรมย ภูษณิศา บุรีรัตน

อาภากร อัญภัทรพงศ

ยุทธบูลย ดีพิชิต

วิทยชัย แดนสีแกว

จารุวิทย ลิ้มเส็ง

รัญชนาธ ศรีพล

ศรัณย วิรัตนเศรษฐสิน

อริสา พิทยชัยกุล

กัลยา ใจกวาง ณัฐหทัย เหลาวิทยานุรักษ พิชญา สรรพศรี

นรบดินทร สกลนภา อภินัทธ ยอดประสิทธิ์ ชยานันต สุวจิตตานนท เกียรติกุล สิงหชา

พงศเทพ อรรถสกุลชัย

สิรวิชญ หรดี

ณัฏฐ คูสุวรรณ

ธวัลรัตน ตวงวิทยสุธี

รสิตา วรรณากุลพงษ

สหพชร เชื้อสีดา

พัทธมน เภตรากาศ

จิรภัทร ตนชนะชัย

กัญญภัส เพ็งหนู พิมพลภัส ทองแกวเกิด

สัณหวัช มณีเขียว

วรโชติ งามรูป

ณิชมน สมคิดเลิศ ชรินรัตน จึงเจริญพาณิชย ณฐพร หงษตระกูล สโรชินี บุหงามงคล

ปภังกร อัศดรศักดิ์ เกียรติศักดิ์ ลักษณะงาม ณัฐกานต เบาสูงเนิน

นักศึกษาแพทยศาสตร รุนที่ ๗ วิศวชิต ซิงห

ภัคธีมา ศุภทีปมงคล

ไกรสร นุรักรัมย

ธเนศ สิมมา

ชนก วราพร

จิณณพัต หอมฉุน

สิริกานต บุพศิริ

อิงอร กองเงิน

ชนาธิป เภาเจริญ

อภิรวิภา อุนออน

นวคุณ ขุนพาสน

ศศิวิมล ตอนอย

ชัญญาณัฐ เตชะวิบูลยศักดิ์

นับทอง กันกา

ปญจรัตน ภัทรธนไพบูลย

รัญชนา ตันตาปกุล

ศุภนภัทร คุณรัชหิรัญ

ธาดา เอี่ยมจตุรภัทร

ลลิตภัทร ขาวละเอียด

นิภาพร ถิ่นวัดกลาง

ชิรญาณ กันโต

ภริตา พลซื่อ

ภวิตรา พรหมมะ

ชวาลิณี ระฤทธิ์

พิชญสินี เฟองจิตต อัสมีน ถิ่นเกาะแกว

ฐานิดา ธนากร

จตุรวิทย จันทะบุตร

ธัญชนก ปลื้มสุทธิ์

รวิวร สีหะวงษ

ธนภัทร พรรักษา

สิรภพ ปาลานุสรณ

มนรดา จงจิตรไพศาล

พิชชาภา ทองคง

กานต ศรีวัฒนา

ณัฏฐิมา มีโส

กิตติพัฒ เกาเอี้ยน

เวท วงศ ไกรเวท

เพชรลดา มรกตศรีวรรณ นพนนท หาชัยภูมิ

ปริณาห อาสนศักดิ์ อรพร ธรรมธาดาวิวัฒน

วลัยพร ธนกิจชัชวาล กิรณา นิลพงษบวร กันตพัฒน ศิวะพรพันธ ปยะฉัตร จันทรทวีทิพย

วันเฉลิม ทรัพยประสม ปณยาพัชร รักษเมือง ภวิศ ศุภทีปมงคล

ภัทรธร ประสาระเอ

นักศึกษาแพทยศาสตร รุนที่ ๘ ณหทัย ศรีสุวรรณ กวินนาถ ธนากิจบริสุทธิ์ อนันยา พิชิตนิติกร

กสินธุ สินธุเจริญ ธนกร ธรรมกรสุขศิริ อัฑฒณัฐ ตั้งตอวงศสกุล

ระพี รัตนรวีวงศ ลภัสรดา รัตนานุวัติ

พิมพมาดา บูรพานนท พิมพาขวัญ เดชศรี

วัฒนพล ศิริรัตนาวราคุณ อรจิรา ชนะศรีโยธิน ชณกันต อุทัยพิบูลย

พรธีรา พงษสุทธิรักษ พิชชาพร วงศมีฤทธิ์ ชฎิลดา เกียรติวนากร

ศิรประภา ตั้งอยูดํารงกุล ณัฐกิตติ์ ชนะสุมน วสมน ธีรรัชตกาญจน

นภัสวรรณ แกวอุบล พรปวีณ ฐิติรุงเรือง

ธรรมธัช นามไธสง ปริวัชร กิจพอคา

กีรเกียรติ ชูบัณฑิตกุล วิชญพล พรหมแกว

สุพิชญาณีต พงษพิเดช สักการ พรรณสันฐาน กานตา เชี่ยวชาญเวช

ภูมินทร กอมณี ภูริภัทร อเนกธนานนท ภูวสิษฎ ศีลประชาวงศ

ณัทฐพงค ชยณัฐพงศ ธนพุฒ สุรวัฒนวิเศษภา

มัชฌิมาพร ชาตกิตติคุณวงศ นินาดา สารีคํา

ปณิดา แสงกระจาง ศิริประภา ศรีตะบุตร บุญพร ธรรมธาดาวิวัฒน

สิริทรัพย อโณทัยนาท อรนลิน จันทรนอย

สุวิชญาดา ศรศักดา พรหทัย กมลสุธีชัย นวภัทร อัครวิพุธ

อารียา โทช สุชัญญา วงศาเสถียร

ชินธันย ไชยศิริ ตนไผ พงคพนาไกร

นักศึกษาแพทยศาสตร รุนที่ ๙

ณัฐกานต ตรีศักดิ์ศรีสกุล ภาคภูมิ พงษมะลิวัลย กฤติกา สาริกะวณิช

สุวรรณา เรืองถาวรกุล กษิดิ์เดช กาญจนะ ชญาภา อุปพงษ

บุญสิตา กรรณิการ วรินทร เลิศธรรมธีรกุล

ปริชญา สุทธิธรรมานันต ชลธิภา นียากร

ณรันยา โกยสมบูรณ อัษฎางค บุญพร

พงศพิชญ ตรีโกศล สมเกียรติ สาระชาติ

ชยุดา ตั้งศรีพงษกุล พรมงคล รัตนศรัณย

กมลทิพย ตรีสุคนธ โสมสิริ อยูสุข สุภัสสรา โคตุระพันธ

ณัทพงศ เอี่ยมสินวรกุล ชนาธิป ซิงห วริทธิ์พล เจริญยิ่งไพศาล

ธีรนันท ปนทอง

นับทอง ธีระกุล กษิดิศ สโรชวิกสิต จิรัชญา บุญเนาว

ณัฐวรรณ อมตทวีวัฒน กุลภัช เดชเสงชูโรจน คุมพงศ ไตรแสงรุจิระ

ธนพร ชมภู ภาสกร สุนทรธรรม พิชญา ศุภวาทิน

ธีรดนย ตรีเงิน ธนกฤต ศรีสุขมั่งมี

พศุตม ธานินพิทักษ พีรวิชญ อิงพงษพันธ

เมธาวี สถิรเมธากร พัทธธีรา คงฤทธิ์ อภิชญา เวฬุวนารักษ

ทักษพร เอี่ียมอุดมสุข กรองจิตต สิทธิกิจโยธิน

ภูริณัฐ เจริญสมบัติ เอกภูมินทร ประดิษฐสุวรรณ นวิทธิ เสนาหาญ

พัชรา พลสงคราม โยษิตา นิรัติศยางกูร

รัชชานนท จันทรเปรมปรี สามินี มีผิวหอม

นักศึกษาแพทยศาสตร รุนที่ ๑o วรางคณา วินัยชาติศักดิ์ ณัฐวดี ธัมปสาโท พิชชากร เจริญยงอยู

นิรมล แซหลี ณัชนนท พัฒนสิริกุล ชินพัฒน กุดจอมศรี

ณัฏฐณิชา กุดจอมศรี วชิรสา สุวรรณรักษา ทิพยธิดา สลักหลาย

ธนภร รุงโรจน ชุติสรา ตันติพิวัฒนสกุล

ภูรินท จินดาพรพิทักษ ปุณยวีร เรืองวิสุทธิ์

พุฑฒิพล เจียมอนุกูลกิจ กิตติพัทธ ประสิทธิเวขชากูร ชนวีร สุรชาตรี

นันทนภัส สุขพันธ ศุภกานต อมรรัตนโกศล หทัยรัตน จันทรเล็ก

กัญญาพัชร ชัยวงค ปริชญ สุทธิพงษ เปมิกา สัณฐิติเมธา

พศวีร ชนะศึก ณัฐวุฒิ ศรีใหม

นพวิชญ เปรื่องประสพ พิชามญชุ ศิริชีพชัยยันต

ภควัฒน โยธาจุล พชรกฤษฎิ์ สองทวี กะรัต ธนะบุญกอง

สุพิชชา สงวนเผา วริมน เจริญยิ่งไพศาล นฤพร เตียตระกูล

กรมธร เลิศตระกูล สุวิทย วิจิตรสวางวงศ

สุวิจักขณ อื้อศรีวงศ ภากร ศรีประทาย

ภสวรรณ บุญยะรัตน ภูรินทร ตั้งพัฒนารุงเรือง อารดา วีระเศรษฐกุล

วงศธร กียะวัฒน พีรวิชญ ชูอองสกุล ณภัทร พลานุสิตเทพา

พิชญาภา ลียะวณิช ธนพร โรจนะสิริ สุธีรา ไชยมงคล

พชรภูมิ สมารังคสุต กฤษฎิ์ กาญจนบัตร ศิรดา เกียรติสารสกุล

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

การประชุมครั้งสําคัญตาง ๆ อันนําไปสูกิจกรรมการเรียนการสอน บรรยากาศ สถานที่เรียน ชั้นปรีคลินิก คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

๑๕๘

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

ปฐมนิเทศนักศึกษาแพทย ชั้นปที่ ๑

๑๕๙

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

ปฐมนิเทศนักศึกษาแพทย ชั้นปที่ ๒

๑๖๐

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

กิจกรรมรับนอง ชั้นปที่ ๑

๑๖๑

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

กิจกรรม ประกาศพี่รหัส

๑๖๒

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

๑๖๓

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

๑๖๔

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

พิธีไหวครู

๑๖๕

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

พิธีไหวครู

๑๖๖

พิธีไหวครู

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

๑๖๗

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

๑๖๘

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

๑๖๙

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

๑๗๐

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

๑๗๑

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

๑๗๒

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

นศพ. พบอาจารยที่ปรึกษา

๑๗๓

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

การแขงขันตอบปญหาชีววิทยา ทางการแพทย ในรูปแบบออนไลน

๑๗๔

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

กิจกรรมสยามนิทัศน

๑๗๕

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

๑๗๖

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

๑๗๗

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

๑๗๘

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

๑๗๙

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

๑๘๐

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

๑๘๑

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

๑๘๒

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

กิจกรรมการเรียนการสอน บรรยากาศ สถานที่เรียน ชั้นคลินิก คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

๑๘๓

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

๑๘๔

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

๑๘๕

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

๑๘๖

๑๒ ปี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

รายนามคณะอนุกรรมการจัดทําหนังสืออนุสรณ ครบรอบ ๑๒ ป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

๑. รองศาสตราจารย (พิเศษ) นายแพทยเอกชัย โควาวิสารัช

ประธานอนุกรรมการ

๒. รองศาสตราจารย นายแพทยวิบูลย

ฤทธิทิศ

รองประธานอนุกรรมการ

๓. อาจารย ดร.ณัฏฐพล

ศุภกมลเสนีย

อนุกรรมการ

๔. อาจารย ดร.สรัญญา

ศิริบาล

อนุกรรมการ

๕. อาจารย ดร.ธิดารัตน

เนติกุล

อนุกรรมการ

๖. อาจารยอมรรัตน

ยืนยงวัฒนกุล

อนุกรรมการ

๗. นายกฤตเมธ

สุธรรมวุฒินันท

อนุกรรมการ

๘. นายวรวัฒน

ภูจอมแกว

อนุกรรมการ

๙. นางสาวฐิตาภา

กุลสุทธิสิทธิ์

อนุกรรมการ

๑๐. อาจารย ดร.เจนวิทย

นพวรท

อนุกรรมการและเลขานุการ

๑๑. นางสาวสุภาภรณ

ชูชวย

อนุกรรมการและผูชวยเลขานุการ

๑๘๗

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.