กฎหมาย ฟีนิกซ์ Flipbook PDF


70 downloads 122 Views 7MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

หนังสือเรียน รายวิชาเลือก สาระการพัฒนาสังคม

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ รหัสวิชา สค0200038 จ�ำนวน 2 หน่วยกิต หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

ระดับ ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย

สงวนลิขสิทธิ์โดย

เรียบเรียงโดย

ปาจรีย์ ปาปะกัง

บริษัท ฟีนิกซ์อินเตอร์ซัพพลาย จ�ำกัด

หนังสือเรียน รายวิชาเลือก สาระการพัฒนาสังคม

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ รหัสวิชา สค0200038 จ�ำนวน 2 หน่วยกิต ระดับ ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

ลิขสิทธิ์เป็นของ บริษัท ฟีนิกซ์อินเตอร์ซัพพลาย จ�ำกัด พิมพ์ครั้งที่ 1 จ�ำนวน 3,000 เล่ม ปีที่พิมพ์ พ.ศ. 2565 สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ จัดจ�ำหน่ายโดย

บริษัท ฟีนิกซ์อินเตอร์ซัพพลาย จ�ำกัด เลขที่ 62 ตรอกศรีรับสุข แขวงตลาดบางเขน เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210 โทร : 093-3249111

คำนำ ในปั จ จุ บัน โลกของเทคโนโลยี แ ละการสื่ อ สารบนโลกออนไลน์ มี บ ทบาทและความส าคั ญ ในชีวิตประจาวัน ผูเ้ รียนควรมีความรู ค้ วามเข้าใจที่เพื่อนาเทคโนโลยีไปใช้ในทางถูกต้อง และเหมาะสม เพื่อใช้ให้เกิดประโยชน์สงู สุด หนังสือเรียนรายวิชา สค0200038 กฎหมายที่ควรรูค้ ่โู ลกออนไลน์ จัดทาขึน้ เพื่อให้ความรูเ้ กี่ยวกับ กฎหมายที่เ กี่ ยวข้องกับโลกออนไลน์ ซึ่ง จะทาให้ผู้เรียนได้มีความรู ค้ วามเข้าใจที่ถูกต้องในการใช้งาน สื่อสังคมออนไลน์อย่างถูกกฎหมาย หนังสือเรียนนีป้ ระกอบด้วย 3 บท ได้แก่ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ ลิขสิทธิ์ ในโลกออนไลน์ท่คี วรรู ้ และการหมิ่นประมาทในโลกออนไลน์ และหวัง เป็ น อย่ า งยิ่ ง ว่ า หนัง สื อ เรี ย นรายวิ ช า สค0200038 กฎหมายที่ ค วรรู ้คู่โ ลกออนไลน์ จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อผูเ้ รียน และสามารถนาไปใช้ได้อย่างเหมาะสม บริษัท ฟิ นิกส์อินเตอร์ซพั พลาย จากัด

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038



สารบัญ

หน้า

คำนำ



สำรบัญ



คำอธิบำยรำยวิชำ สค0200038 กฎหมำยที่ควรรูค้ ่โู ลกออนไลน์



รำยละเอียดคำอธิบำยรำยวิชำ สค0200038 กฎหมำยที่ควรรูค้ ่โู ลกออนไลน์



คำแนะนำกำรใช้หนังสือเรียนรำยวิชำ สค0200038 กฎหมำยที่ควรรูค้ ่โู ลกออนไลน์



โครงสร้ำงรำยวิชำ สค0200038 กฎหมำยที่ควรรูค้ ่โู ลกออนไลน์



แบบทดสอบก่อนเรียน



บทที่ 1 พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์

1

เรื่องที่ 1 ข้อควรรู ้ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์

1

- ควำมหมำยของ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ - ควำมสำคัญของ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ . สำระสำคัญของ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ เรื่องที่ 2 กำรกระทำควำมผิดเกี่ยวกับ พ.ร.บ คอมพิวเตอร์ และโทษที่ได้รบั

1 1 1 3

เรื่องที่ 3 ภัยคุกคำมทำงโลกออนไลน์

8

เรื่องที่ 4 กรณีศกึ ษำ : กำรทำผิดกฎหมำยคอมพิวเตอร์ ตำม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์

16

แบบฝึ กหัดท้ำยบทที่ 1

18

บทที่ 2 ลิขสิทธิ์ในโลกออนไลน์ทคี่ วรรู้ เรื่องที่ 1 ลิขสิทธิแ์ ละเรื่องที่ควรรู ้

22

- ควำมหมำยของลิขสิทธิ์

22

22

- กำรได้มำซึ่งลิขสิทธิ์

22

- หลักเกณฑ์ในกำรพิจำรณำงำนลิขสิทธิ์

22

- งำนอันมีลิขสิทธิ์และไม่มีลิขสิทธิ์

23

- ประเภทของงำนอันมีลิขสิทธิ์

23 รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038



หน้า - ผูถ้ ือครองลิขสิทธิ์

24

- กำรคุม้ ครองลิขสิทธิ์และอำยุกำรคุม้ ครองลิขสิทธิ์

24 25 26

เรื่องที่ 2 ประโยชน์ของลิขสิทธิ์ เรื่องที่ 3 ขัน้ ตอนกำรแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ เรื่องที่ 4 ประเภทของกำรละเมิดลิขสิทธิ์ - กำรละเมิดลิขสิทธิ์โดยตรง - กำรละเมิดลิขสิทธิ์โดยอ้อม เรื่องที่ 5 บทกำหนดโทษจำกกำรละเมิดลิขสิทธิ์

28 28 28 29

เรื่องที่ 6 ข้อควรรูห้ ำกโดนละเมิดลิขสิทธิ์

30

เรื่องที่ 7 กรณีศกึ ษำ : กำรละเมิดลิขสิทธิ์ในโลกออนไลน์

32

แบบฝึ กหัดท้ำยบทที่ 2

35

บทที่ 3 การหมิ่นประมาทในโลกออนไลน์

42

เรื่องที่ 1 ควำมหมำยของกำรหมิ่นประมำท

42

เรื่องที่ 2 พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ และกฎหมำยที่เกี่ยวกับกำรหมิ่นประมำทออนไลน์

43

เรื่องที่ 3 ขัน้ ตอนกำรดำเนินกำรเมื่อถูกกระทำกำรหมิ่นประมำทออนไลน์

45

เรื่องที่ 4 บทลงโทษของกำรหมิ่นประมำทออนไลน์

46

เรื่องที่ 5 กรณีศกึ ษำ : กำรหมิ่นประมำททำงออนไลน์

47

แบบฝึ กหัดท้ำยบทที่ 3

49

แบบทดสอบหลังเรียน

53

ภำคผนวก

57

เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน

71

เฉลยแบบฝึ กหัดท้ำยบท

72

บรรณำนุกรม

79

ที่มำรูปภำพ

83

คำอธิบำยรำยวิชำ สค0200038 กฎหมำยทีค่ วรรู้คู่โลกออนไลน์ จำนวน 2 หน่วยกิต ระดับประถมศึกษำ มัธยมศึกษำตอนต้น และมัธยมศึกษำตอนปลำย มำตรฐำนที่ 5.3 ปฏิบตั ิตนเป็ นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย มีจิตสาธารณะ เพื่อความสงบสุขของสังคม ศึกษำและฝึ กทักษะเกีย่ วกับเรือ่ งดังต่อไปนี้ 1. พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ ข้อควรรู ้ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ การกระทาความผิดเกี่ยวกับ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ และโทษ ที่ได้รบั ภัยคุกคามทางโลกออนไลน์ และกรณีศกึ ษา : การทาผิดกฎหมายตาม พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ 2. ลิขสิทธิ์ในโลกออนไลน์ท่คี วรรู้ ลิขสิทธิ์และเรื่องที่ควรรู ้ ประโยชน์ของลิขสิทธิ์ ขัน้ ตอนการแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ ประเภทของ การละเมิดลิขสิทธิ์ บทกาหนดโทษจากการละเมิดลิขสิทธิ์ ข้อควรรูห้ ากโดนละเมิดลิขสิทธิ์ และกรณีศึกษา : การละเมิดลิขสิทธิ์ในโลกออนไลน์ 3. กำรหมิ่นประมำทในโลกออนไลน์ ความหมายของการหมิ่นประมาท พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวกับการหมิ่นประมาทออนไลน์ ขัน้ ตอนการดาเนินการเมื่อถูก หมิ่นประมาทออนไลน์ บทลงโทษของการหมิ่นประมาท ออนไลน์ กรณีศกึ ษา : การหมิ่นประมาททางออนไลน์ กำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ บรรยายสรุป กาหนดประเด็นศึกษาค้นคว้าร่วมกัน ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง พบกลุ่ม อภิปรายผล การศึ ก ษาค้น คว้า สรุ ป ผลการเรี ย นรู ้ท่ี ไ ด้ร่ ว มกัน ฝึ ก ปฏิ บัติ วิ เ คราะห์ก รณี ศึ ก ษา จัด ท ารายงานผล การวิเคราะห์กรณีศกึ ษาส่งครูผสู้ อน นาเสนอผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา และบันทึกผลการเรียนรูท้ ่ไี ด้ลงใน เอกสารการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง (กรต.) กำรวัดและประเมินผล ประเมินความก้าวหน้าขณะจัดประสบการณ์การเรียนรูด้ ว้ ยวิธีการสังเกต ซักถาม การตอบคาถาม การตรวจรายงานผลการวิ เ คราะห์ก รณี ศึ ก ษา และตรวจเอกสารการเรี ย นรู ้ด้ว ยตนเอง (กรต.) และ ประเมินผลรวมหลังจัดประสบการณ์การเรียนรูเ้ สร็จสิน้ ด้วยวิธีการให้ตอบแบบทดสอบวัดความรู ้

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038



รายละเอียดคาอธิบายรายวิชา สค0200038 กฎหมายทีค่ วรรู้คู่โลกออนไลน์ จานวน 2 หน่วยกิต ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานที่ 5.3 ปฏิบตั ิตนเป็ นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย มีจิตสาธารณะ เพื่อความสงบสุขของสังคม ที่

หัวเรื่อง

1. พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์

ตัวชีว้ ัด 1. บอกความหมาย และ อธิบายความสาคัญของ

เนือ้ หา 1. ข้อควรรู ้ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ 1.1 ความหมายของ พ.ร.บ.

พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ได้ คอมพิวเตอร์ 2. ตระหนักถึงความสาคัญ 1.2 ความสาคัญของ พ.ร.บ. ของ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ ได้

คอมพิวเตอร์ 1.3 สาระสาคัญของ พ.ร.บ.

3. อธิบายสาระสาคัญของ คอมพิวเตอร์ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์แต่ละ ฉบับได้ 4. อธิบายการกระทา ความผิดเกี่ยวกับ พ.ร.บ

2. การกระทาความผิดเกี่ยวกับ พ.ร.บ คอมพิวเตอร์ และโทษที่

คอมพิวเตอร์รูปแบบต่าง ๆ ได้รบั และโทษที่จะได้รบั 5. ตระหนักถึงโทษที่จะ ได้รบั จากการทาผิด เกี่ยวกับ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ 6. สามารถยกตัวอย่างของ 3. ภัยคุกคามทางโลกออนไลน์ ภัยคุกคามทางโลก ออนไลน์ได้ 7. ตระหนักถึงภัยคุกคาม ทางโลกออนไลน์



รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

จานวน (ชั่วโมง) 30

ที่

หัวเรื่อง

ตัวชีว้ ัด

เนือ้ หา

8. วิเคราะห์กรณีศกึ ษา :

4. กรณีศึกษา : การทาผิด

การทาผิดตามกฎหมาย

กฎหมาย ตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์

จานวน (ชั่วโมง)

ตาม พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ ที่กาหนดให้ศกึ ษาได้

2. ลิขสิทธิ์ในโลก ออนไลน์ท่ีควรรู ้

9. ตระหนักถึงผลกระทบ ของการทาผิดกฎหมาย ตาม พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ 1. อธิบายความหมายของ 1. ลิขสิทธิ์และเรื่องที่ควรรู ้ ลิขสิทธิ์ การได้มาซึ่ง 1.1 ความหมายของลิขสิทธิ์ ลิขสิทธิ์ 1.2 การได้มาซึ่งลิขสิทธิ์ หลักเกณฑ์ในการพิจารณา 1.3 หลักเกณฑ์ในการพิจารณา งานลิขสิทธิ์ งานอันมี งานลิขสิทธิ์ ลิขสิทธิแ์ ละไม่มีลิขสิทธิ์ 1.4 งานอันมีลิขสิทธิ์และไม่มี ประเภทของงานอันมี ลิขสิทธิ์ ผูถ้ ือครองลิขสิทธิ์ การคุม้ ครองลิขสิทธิ์

ลิขสิทธิ์ 1.5 ประเภทของงานอันมีลิขสิทธิ์ 1.6 ผูถ้ ือครองลิขสิทธิ์

และอายุของการคุม้ ครอง ลิขสิทธิไ์ ด้

1.7 การคุม้ ครองลิขสิทธิ์และอายุ การคุม้ ครองลิขสิทธิ์

2. บอกประโยชน์ของ ลิขสิทธิไ์ ด้

2. ประโยชน์ของลิขสิทธิ์

3. ตระหนักถึงประโยชน์ ของลิขสิทธิ์ 4. อธิบายขัน้ ตอนการแจ้ง ข้อมูลลิขสิทธิไ์ ด้

3. ขัน้ ตอนการแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์

25

ที่

หัวเรื่อง

ตัวชีว้ ัด

เนือ้ หา

5. บอกความแตกต่างของ 4. ประเภทของการละเมิดลิขสิทธิ์ การละเมิดลิขสิทธิ์โดยตรง 4.1 การละเมิดลิขสิทธิ์โดยตรง และการละเมิดลิขสิทธิ์โดย 4.2 การละเมิดลิขสิทธิโ์ ดยอ้อม

จานวน (ชั่วโมง)

อ้อมได้ 6. บอกบทกาหนดโทษจาก 5. บทกาหนดโทษจากการละเมิด การละเมิดลิขสิทธิไ์ ด้ ลิขสิทธิ์ 7. บอกวิธีการปฏิบตั ิตน 6. ข้อควรรูห้ ากโดนละเมิดลิขสิทธิ์ หากโดนละเมิดลิขสิทธิท์ าง โลกออนไลน์ได้ 8. วิเคราะห์กรณีศึกษา : การละเมิดลิขสิทธิ์ในโลก

7. กรณีศึกษา : การละเมิดลิขสิทธิ์ ในโลกออนไลน์

ออนไลน์ได้

3. การหมิ่นประมาท ในโลกออนไลน์

9. ตระหนักถึงผลกระทบที่ เกิดขึน้ จากการละเมิด ลิขสิทธิ์ในโลกออนไลน์ 1. อธิบายความหมายของ 1. ความหมายของการหมิ่น การหมิ่นประมาทได้

ประมาท

2. อธิบายสาระสาคัญของ 2. พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ และ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์และ

กฎหมายที่เกี่ยวกับการหมิ่น

กฎหมายที่เกี่ยวกับการ

ประมาทออนไลน์

หมิ่นประมาทออนไลน์ได้ 3. ตระหนักถึงความสาคัญ ของ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวกับ การหมิ่นประมาทออนไลน์

25

ที่

หัวเรื่อง

ตัวชีว้ ัด

เนือ้ หา

4. สามารถบอกขัน้ ตอน

3. ขัน้ ตอนการดาเนินการเมื่อถูก

และข้อปฏิบตั ิตนในการ

กระทาการหมิ่นประมาทออนไลน์

ดาเนินการเมื่อถูกหมิ่น ประมาทออนไลน์ได้ 5. วิเคราะห์โทษของการ

4. บทลงโทษของการหมิ่นประมาท

หมิ่นประมาทออนไลน์

ออนไลน์

6. วิเคราะห์กรณีศกึ ษา :

5. กรณีศึกษา : การหมิ่นประมาท ทางออนไลน์

การหมิ่นประมาททางโลก ออนไลน์ท่ีกาหนดให้ 7. ตระหนักถึงผลกระทบที่ เกิดขึน้ จากการฝ่ าฝื น พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ และ กฎหมายที่เกี่ยวกับการ หมิ่นประมาทออนไลน์ได้

จานวน (ชั่วโมง)

คำแนะนำกำรใช้หนังสือเรียน หนังสือเรียนรายวิชา สค0200038 กฎหมายที่ควรรู ค้ ่โู ลกออนไลน์ เป็ นหนังสือเรียนรายวิชาเลือก สาหรับผูเ้ รียนนอกระบบ ผูเ้ รียนควรปฏิบตั ิดงั นี ้ 1. ศึกษาโครงสร้างของรายวิชา สาระสาคัญ ผลการเรียนรู ท้ ่ีคาดหวัง และขอบข่ายเนือ้ หา ของ รายวิชาอย่างละเอียด 2. ศึกษารายละเอียดของเนือ้ หาในบทเรียนอย่างละเอียดและทาแบบฝึ กหัดท้ายบท 3. ท าแบบฝึ ก หัด ท้า ยบทของทุก บทเรี ย น เพื่ อ สรุ ป ความรู ้ค วามเข้า ใจของเนื ้อ หา และน าไป ตรวจสอบกับครูผสู้ อนและเพื่อนที่รว่ มเรียนในรายวิชาเดียวกัน 4. หนังสือเรียนรายวิชา สค0200038 กฎหมายที่ควรรูค้ ่โู ลกออนไลน์ มีทงั้ หมด 3 บท ได้แก่ บทที่ 1 พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ บทที่ 2 ลิขสิทธิ์ในโลกออนไลน์ท่คี วรรู ้ บทที่ 3 การหมิ่นประมาทในโลกออนไลน์



รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

โครงสร้างรายวิชา รายวิชา สค0200038 กฎหมายทีค่ วรรู้คู่โลกออนไลน์ สาระสาคัญ กฎหมายที่ควรรูค้ ่โู ลกออนไลน์ มีความสาคัญต่อการใช้สื่อสังคมออนไลน์ ผลการเรียนรู้ทคี่ าดหวัง 1. มีความรูค้ วามเข้าใจที่ถกู ต้องเกี่ยวกับ พ.ร.บ. 2. ตระหนักถึงภัยคุกคามที่เกิดขึน้ ในโลกออนไลน์ 3. มีความรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายลิขสิทธิ์ออนไลน์ และสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ถกู ต้อง 4. ตระหนักถึงการกระทาความผิดเกี่ยวกับการหมิ่นประมาท 5. วิเคราะห์โทษของการหมิ่นประมาทออนไลน์ได้ ขอบข่ายเนือ้ หา บทที่ 1 พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ บทที่ 2 ลิขสิทธิ์ในโลกออนไลน์ท่คี วรรู ้ บทที่ 3 การหมิ่นประมาทในโลกออนไลน์

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038



แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบก่อนเรียน จงเลือกคำตอบทีถ่ ูกต้องทีส่ ุด 1. พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2560 หมวดที่ 1 ว่าด้วยเรื่องอะไร ก. ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ข. ความผิดเกี่ยวกับพระราชบัญญัติ ค. ความผิดเกี่ยวกับพนักงานราชการ ง. ความผิดเกี่ยวกับการเดินทางทางอากาศ 2. หากซือ้ ของจากเว็บไซต์แล้วได้รบั สินค้าไม่ตรงกับของที่ส่งั และไม่สามารถขอเปลี่ยนสินค้าหรือคืนเงินได้ จะสามารถฟ้องร้องคดีตาม พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์มาตราใด ก. มาตรา 12 ข. มาตรา 13 ค. มาตรา 14 ง. มาตรา 15 3. การกระทาในข้อใดมีความผิดตาม พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ มาตรา 11 ก. ตัดต่อภาพของบุคคลอื่น แล้วโพสต์ในเฟซบุ๊ก ข. ร่วมคอมเมนต์ด่าทอดาราที่เลิกรากันในอินสตาแกรม ค. ส่ง SMS ขายสินค้าไปยังผูอ้ ่นื โดยปกปิ ดแหล่งข้อมูลที่สง่ ข้อความ ง. โพสต์ภาพผูเ้ สียชีวิตแบบไม่ปิดบังใบหน้า ทาให้เกิดความอับอายต่อครอบครัว



รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

4. ลิขสิทธิ์คืออะไร ก. สิทธิในการสร้างสรรค์ผลงาน ข. สิทธิในการสร้างสรรค์ผลงาน ใด ๆ ที่เหมือนกับผูอ้ ่นื ค. สิทธิแต่ผเู้ ดียวที่จะทาการใด ๆ เกี่ยวกับงานที่ผสู้ ร้างสรรค์ได้ทาขึน้ ง. สิทธิแต่ผเู้ ดียวที่จะทาการใด ๆ เกี่ยวกับงานที่ผสู้ ร้างสรรค์ได้คดั ลอกมา 5. โปรแกรมคอมพิวเตอร์จดั อยู่ในงานสร้างสรรค์ประเภทใด ก. ศิลปกรรม ข. ดนตรีกรรม ค. ภาพยนตร์ ง. วรรณกรรม 6. ข้อใดไม่ใช่หลักเกณฑ์ในการพิจารณางานลิขสิทธิ์ ก. เป็ นผลงานที่แสดงออกถึงความคิด ข. เป็ นผลงานที่สร้างสรรค์ขนึ ้ ด้วยตนเอง ค. เป็ นผลงานที่ขดั ต่อศีลธรรมที่ดีงามของสังคม ง. เป็ นผลงานที่มีลกั ษณะเข้าข่ายประเภทงานที่กฎหมายลิขสิทธิ์รบั รอง 7. ผลงานใดไม่ถือว่ำเป็ นงานอันมีลิขสิทธิ์ ก. ภาพยนตร์ ข. เพลงบรรเลง ค. จิตรกรรมฝาผนัง ง. รายงานข่าวประจาวัน

8. ข้อใดเป็ นการหมิ่นประมาท ก. สมใจพูดกับสมพรว่า “สมชายทุจริตรับสินบน” ข. สมใจพูดกับสมชายว่า “เธอทุจริตรับสินบนหรอ” ค. สมใจเห็นพฤติกรรมของสมชายว่า สมชายรับสินบน ง. ไม่มีขอ้ ใดถูก 9. การหมิ่นประมาทในอินเทอร์เน็ตแบบใดมีโทษมากที่สดุ ก. หมิ่นประมาทซึ่งหน้า ข. หมิ่นประมาทด้วยการโฆษณา ค. หมิ่นประมาทด้วยการส่งอีเมล ง. หมิ่นประมาทด้วยข้อความในไลน์ 10. การโพสต์เฟซบุ๊กว่า สมใจเป็ นชูก้ บั สมชาย เป็ นการหมิ่นประมาทหรือไม่ ก. ไม่แน่ใจ เพราะอาจไม่เป็ นเรื่องจริง ข. ไม่เป็ น เพราะเฟซบุ๊กเป็ นพืน้ ที่สว่ นตัว ค. ไม่เป็ น เพราะถือเป็ นเรื่องจริง สามารถกระทาได้ ง. เป็ น เพราะเป็ นการกล่าวหาบุคคล โดยมีบคุ คลที่ 3 ในเฟซบุ๊ก

1 บทที่

พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ บทที่ 1 พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์

เรื่องที่ 1 ข้อควรรู้ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ 1.1 ความหมายของ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ หมายถึง พระราชบัญญัติท่ีว่าด้วยการกระทาผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เพื่อเป็ นการป้องกันและควบคุมการกระทาผิ ด ที่จะเกิดขึน้ ได้จากการใช้คอมพิวเตอร์ในรู ปแบบต่าง ๆ รวมถึ ง การใช้ง านระบบต่ า ง ๆ ที่ ถูก ควบคุม ด้ว ยคอมพิ ว เตอร์ หากผู้ใ ดกระท าความผิ ด ตาม พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ ก็จะต้องได้รบั การลงโทษตามที่ระบุไว้ใน พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ 1.2 ความสาคัญของ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ มีความสาคัญในการช่วยลดการละเมิดสิทธิส่วนบุคคล ลดความเสี่ยงจาก ภัยคุกคามต่าง ๆ ที่เกิดขึน้ ในโลกออนไลน์ ที่จะมีผลกระทบบุคคล ความมั่นคงของรัฐ ความมั่นคงทาง เศรษฐกิจ ความมั่นคงทางทหาร และความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ และมีการกาหนดบทลงโทษหากมี การกระทาความผิด 1.3 สาระสาคัญของ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ท่ีใช้ในปั จจุบัน คือ พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิ ดเกี่ ย วกับ คอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ที่สภานิติบญ ั ญัติแห่งชาติให้ความเห็นชอบเมื่อเดือนธันวาคม เมื่อปี พ.ศ. 2559 ได้ประกาศลงราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2560 และมีผลบังคับใช้ในวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 ในเนือ้ หาของพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับ ที่ 2) พ.ศ. 2560 มีการปรับปรุงเนือ้ หาบางส่วนจาก พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 เช่น มีการนาฐานความผิดที่ใช้กับ เรื่องฉ้อโกงปลอมแปลงทางออนไลน์ ไปใช้กบั การหมิ่นประมาท ซึ่งกฎหมายระบุว่า “ไม่สามารถยอมความได้” จึง มีการนา “ความผิดหมิ่นประมาท” ออกจาก พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ แต่ไปบังคับใช้ดว้ ยประมวลกฎหมาย อาญาแทน เพื่อให้การบัง คับใช้กฎหมายมี ประสิ ทธิภาพมากขึน้ รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

1

การแก้ไขเพิ่มเติมของพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ประกอบไปด้วย 2 หมวด ดังนี ้ หมวด 1 ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ แก้ไขเพิ่มเติมดังนี ้ มาตรา 11 ความผิดฐานส่งสแปมโดยปกปิ ดแหล่งที่มา มาตรา 12 เพิ่มโทษการเจาะระบบ การทาลายระบบที่เกี่ยวกับความมั่นคง มาตรา 14 มุ่ง เอาผิ ดการกระทาต่อทรัพย์สินชัดเจนขึน้ ไม่ ให้ตีความเอาความผิดกับ การหมิ่นประมาท เอาความผิดการนาเข้าข้อมูลเท็จ ที่ อาจจะทาให้เกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของ ประเทศ สาธารณะ และเศรษฐกิจ/ก่อความตื่นตระหนก มาตรา 15 ผูใ้ ห้บริการที่ไม่ลบเนือ้ หาผิดกฎหมาย มาตรา 16 การเผยแพร่ภาพตัดต่อ ภาพผูเ้ สียชีวิต ก็อาจมีความผิดได้ มาตรา 16 16/1 ให้ยดึ และทาลายภาพตัดต่อได้ หมวด 2 พนักงานเจ้าหน้าที่ แก้ไขเพิ่มเติมดังนี ้ มาตรา 18 เพิ่มเติมอานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี ้ (1) มีหนังสือ/เรียกเพื่อให้ถอ้ ยคา/เอกสาร (2) เรียกข้อมูลจราจร (3) สั่งให้สง่ มอบข้อมูลที่อยู่ในครอบครอง (4) ทาสาเนาข้อมูล (5) สั่งให้สง่ มอบข้อมูล/อุปกรณ์ (6) ตรวจสอบ/เข้าถึง (7) ถอดรหัสลับ (8) ยึด/อายัดระบบ มาตรา 20 การ block เว็บไซต์ เพิ่มเติมความผิด ให้ครอบคลุมกรณีต่าง ๆ มากขึน้ เช่น ความผิ ด เกี่ ย วกั บ ทรัพ ย์สิ น ทางปั ญ ญา สิ่ ง ที่ ขั ด ต่ อ ความสงบเรี ย บร้อ ยและศี ล ธรรม มี ก ารแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการกลั่นกรองพิจารณาการปิ ดกัน้ มาตรา 26 หน้าที่ของผู้ให้บริการ เก็บข้อมูลจราจรไม่นอ้ ยกว่า 90 วัน แต่ไม่เกิน 2 ปี เป็ นกรณีพิเศษเฉพาะราย/เฉพาะคราว

2

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

เรื่องที่ 2 การกระทาความผิดเกี่ยวกับ พ.ร.บ คอมพิวเตอร์ และโทษทีไ่ ด้รับ พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 มีการระบุ การกระทาที่เป็ นความผิดเกี่ยวกับ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ และโทษที่ได้รบั ดังนี ้ มาตรา 5 ผูใ้ ดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ท่ีมีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะ และมาตรการนัน้ มิได้มีไว้สาหรับตน มีโทษจาคุกไม่เกิน 6 เดือน ปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ มาตรา 6 ผูใ้ ดล่วงรูม้ าตรการป้องกันการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ท่ีผูอ้ ่ืนจัดทาขึ ้นเป็ นการเฉพาะ ถ้านามาตรการดังกล่าวไปเปิ ดเผยโดยมิชอบในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผูอ้ ่ืน มีโทษจาคุกไม่ เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ มาตรา 7 ผูใ้ ดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ท่ีมีมาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะ และมาตรการนัน้ มิได้มีไว้สาหรับตน มีโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปี ปรับไม่เกิน 40,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ มาตรา 8 ผูใ้ ดกระทาด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดักรับไว้ซ่งึ ข้อมูล คอมพิวเตอร์ของผูอ้ ่ืนที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิ วเตอร์นนั้ มิได้มีไว้เพื่อ ประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้บุคคลทั่วไปใช้ประโยชน์ได้ มีโทษจาคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ มาตรา 9 ผูใ้ ดทาให้เสียหาย ทาลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติม ไม่ว่าทัง้ หมดหรือบางส่วน ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผูอ้ ่ืนโดยมิชอบ มีโทษจาคุกไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ มาตรา 10 ผูใ้ ดกระทาด้วยประการใดโดยมิชอบ เพื่อให้การทางานของระบบคอมพิวเตอร์ของผูอ้ ่ืน ถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทางานตามปกติได้ มีโทษจาคุกไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ มาตารา 11 ผูใ้ ดส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่นโดยปกปิ ด หรือ ปลอมแปลงแหล่งที่มาของการส่งข้อ มูลดังกล่าว อันเป็ นการรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของผูอ้ ่ืนโดย ปกติสขุ มีโทษปรับไม่เกิน 200,000 บาท และผู้ใดส่ง ข้อมูล คอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็ กทรอนิกส์แ ก่บุคคลอื่นอันมี ลักษณะเป็ น การ ก่อให้เกิดความเดือดร้อนราคาญแก่ผรู้ บั ข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิ กส์ โดยไม่เปิ ดโอกาส ให้ผู้รับ สามารถบอกเลิ ก หรื อ แจ้ง ความประสงค์เ พื่ อ ปฏิ เสธการตอบรับ ได้โ ดยง่ า ย มี โ ทษปรับ ไม่ เ กิน 200,000 บาท รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

3

มาตรา 12 - ถ้าการกระทาความผิดตามมาตรา 5 มาตรา 6 มาตรา 7 มาตรา 8 หรือมาตรา 11 เป็ น การกระทาต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ท่ี เกี่ ยวกับการรักษาความมั่นคงปลอดภัย ของ ประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือโครงสร้างพืน้ ฐานอันเป็ น ประโยชน์สาธารณะ มีโทษจาคุกตัง้ แต่ 1 ปี – 7 ปี ปรับตัง้ แต่ 20,000 บาท – 140,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ - ถ้าการกระทาความผิดตามวรรคหนึ่งเป็ นเหตุให้เกิดความเสียหายต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือระบบคอมพิวเตอร์ดังกล่าว มีโทษจาคุกตัง้ แต่ 1 ปี – 10 ปี ปรับตัง้ แต่ 20,000 บาท – 200,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ - ถ้ า การกระท าความผิ ด ตามมาตรา 9 หรื อ มาตรา 10 เป็ นการกระท าต่ อ ข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือระบบคอมพิวเตอร์ตามวรรคหนึ่ง มีโทษจาคุกตัง้ แต่ 3 ปี – 15 ปี ปรับตัง้ แต่ 60,000 บาท – 300,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ - ถ้าการกระทาความผิดตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสาม โดยมิได้มีเจตนาฆ่า แต่เป็ นเหตุให้ บุคคลอื่นถึงแก่ความตาย มีโทษจาคุกตัง้ แต่ 5 ปี – 20 ปี ปรับตัง้ แต่ 100,000 บาท – 400,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ มาตรา 12/1 - ถ้ากระทาความผิดตามมาตรา 9 หรือมาตรา 10 เป็ นเหตุให้เกิดอันตรายแก่บุคคลอื่นหรือ ทรัพย์สินของผูอ้ ่นื มีโทษจาคุกไม่เกิน 10 ปี มีโทษปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ - ถ้ากระทาความผิดตามมาตรา 9 หรือมาตรา 10 โดยมิได้มีเจตนาฆ่า แต่เป็ นเหตุให้ บุคคลอื่นถึงแก่ความตาย มีโทษจาคุกตัง้ แต่ 5 ปี – 20 ปี ปรับตัง้ แต่ 100,000 บาท – 400,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ มาตรา 13 - ผูใ้ ดจาหน่ายหรือเผยแพร่ชดุ คาสั่งที่จดั ทาขึน้ โดยเฉพาะเพื่อนาไปใช้เป็ นเครื่องมือในการ กระทาความผิดตามมาตรา 5 มาตรา 6 มาตรา 7 มาตรา 8 มาตรา 9 มาตรา 10 หรือ มาตรา 11 มีโทษจาคุก ไม่เกิน 5 ปี มีโทษปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ - ผูใ้ ดจาหน่ายหรือเผยแพร่ชดุ คาสั่งที่จดั ทาขึน้ โดยเฉพาะเพื่อนาไปใช้เป็ นเครื่องมือในการ กระทาความผิดตามมาตรา 12 วรรคหนึ่งหรือวรรคสาม มีโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปี มีโทษปรับ ไม่เกิน 40,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ

4

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

มาตรา 14 (1) นำเข้ำสู่ระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ที่บิดเบือน หรือปลอม ไม่ว่ำทัง้ หมดหรือ บำงส่ ว น หรื อ ข้อ มูล คอมพิ ว เตอร์อัน เป็ น เท็ จ โดยประกำรที่ น่ ำ จะเกิ ด ควำมเสี ย หำยแก่ ป ระชำชน อันมิใช่กำรกระทำควำมผิดฐำนหมิ่นประมำทตำมประมวลกฎหมำยอำญำ มีโทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี มีโทษ ปรับไม่เกิน 100,000 บำท หรือทัง้ จำทัง้ ปรับ มาตรา 14 (2) นำเข้ำสูร่ ะบบคอมพิวเตอร์ซ่งึ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ อันเป็ นเท็จ โดยประกำรที่น่ำจะเกิด ควำมเสียหำยต่อกำรรักษำควำมมั่นคงปลอดภัยของประเทศ ควำมปลอดภัยสำธำรณะ ควำมมั่นคงในทำง เศรษฐกิจของประเทศ หรือโครงสร้ำงพืน้ ฐำน อันเป็ นประโยชน์สำธำรณะของประเทศ หรือก่อให้เกิดควำม ตื่นตระหนกแก่ประชำชน มีโทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี มีโทษปรับไม่เกิน 100,000 บำท หรือทัง้ จำทัง้ ปรับ มาตรา 14 (3) นำเข้ำสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซ่งึ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ อันเป็ นควำมผิดเกี่ยวกับควำม มั่นคงแห่งรำชอำณำจักรหรือควำมผิดเกี่ยวกับกำรก่อกำรร้ำยตำมประมวลกฎหมำยอำญำ มีโทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี มีโทษปรับไม่เกิน 100,000 บำท หรือทัง้ จำทัง้ ปรับ มาตรา 14 (4) น ำเข้ำสู่ระบบคอมพิ วเตอร์ซ่ึ งข้อมู ล คอมพิ วเตอร์ใด ๆ ที่ มี ลักษณะอันลำมก และข้อมูลคอมพิวเตอร์นนั้ ประชำชนทั่วไปอำจเข้ำถึงได้ มีโทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี มีโทษปรับไม่เกิน 100,000 บำท หรือทัง้ จำทัง้ ปรับ มาตรา 14 (5) น ำเข้ำสู่ระบบคอมพิ วเตอร์ซ่ึงข้อมูลคอมพิ วเตอร์ โดยรู ้อ ยู่ แ ล้ว ว่ ำ เป็ น ข้อ มูล คอมพิวเตอร์ตำม (1) (2) (3) หรือ (4) มีโทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี มีโทษปรับไม่เกิน 100,000 บำท หรือทัง้ จำทัง้ ปรับ มาตรา 15 ผูใ้ ห้บริกำรผูใ้ ดให้ควำมร่วมมือ ยินยอม หรือรูเ้ ห็นเป็ นใจให้มีกำรกระทำควำมผิดตำม มำตรำ 14 ในระบบคอมพิวเตอร์ท่ีอยู่ในควำมควบคุมของตน มีโทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี มีโทษปรับไม่เกิน 100,000 บำท หรือทัง้ จำทัง้ ปรับ มาตรา 16 - ผูใ้ ดนำเข้ำสู่ระบบคอมพิวเตอร์ท่ีประชำชนทั่ วไปอำจเข้ำถึงได้ ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ที่ปรำกฏเป็ นภำพของผู้อ่ืน และภำพนั้นเป็ นภำพที่เกิดจำกกำรสร้ำงขึน้ ตัดต่อ แต่งเติม หรือดัดแปลง ด้วยวิธีกำรทำงอิเล็กทรอนิกส์ หรือวิธีกำรอื่นใด โดยประกำรที่น่ำจะทำให้ผูอ้ ่ืนนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รบั ควำมอับอำย มีโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี มีโทษปรับไม่เกิน 200,000 บำท หรือทัง้ จำ ทัง้ ปรับ - ถ้ำ กำรกระท ำตำมวรรคหนึ่ ง เป็ น กำรกระท ำต่ อ ภำพของผู้ต ำย และกำรกระท ำนั้น น่ำจะทำให้บิดำ มำรดำ คู่สมรส หรือบุตรของผูต้ ำยเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับควำมอับอำย มีโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี มีโทษปรับไม่เกิน 200,000 บำท หรือทัง้ จำทัง้ ปรับ รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

5

สรุปสาระสาคัญของ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ได้ดงั นี ้ 1. การฝากร้านใน Facebook หรือ Instagram ถือเป็ นสแปม ปรับ 200,000 บาท 2. การส่งข้อความ (SMS) โฆษณา โดยไม่ได้รบั ความยินยอมจากผูร้ บั จะต้องให้ผรู้ บั สามารถปฏิเสธ ข้อมูลนัน้ ได้ หากปฏิเสธไม่ได้ ถือเป็ นสแปม ปรับ 200,000 บาท 3. การส่งอีเมล (Email) ขายของ ถือเป็ นสแปม ปรับ 200,000 บาท 4. การกดไลก์ (Like) ข้อความที่เป็ นเรื่องเกี่ยวกับสถาบัน มีความเสี่ยงเข้าข่ายความผิดมาตรา 112 หรือมีความผิดร่วม 5. การกดแชร์ (Share) ข้อมูลที่แชร์มีผลกระทบต่อผูอ้ ่ืน ถือเป็ นการเผยแพร่ท่ีอาจเข้าข่ายความผิด ตาม พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะที่กระทบต่อบุคคลที่ 3 6. หากมีการพบข้อมูลผิ ดกฎหมายอยู่ ในระบบคอมพิวเตอร์ แต่ไม่ใช่สิ่งที่เจ้าของคอมพิวเตอร์ กระทาขึน้ ด้วยตนเอง สามารถแจ้งไปยังหน่วยงานที่รบั ผิดชอบได้ หากแจ้งแล้วลบข้อมูลออกเจ้าของก็จะไม่ มีความผิดตามกฎหมาย หรือหากพบว่าในเว็บไซต์มีการแสดงความเห็นผิดกฎหมายเกิดขึน้ เมื่อแจ้งไปที่ หน่วยงานที่รบั ผิดชอบเพื่อลบได้ทนั ที เจ้าของระบบเว็บไซต์จะไม่มีความผิด 7. สาหรับเพจที่เปิ ดให้มีการแสดงความเห็น เมื่อพบข้อความที่ผิด พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ เมื่อลบออก จากพืน้ ที่ท่ตี นดูแลแล้ว จะถือเป็ นผูพ้ น้ ผิด 8. ห้ามไม่ให้โพสต์สิ่งลามกอนาจาร ทัง้ รูปภาพและวิดีโอ ที่ทาให้เกิดการเผยแพร่สปู่ ระชาชนได้ 9. การโพสต์เกี่ยวกับเด็กและเยาวชน ต้องปิ ดบังใบหน้า ยกเว้น การกระทาที่เป็ นการเชิดชู ชื่นชม อย่างให้เกียรติเด็กและเยาวชนบุคคลนัน้ 10. การให้ข้อมูล เกี่ ยวกับ ผู้เ สี ยชี วิ ต ต้องไม่ ทาให้ ผู้เสียชี วิตและครอบครัวเกิ ดความเสื่อ มเสี ย ชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น หรือถูกเกลียดชัง หากเกิดความเสียหายญาติสามารถฟ้องร้องได้ตามกฎหมาย 11. การโพสต์ด่าว่าผูอ้ ่ืนโดยไม่มีขอ้ มูลความจริง หรือถูกตัดต่อ ผูถ้ ูกกล่าวหา สามารถแจ้งความ เอาผิดผูโ้ พสต์ได้ มีโทษจาคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 200,000 บาท 12. ห้ามไม่ให้ทาการละเมิดลิขสิทธิ์ออนไลน์ ได้แก่ ข้อความ เพลง รูปภาพ วิดีโอ 13. ส่งรูปภาพแชร์ (Share) ของผูอ้ ่นื เช่น สวัสดี อวยพร ไม่มีความผิด หากไม่ใช้รูปภาพในเชิง พาณิชย์ หรือเพื่อหารายได้

6

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

รูปที่ 1 13 ข้อสรุ ปสาระสาคัญของ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

7

เรื่องที่ 3 ภัยคุกคามทางโลกออนไลน์

รู ปที่ 2 ภัยคุกคามทางโลกออนไลน์ ปั จ จุ บัน ที่ ทุ ก คนใช้สื่ อ สัง คมออนไลน์เ ป็ น จ านวนมาก ท าให้เ กิ ด อาชญากรในโลกออนไลน์ หลากหลายรูปแบบ โดยภัยคุกคามทางโลกออนไลน์นนั้ สามารถเกิดกับบุคคลได้ทุกเพศทุกวัย เมื่อมีการเริ่ม ใช้อินเทอร์เน็ตเป็ นเครื่องมือในการสื่อสารและหาความรู ้ โดยภัยคุกคามในโลกออนไลน์ท่ีพบเห็น ได้นนั้ มีดงั ต่อไปนี ้ 1. การถูกระรานกลั่นแกล้งในโลกออนไลน์ (Cyberbully) หมายถึง การกลั่นแกล้ง การคุกคาม การให้รา้ ย การด่าว่า การข่มเหง การรังแก หรือการระรานผูอ้ ่ืน หรือ แสดงความคิดเห็น (Comment) หรือ เผยแพร่หรือส่งต่อข้อมูล (Share) ที่ทาให้ผอู้ ่ืนเสียหาย โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทลั ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ดว้ ย การส่งข้อความ การเล่นเกม หรือส่งผ่านสมาร์ตโฟน โดยการระรานกลั่นแกล้งในโลกออนไลน์ (Cyberbully) เป็ นพฤติกรรมที่จะกระทาซา้ ๆ กับเป้าหมายเดิม เพื่อสร้างความราคาญใจ ยั่วโมโห ทาให้ความหวาดกลัว หรือสร้างความอับอายให้แก่ผูท้ ่ีตกเป็ นเป้าหมาย เช่น การตัดต่อภาพและโพสต์ลงในสื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) การส่ง ข้อ ความไปข่ ม ขู่ การแกล้ง ปลอมตัวเป็ น บุค คลเป้า หมายแล้ว ส่ง ข้อ ความไม่ ดี ไปหาผูอ้ ่นื เป็ นต้น โดยการระรานกลั่นแกล้งในโลกออนไลน์ (Cyberbully) นั้นเป็ นสิ่งที่เกิดขึน้ กับเด็กและเยาวชน มากกว่าบุคคลในวัยทางาน ผูถ้ ูกกระทาการระรานกลั่นแกล้งอาจรูส้ ึกเหมือนถูกโจมตีอยู่ตลอดเวลา ทาให้ รูส้ กึ ว่าไม่สามารถหนีออกจากความรูส้ กึ ถูกกลั่นแกล้งนัน้ จึงส่งผลกระทบต่อผูถ้ กู กระทาหลายด้าน ได้แก่ - ทางจิตใจ เช่น ทาให้รูส้ กึ หงุดหงิด โมโห อับอาย เป็ นต้น - ทางอารมณ์ เช่น รูส้ กึ ไร้ตวั ตน รูส้ กึ ไร้ค่า รูส้ กึ ละอายใจ เป็ นต้น - ทางกาย เช่น อ่อนล้าจากอาการนอนไม่หลับ ปวดท้อง ปวดหัว เป็ นต้น

8

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

การถูกระรานกลั่นแกล้งในโลกออนไลน์ (Cyberbully) เกิดขึน้ ได้หลายรูปแบบ ดังต่อไปนี ้ 1) การให้ร้ายใส่ความ การแกล้งแหย่ (Trolling) เป็ นพฤติกรรมที่เกิดขึน้ มากที่สุดของ การถูกระรานกลั่นแกล้งในโลกออนไลน์ (Cyberbully) ทัง้ การพิมพ์ขอ้ ความในแง่ลบ การคอมเมนต์ในสื่อ สังคมออนไลน์ เช่น การด่าทอ การดูถกู เหยียดหยาม ล้อเลียน ทาให้เกิดความอับอาย 2) การเผยแพร่ความลับ (Outing) เป็ นการนาข้อมูล ภาพถ่าย หรือวิดีโอส่วนบุคคลมา เผยแพร่ให้เกิดความอับอาย หากเป็ นภาพทั่วไป แต่ บุคคลเจ้าของไม่ยินยอมให้เผยแพร่ ถือเป็ นการถูก ระรานกลั่นแกล้งในโลกออนไลน์ (Cyberbully) เช่นกัน 3) การใส่ความ (Dissing) เป็ นการสร้างข้อมูลเท็จเพื่อให้รา้ ยบุคคลอื่นในโลกออนไลน์ ทาให้ผอู้ ่นื เข้าใจผิด เช่น การสร้างข่าวอักษรย่อของดารา เป็ นต้น 4) การล่อลวง (Trickery) เป็ นการกระทาให้ผูอ้ ่ืนเปิ ด เผยความลับ ข้อมูลส่วนตัว หรือ ภาพส่วนบุคคล แล้วนาสิ่งเหล่านัน้ ไปเผยแพร่ในโลกออนไลน์ จนทาให้เกิดความอับอาย 5) การแอบอ้างชื่อ (Fraping) เป็ นการนาบัญชีสื่อสังคมออนไลน์ของผูอ้ ่ืนไปโพสต์รูป ภาพหรือข้อความที่ทาให้เกิดความเสียหายต่อเจ้าของบัญชี 6) การสร้างบัญชีปลอม (Fake Profiles) เป็ นการปลอมตัวตนบนโลกออนไลน์ นิยม เรียกว่า แอคหลุม เพื่อใช้คอมเมนต์ดา้ นลบ ใช้คาหยาบคายด่าทอผูอ้ ่นื 7) การขโมยอัตลักษณ์ (Catfish) เป็ นการนารู ปของผูอ้ ่ืนไปสร้างเป็ นบัญชีของตนเอง เพื่อใช้ในการหลอกลวงผูอ้ ่นื เช่น หลอกเพื่อใช้สานความสัมพันธ์ หลอกเพื่อยืมเงิน เป็ นต้น ซึ่งจะสร้างความ เสียหายต่อบุคคลในภาพ 8) การกีดกันออกจากลุ่ม (Exclusion) เป็ นการลบบุคคลออกจากลุ่ม หรือการตัง้ กลุ่ม ลับขึน้ เพื่อกล่าวร้ายถึงบุคคลที่ไม่ได้อยู่ในกลุม่ 9) การก่อกวน การคุกคาม (Harassment) เป็ นการส่งข้อความไปก่อกวน หรือสร้าง ความเดือดร้อนใจให้แก่ผรู้ บั ส่วนมากจะเป็ นข้อความทางเพศ ที่เป็ นการคุกคาม เหยียดหยาม สร้างความ ราคาญ ก่อให้เกิดความกังวลใจ และหวาดกลัว 10) การข่ ม ขู่ ผ่ า นดิ จิ ทั ล (Cyberstalking) เป็ นการระรานกลั่นแกล้ง ในโลกออนไลน์ (Cyberbully) ในระดับที่รุนแรง เป็ นการกระทาหลายกิจกรมร่วมกัน เช่น การข่มขู่ว่าจะทาให้เสียชื่อเสียง ทาร้ายร่างกาย ทาร่ายทางเพศ สร้างความหวาดกลัวและส่งผลต่อการใช้ชีวิตปกติ

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

9

2. การถูกเข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ (Hacking) เกิดจากการใช้รหัส ผ่านที่สามารถ คาดเดาได้ง่าย เช่น วันเดือนปี เกิด หมายเลขโทรศัพท์มือถือ 0000 123456 เป็ นต้น นอกจากนีย้ ังมีการถูกเข้าถึงข้อมูลได้ดว้ ยการคลิกที่ Link Phishing ที่สร้างขึน้ มา เพื่อหลอกให้ คลิก เช่น คลิกแล้วจะได้รบั รางวัล บัตรกานัล แจกเงิน แจกภาพ/คลิปลามกอนาจาร เลขเด็ด หลอกว่าบัญชี ธนาคารมีปัญหา มีสินค้าที่ติดปัญหาด้านการขนส่ง เป็ นต้น เมื่อคลิกเข้าไปใน Link แล้ว จะมีให้กรอกข้อมูล Username Password หรือการหลอกเอารหัสใช้ครัง้ เดียว (OTP) จากบัตรเครดิตโดยคนร้ายจะโทรศัพท์ หรือส่งข้อความมาขอรหัสโดยอ้างว่าเป็ นเจ้าหน้าที่ Call center หรือปลอมเป็ นบุคคลที่รูจ้ กั แนวทางการป้องกันการถูกเข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ (Hacking) ส่วนบุคคลนัน้ จะต้อง ตั้งรหัสผ่านคาดเดาได้ยาก ไม่กด link เชิญชวนในรู ปแบบที่ไม่มีท่ีมาที่ไป หรือไม่น่าเชื่อถือ ไม่บอกรหัส OTP แก่ผูอ้ ่ืน ตัง้ ค่าและรหัสยืนยันตัวตนแบบ 2 ชัน้ (2 Factor Authentication) ในทุกสื่อสังคมออนไลน์ เป็ นต้น

รู ปที่ 3 การถูกเข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ (Hacking) 3. การฉ้อโกงรู ปแบบต่าง ๆ ในช่องทางออนไลน์ เป็ นภัยคุกคามที่เกิดจากการหลอกลวงใน รูปแบบต่าง ๆ เพื่อทาให้สญ ู เสียทรัพย์สิน เช่น การหลอกให้ลงทุนโดยอ้างว่าได้ผลตอบแทนสูงในระยะเวลา สัน้ การซือ้ สินค้าแล้วไม่ได้รบั สินค้า หรือได้รบั สินค้าที่ไม่ตรงตามที่แจ้ง โดยการฉ้อโกงจากการขายสินค้า ออนไลน์นนั้ มีรูปแบบการกระทาการฉ้อโกง ดังต่อไปนี ้ 1) การซื้ อ สิ น ค้ า แบบผ่ อ นช าระ ส่ ว นมากจะเกิ ด เหตุ กั บ สิ น ค้ า ราคาสู ง เช่ น โทรศัพท์มือถือ ทองคา อัญมณี กระเป๋ าแบรนด์เนม เป็ นต้น 2) การกดดันให้โอนเงิน จะมีลกั ษณะใช้การอ้างว่าสินค้ามีนอ้ ยและมีลกู ค้ารายอื่นกาลัง สนใจ เพื่อกดดันให้ลกู ค้าโอนเงินทันที

10

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

3) ใช้สถานการณ์ที่สังคมสนใจเป็ นช่องการฉ้อโกง เช่น การแพร่ระบาดของโควิด-19 ทาให้มีการหลอกขายแอลกอฮอล์ หน้ากากอนามัย เครื่องวัดค่าออกซิเจน ชุดตรวจ ATK ที่ไม่มีมาตรฐาน เป็ นต้น 4) การฉ้อโกงผ่านสื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) เช่น เฟซบุ๊ก อินสตาแกรม สินค้า ที่พบปัญหานีม้ กั จะมีมลู ค่าความเสียหายสูงเช่นเดียวกับการซือ้ สินค้าแบบผ่อนชาระ 5) การแลกเปลี่ยนสิ่งของผ่านแอปพลิเคชันแลกเปลี่ยนสิ่งของ สิ่งที่มกั เกิดขึน้ คือ ไม่ได้รบั สิ่งของแลกเปลี่ยนตามที่ตกลงกันไว้ และถูกบล็อกช่องทางการติดต่อ เมื่อผูเ้ สียหายส่งสิ่งของไป ก่อน 6) การซือ้ สินค้าจากแพลตฟอร์มต่างประเทศ โดยสั่งซือ้ สินค้านาเข้าผ่านแพลตฟอร์ม โดยตรง แต่ได้รบั สินค้าชารุด และไม่สามารถขอคืนสินค้าและเงินได้ 7) การซือ้ สินค้าแบบ Pre-order โอนเงินเพื่อรอรับสินค้าตามวันที่กาหนด แล้วไม่ได้รบั สินค้าที่ส่งั ซือ้ 8) การถู ก ฉ้ อ โกงจากวิธีเ ก็บ เงินปลายทาง เมื่อชาระเงินเรียบร้อยแล้ว ได้รบั สินค้า ปลอม 9) การแอบอ้างเป็ นตัวแทนจาหน่ายสินค้า โดยเฉพาะสินค้าในกลุ่มเครื่องใช้ไฟฟ้า และโทรศัพท์มือถือ เมื่อโอนเงินแล้วไม่ได้รบั สินค้า 10) การใช้บัญชีทสี่ วมรอย หลอกลวงให้โอนเงินค่าสินค้า 11) พนักงานขนส่งสินค้าให้ชาระเงินเพิ่มก่อนรับสินค้า โดยอ้างว่ามีสินค้าที่ถูกจัดส่ง มาจากต่างประเทศ ต้องชาระค่าธรรมเนียมก่อนรับสินค้า 12) การประมูล สิ นค้ าผ่านเว็ บไซต์ โดยกาหนดเงื่อนไขให้ผูป้ ระมูลเติมเงินก่อนการ ประมูล แต่หลังจากเติมเงิน แล้วทางแอดมินเพจที่ทาการประมูล แจ้งว่าไม่สามารถประมูลได้โดยอ้างเหตุ ผลต่าง ๆ และผูเ้ สียหายไม่ได้รบั เงินที่โอนเติมเงินคืน 13) การหลอกว่าแจกสินค้าฟรี แต่เรียกเก็บเงินค่าจัดส่ง หรือโอนเงินแล้วไม่ได้รบั สินค้า 14) การซือ้ สินค้าประเภทผลไม้ตามฤดูกาล ไม่ได้รบั สินค้าตามที่ตกลงกันไว้ หรือได้รบั สินค้าไม่ตรงตามที่ตกลง 15) การหลอกลวงจากการซือ้ สินค้าประเภทเครื่องขุดเหรียญดิจิทัล ได้รบั ของไม่ ตรงกับที่ตกลงกันไว้ รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

11

แนวทางการป้องกันการฉ้อโกงออนไลน์ ทาได้โดย - อย่าหลงเชื่อผูอ้ ่ืนโดยง่าย จะต้องนาชื่อนามสกุล หมายเลขบัญชีธนาคาร หรือชื่อร้านค้า ไปหาข้อมูลเพิ่มเติมใน google ว่าเคยมีประวัติการฉ้อโกงหรือไม่ ดูรีวิวของผูบ้ ริโภคหรือคอมเมนต์ของผูซ้ ือ้ คนอื่นในร้านค้าก่อน - อย่าโลภ เห็นแก่ผลประโยชน์ท่มี ากผิดปกติ ที่ หรือสินค้าราคาถูกมากเกินจริง - อย่าละเลยข้อมูลข่าวสาร โดยเฉพาะข่าวเกี่ยวกับอาชญากรรมออนไลน์ เพื่อจะรูเ้ ท่าทัน มิจฉาชีพในโลกออนไลน์

รู ปที่ 4 15 รู ปแบบการฉ้อโกงบนตลาดออนไลน์

12

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

4. การหลอกให้กู้เงินออนไลน์จากแอปพลิเคชัน เป็ นการชักชวนให้กูเ้ งินผ่านแอปพลิเคชัน แบ่งเป็ น 2 รูปแบบ คือ 1) หลอกให้โอนเงินค่าธรรมเนียมก่อนกูเ้ งิน เมื่อผูเ้ สียหายโอนเงินแล้ว ก็จะถูกบล็อก ทาให้ สูญเสียเงิน 2) ให้กู้เงินจริงแต่คิดดอกเบีย้ เกินอัตราที่กฎหมายกาหนด เมื่อไม่ชาระหนีต้ ามกาหนด จะมีการโทรศัพท์ข่มขู่ ต่อว่าด้วยถ้อยคาหยาบคาย ดูหมิ่นเหยียดหยาม และมีการส่งข้อความหรือโทรศัพท์ หาบุคคลที่ผกู้ เู้ งินรู จ้ กั ในลักษณะประจาน หรือหลอกลวงให้มาชาระหนีแ้ ทน โดยอ้างว่าถูกกาหนดให้เป็ น ผูค้ า้ ประกัน แนวทางการป้องกันการถูกหลอกให้กูเ้ งินออนไลน์จากแอปพลิเคชัน ทาได้โดยการหลีกเลี่ยงการกูเ้ งิน ผ่านแอปพลิเคชันเงินกูท้ กุ กรณี

รู ปที่ 5 การหลอกให้กู้เงินออนไลน์จากแอปพลิเคชัน

รู ปที่ 6 การหลอกให้กู้เงินออนไลน์จากแอปพลิเคชัน ด้วยการกดลิงก์ รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

13

5. การหลอกให้หลงรักในโลกออนไลน์ ส่วนมากจะเป็ นการสร้างโปรไฟล์เป็ นชาวตะวันออก กลาง (แขกขาว) หรือชาวเอเชียตะวันออก (ไต้หวัน ฮ่องกง เกาหลี) ที่ดบู ุคลิกดี มีฐานะดี ส่งข้อความมาหา เป็ นการแสดงออกถึงการหลงรัก ประทับใจ เพื่อได้หลอกล่อพูดคุยกัน โดยมีจุดประสงค์เพื่อหลอกให้โอน เงินโดยอ้างเหตุผลต่าง ๆ หลอกให้ลงทุนค่าเงินสกุลดิจิทลั ในแอปพลิเคชันปลอม แนวทางการป้องกันการหลอกให้หลงรักในโลกออนไลน์ ทาได้โดยการขอนัดพบตัวจริง หรือเปิ ด กล้องวิดีโอคอล ให้เห็นหน้าเพื่อให้ม่นั ใจว่าเป็ นบุคคลคนเดียวกับรู ปในโปรไฟล์จริง ซึ่งส่วนใหญ่คนร้ายจะ ไม่ยอมวิดีโอคอล โดยอ้างเหตุขดั ข้องต่าง ๆ ให้สนั นิษฐานไว้ก่อนว่าเป็ นมิจฉาชีพ และไม่ควรโอนเงินให้ทกุ กรณีท่มี ีการกล่าวอ้าง หรือลงทุนในแอปพลิเคชันที่มิจฉาชีพส่งลิงก์มาให้

รู ปที่ 7 การหลอกให้หลงรักในโลกออนไลน์ 6. ข่าวปลอม (Fake News) เป็ นข้อมูลที่ถูกสร้างขึน้ โดยมีบุคคลไม่หวังดี หรือรู เ้ ท่าไม่ถึงการณ์ พยายามส่งข่าวปลอมเข้ามาในสื่อสังคมออนไลน์โดยมีจุดประสงค์ ต่าง ๆ กันไป เช่น สร้างความสับสน สร้างความขัดแย้ง สร้างความเกลียดชัง สร้างความตื่นตระหนก เป็ นต้น โดยเนือ้ หาของข่าวปลอมที่เป็ น ภัยคุกคามออนไลน์นนั้ อาจมีขอ้ เท็จจริงเพียงเล็กน้อยหรือเพียงบางส่วน หรืออาจเป็ นข่าวที่ไม่มีมูลความ จริง เนือ้ หาของข่าวเป็ นเรื่องที่ แต่งขึน้ หรือไม่มีขอ้ เท็จจริง ไม่มีท่ีมาของแหล่งข่าวที่สามารถตรวจสอบได้ นอกจากนี ้ ข่าวปลอมบางประเภทอาจมีเนือ้ ข่าวที่ตรวจสอบได้จริง แต่มีลกั ษณะการเขียนด้วยอคติ จงใจใส่ ร้าย หรือนาเสนอจากมุมมองด้านเดียว แนวทางการป้องกันการถูกคุกคามจากข่าวปลอม ทาได้โดยการตรวจสอบข้อมูลว่าเป็ นเรื่องจริง ก่อนจะเชื่อและส่งต่อ สามารถตรวจสอบข้อมูลจากหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง หรือ สานักข่าวที่น่าเชื่อถือ หรือ ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมประเทศไทย www.antifakenewscenter.com เป็ นต้น

14

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

วิธีป้องกันภัยคุกคามทางโลกออนไลน์ การป้องกันภัยคุกคามทางโลกออนไลน์ มี 3 ระดับ ได้แก่ 1. การป้ องกันระดับบุคคล มีดงั นี ้ - อัปเดตซอฟต์แวร์ท่ใี ช้ให้เป็ นปัจจุบนั อยู่เสมอ เพื่อเพิ่มความปลอดภัยในการใช้งาน - ใช้โปรแกรมแอนตีไ้ วรัสที่มีประสิทธิภาพ - หลีกเลี่ยงการคลิก link ที่น่าสงสัย เช่น เว็บไซต์ท่ีบอกว่าจะแจกรางวัล แถบโฆษณาบน เว็บไซต์ต่าง ๆ ที่ link ไปยังเว็บไซต์อ่นื เป็ นต้น - ใช้รหัสผ่านที่มีความซับซ้อน เช่น ตัวหนังสือใหญ่ เล็ก ตัวเลข และอักขระพิเศษ รวมทัง้ ตัง้ ค่ารหัสยืนยันตัวตนแบบ 2 ชัน้ (2 Factor Authentication) ในทุกสื่อสังคมออนไลน์ท่ใี ช้งาน 2. การป้ องกันระดับองค์กร มีดงั นี ้ - ใช้งานซอฟต์แวร์ท่ีถูกลิขสิทธิ์ และอัปเดตซอฟต์แวร์ให้เป็ นปั จจุบนั อยู่เสมอ เช่นเดียวกับ คอมพิวเตอร์สว่ นตัว และควรใช้งานซอฟต์แวร์ท่ถี กู ลิขสิทธิ์เพื่อความปลอดภัย - เลือกใช้งานโปรแกรมแอนตีไ้ วรัสที่ถูกลิขสิทธิ์ อัปเดตโปรแกรม และสแกนไวรัสภายใน เครื่องเป็ นประจา โดยสาหรับองค์กรที่มีพนักงานจานวนมาก ควรเลือกใช้งานโปรแกรมแอนตีไ้ วรัสที่มี รูปแบบเฉพาะสาหรับการใช้งานร่วมกันภายในองค์กร เพื่อประหยัดงบประมาณและเกิดประสิทธิภาพ - ติดตามข่าวสารเกี่ยวกับการโจมตีเจาะข้อมูลทางโลกออนไลน์อยู่เสมอ หมั่นตรวจสอบ การรายงานสิ่งที่น่าสงสัยว่าอาจเป็ นไวรัสหรือมัลแวร์แฝง 3. การป้ องกันระดับประเทศ มีดงั นี ้ - สร้างความตระหนักรูใ้ ห้กบั บุคคลภายในประเทศ เกี่ยวกับความสาคัญของความปลอดภัยในการ ใช้งานอินเทอร์เน็ต อันตรายที่อาจเกิดขึน้ จากการก่ออาชญากรรมออนไลน์ คอยติดตามและแจ้งข่าวสาร เกี่ยวกับภัยคุกคามทางออนไลน์ ให้ประชาชนเกิดความตื่นรูแ้ ละหาวิธีทางในการป้องกันตนเอง - ไม่เพิกเฉยกับการแจ้งความเกี่ยวกับคดีอาชญากรรมทางออนไลน์ และมีขนั้ ตอนการดาเนินคดี ที่มีประสิทธิภาพ เชื่อถือได้ - ร่วมมือกับต่างประเทศในการสร้างเครือข่ายที่ปลอดภัยต่อการใช้งานของประชาชนภายในประเทศ ต่าง ๆ โดยร่วมมือกันร่างกลยุทธ์ในการสร้างความปลอดภัยการใช้เครือข่ายไซเบอร์นานาชาติ

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

15

เรื่องที่ 4 กรณีศึกษา : การทาผิดกฎหมายคอมพิวเตอร์ ตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ กรณีศึกษา : รวบหนุ่ม ดีกรี ป.ตรี วิทยาศาสตร์การแพทย์ มือแฮ็กเว็บไซต์ศาลรัฐธรรมนูญ

รู ปที่ 8 เว็บไซต์ศาลรัฐธรรมนูญถูกแฮ็กเกอร์ใส่เพลง Kangaroo Court จากกรณีท่ีเว็บไซต์ศาลรัฐธรรมนูญถูก แฮ็กเกอร์ เปลี่ยนหน้าเว็บไซต์เป็ นเพลงของ Death Grips ทัง้ ยังเปลี่ยนชื่อเว็บไซต์เป็ น Kangaroo Court นัน้ ล่าสุดวันนี ้ (13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564) กองบัญชาการตารวจสืบสวนสอบสวนอาชญากรรมทาง เทคโนโลยี และกองกากับการวิเคราะห์ข่าวและเครื่องมือพิเศษ บก.สอท.3 รายงานว่า จากการสืบสวนและ การตรวจสอบทางเทคนิคพบว่า ร่องรอยการโจมตีจากระบบเครือข่ายทางศาลรัฐธรรมนูญ และตรวจพบ หมายเลขไอพีของผู้ต้องสงสัย ซึ่ง สามารถพิสูจ น์ทราบยืนยันตัวตนของผู้ต้องสงสัยพร้อมพิกัดที่อยู่ได้ กอรปกับกองบัง คับการตรวจสอบและวิเ คราะห์อาชญากรรมทางเทคโนโลยี ได้ รบั เครื่องคอมพิว เตอร์ แม่ข่ายที่ถูกโจมตีจากศาลรัฐธรรมนูญไว้ดาเนินการตรวจพิสูจน์พยานหลักฐานดิจิทัล เพื่อตรวจพิสูจน์ วิธีการกระทาความผิดและยืนยันตัวตนผูบ้ ุกรุกและเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์ดงั กล่าว โดยเมื่อช่วงเย็นของวันที่ (12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564) กองบังคับการตารวจสืบสวนสอบสวน อาชญากรรมทางเทคโนโลยี 1 ได้ขออนุมตั ิหมายค้นบ้านผูต้ อ้ งสงสัย ภายในบ้านพักแห่งหนึ่งใน ต.แสนสุข อ.วารินชาราบ จ.อุบลราชธานี ต่อศาลจังหวัดอุบลราชธานี พร้อมกับในช่วงเช้าของวันนี ้ (13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564) ได้ประสานงานร่วมกับ กองบังคับการตารวจสืบสวนสอบสวนอาชญากรรมทางเทคโนโลยี 3 ในการเข้าตรวจบ้านผูต้ อ้ งสงสัย

16

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

จากการเข้า ตรวจค้น พบตั ว ผู้ก่ อ เหตุ ทราบชื่ อ นายวชิ ร ะ อายุ 33 ปี จบปริ ญ ญาตรี ด้า น วิทยาศาสตร์การแพทย์ ให้การรับสารภาพว่าเป็ นผู้เจาะระบบเว็บศาลรัฐธรรมนูญจริง จึงได้สอบปากคาไว้ เป็ นหลักฐาน พร้อมยึดอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ท่ีเกี่ยวข้องกับการกระทาความผิดเพื่อส่งให้กลุ่มงานตรวจพิสจู น์ พยานหลักฐานดิจิทัล กองบังคับการตรวจสอบและวิเคราะห์อาชญากรรมทางเทคโนโลยี ดาเนินการตรวจ พิสจู น์พยานหลักฐานดิจิทลั ต่อไป ทั้งนีน้ ายวชิระ ให้การว่า “ทาไปเพราะเอาสนุก คนสนใจเยอะ โดยตนเจอช่องโหว่ ของเว็ บไซต์ ที่สามารถสังการด้วยคอมพิวเตอร์ระยะไกล จึงก่อเหตุดงั กล่าว” การกระทาดัง กล่าวเข้าข่ายความผิ ดฐานเข้าถึง โดยมิชอบซึ่งระบบและข้อมูลคอมพิวเตอร์ท่ีมี มาตรการป้องกันการเข้าถึงโดยเฉพาะ ตามมาตรา 5 และมาตรา 7 แห่ง พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทาความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 มีโทษจาคุก 6 เดือน ถึง 2 ปี และปรับไม่เกิน 40,000 บาท และหากผูก้ ระทามีการทาให้เสียหาย ทาลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติม ไม่ว่าทัง้ หมดหรือบางส่วน ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผูอ้ ่ืนโดยมิช อบ ก็จะมีความผิดตามมาตรา 9 แห่ง พ.ร.บ. ว่าด้วยการกระทา ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 มีโทษจาคุกไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกิน 100,00 บาท

รู ปที่ 9 รวบมือแฮ็กเว็บไซต์ศาลรัฐธรรมนูญ ที่มาของกรณีศกึ ษา : 7HD ร้อนออนไลน์ วันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

17

แบบฝึ กหัดท้ายบทที่ 1 จงตอบคาถามต่อไปนี้ 1. บอกความหมายและความสาคัญของ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 2. สาระสาคัญของ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์แต่ละฉบับมีอะไรบ้าง .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................

18

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

3. การกระทาความผิดที่กาหนดให้ เป็ นความผิด พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์มาตราใด มีโทษอย่างไร 1) ผู้ใดเข้าถึง โดยมิ ช อบซึ่ง ระบบคอมพิวเตอร์ท่ีมี ม าตรการป้องกันการเข้าถึง โดยเฉพาะ และ มาตรการนัน้ มิได้มีไว้สาหรับตน มาตรา .................... โทษ ....................................................................................................... 2) ผู้ใ ดล่ ว งรู ้ม าตรการป้ อ งกัน การเข้า ถึ ง ระบบคอมพิ ว เตอร์ท่ี ผู้อ่ื น จัด ท าขึ น้ เป็ น การเฉพาะ ถ้านามาตรการดังกล่าวไปเปิ ดเผยโดยมิชอบในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผอู้ ่นื มาตรา .................... โทษ ....................................................................................................... 3) ผู้ใดเข้าถึง โดยมิ ช อบซึ่ง ข้อมูล คอมพิวเตอร์ท่ีมี ม าตรการป้องกันการเข้าถึง โดยเฉพาะ และ มาตรการนัน้ มิได้มีไว้สาหรับตน มาตรา .................... โทษ ....................................................................................................... 4) ผู้ใ ดกระท าด้ว ยประการใดโดยมิ ช อบด้ว ยวิ ธี ก ารทางอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์เ พื่อ ดัก รับ ไว้ซ่ึง ข้อมูล คอมพิวเตอร์ของผูอ้ ่ืนที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และข้อมูลคอมพิวเตอร์นนั้ มิได้มีไว้เพื่อ ประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้บคุ คลทั่วไปใช้ประโยชน์ได้ มาตรา .................... โทษ ....................................................................................................... 5) ผูใ้ ดทาให้เสี ยหาย ทาลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติม ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ซึ่ง ข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผูอ้ ่นื โดยมิชอบ มาตรา .................... โทษ ....................................................................................................... 6) ผูใ้ ดกระทาด้วยประการใดโดยมิชอบ เพื่อให้การทางานของระบบคอมพิวเตอร์ของผูอ้ ่ืนถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทางานตามปกติได้ มาตรา .................... โทษ ....................................................................................................... 7) ผู้ใ ดส่ง ข้อ มูล คอมพิ ว เตอร์ห รื อ จดหมายอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์แ ก่ บุค คลอื่ น อัน มี ลัก ษณะเป็ น การ ก่อให้เกิดความเดือดร้อนราคาญแก่ผู้รบั ข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ โดยไม่เปิ ดโอกาส ให้ผรู้ บั สามารถบอกเลิกหรือแจ้งความประสงค์เพื่อปฏิเสธการตอบรับได้โดยง่าย มาตรา .................... โทษ ....................................................................................................... รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

19

8) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซ่ึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ อันเป็ นเท็จ โดยประการที่น่า จะเกิ ด ความ เสียหายต่อการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทาง เศรษฐกิจของประเทศ หรือโครงสร้างพืน้ ฐาน อันเป็ นประโยชน์สาธารณะของประเทศ หรือ ก่อให้เกิดความ ตื่นตระหนกแก่ประชาชน มาตรา .................... โทษ ....................................................................................................... 9) ผูใ้ ห้บริการผูใ้ ดให้ความร่วมมือ ยินยอม หรือรูเ้ ห็นเป็ นใจให้มีการกระทาความผิดตามมาตรา 14 ในระบบคอมพิวเตอร์ท่อี ยู่ในความควบคุมของตน มาตรา .................... โทษ ....................................................................................................... 10) ผูใ้ ดนาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ท่ีประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้ซ่งึ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ท่ีปรากฏ เป็ นภาพของผูอ้ ่ืน และภาพนัน้ เป็ นภาพที่เกิดจากการสร้างขึน้ ตัดต่อ เติม หรือดัดแปลง ด้วยวิธีการทาง อิเล็กทรอนิกส์ หรือวิธีการอื่นใด โดยประการที่น่าจะทาให้ผู้อ่ืนนัน้ เสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือ ได้รบั ความอับอาย มาตรา .................... โทษ ....................................................................................................... 4. ยกตัวอย่างของภัยคุกคามทางโลกออนไลน์ .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................

20

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

5. กรณีศึกษา : สธ. เตือน! “อย่าหลงเชื่อเพจหลอกขายผลิตภัณฑ์สขุ ภาพ” ตัดต่อคลิปโฆษณาขายสินค้า

รู ปที่ 10 สธ. เตือน! “อย่าหลงเชื่อเพจหลอกขายผลิตภัณฑ์สุขภาพ” ตัดต่อคลิปโฆษณาขายสินค้า นพ.รุ่งเรือง กิจผาติ ที่ปรึกษาระดับกระทรวง และโฆษกกระทรวงสาธารณสุข กล่าวถึงกรณีมีเพจ เฟซบุ๊ก ขายผลิ ต ภัณ ฑ์สุข ภาพ น าคลิ ป ข่ า วของ นายแพทย์ธ งชัย กี ร ติ หัต ถยากร รองปลัด กระทรวง สาธารณสุข จากสื่อโทรทัศน์ช่องหนึ่ง ตัดต่อเสียงพูดโฆษณาขายสินค้า รวมถึงอ้างชื่อหน่วยงาน อย. และ กรมอนามัย เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ ซึ่งสร้างความเสียหายต่อกระทรวงสาธารณสุขและผูบ้ ริหารที่ถูก กล่าวอ้างได้มอบให้กองกฎหมายประสานงานกับกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งดูแลศูนย์ ต่อต้านข่าวปลอม ดาเนินการทางกฎหมาย ตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2560 ปั จ จุบัน ข้อ มูล ข่ า วสารบนโลกออนไลน์มี ม าก ขอให้ป ระชาชนพิ จ ารณาอย่ า งรอบคอบ หรื อ สอบถามตรงจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อป้องกันการหลอกลวง โดยเฉพาะเรื่องเกี่ยวข้องกับสุขภาพไม่ ควรหลงเชื่อผลิตภัณฑ์ท่ีโอ้อวดสรรพคุณเกินจริง หากมีปัญหาขอให้ปรึกษาแพทย์หรือบุคลากรสาธารณสุข ในสถานพยาบาลใกล้บา้ น หากพบเบาะแสการโฆษณาผิดกฎหมาย สงสัยหลอกลวงผูบ้ ริโภค สามารถแจ้ง ได้ท่ี สายด่วน อย. 1556 หรือสานักงานสาธารณสุขจังหวัดทั่วประเทศ ที่มาของกรณีศกึ ษา : จส. 100 วันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 จากกรณีศกึ ษาที่กาหนดให้ มีความผิดตาม พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์มาตราใด มีโทษอย่างไร .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

21

2 บทที่

ลิขสิทธิ์ในโลกออนไลน์ที่ควรรู้

บทที่ 2 ลิขสิทธิ์ในโลกออนไลน์ทค่ี วรรู้

เรื่องที่ 1 ลิขสิทธิ์และเรื่องทีค่ วรรู้ 1.1 ความหมายของลิขสิทธิ์ ลิขสิทธิ์ หมายถึง สิทธิแต่เพียงผูเ้ ดียวที่จะกระทาการใด ๆ เกี่ยวกับงานที่ผูส้ ร้างสรรค์ได้ริเริ่มด้วย ตนเองในการสร้างสรรค์ผ ลงานโดยการใช้ส ติปัญญาความรู ้ ความสามารถ และความวิริยะอุตสาหะ โดยไม่ลอกเลียนงานของผูอ้ ่ืน จะต้องเป็ นงานตามประเภทที่กฎหมายลิขสิทธิ์ให้การคุม้ ครอง ซึ่งผลงาน จะได้รบั ความคุม้ ครองทันทีท่สี ร้างสรรค์ขนึ ้ โดยไม่ตอ้ งจดทะเบียน 1.2 การได้มาซึ่งลิขสิทธิ์ ลิขสิทธิ์จะเกิดขึน้ โดยทันทีนบั ตัง้ แต่ผสู้ ร้างสรรค์ได้สร้างสรรค์ผลงาน ผลงานจะได้รบั ความคุม้ ครอง ทันทีท่สี ร้างสรรค์ขนึ ้ โดยไม่ตอ้ งจดทะเบียน การแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ต่อกรมทรัพย์สินทางปั ญญา มิได้เป็ นการรับรองสิทธิ์ของเจ้าของลิขสิทธิ์ เป็ น เพี ย งการแจ้ง ต่ อ หน่ ว ยงานราชการว่ า ตนเองเป็ น เจ้า ของสิ ท ธิ์ ใ นผลงานลิ ข สิ ท ธิ์ ท่ี แ จ้ง ไว้เ ท่ า นั้น และหนังสือรับรองที่กรมทรัพย์สินทางปั ญญาออกให้ ก็ไม่ได้เป็ นการรับรองว่าผูแ้ จ้งเป็ นเจ้าของผลงาน ลิขสิทธิ์แต่อย่างใด หากมีขอ้ โต้แย้งหรือข้อพิพาทเกี่ยวกับความเป็ นเจ้าของลิขสิทธิ์ ก็จะต้องมีการพิสูจน์ ความเป็ นเจ้าของลิขสิทธิ์ดว้ ยหลักฐานต่าง ๆ อีกครัง้ 1.3 หลักเกณฑ์ในการพิจารณางานลิขสิทธิ์ 1. เป็ นงานที่แสดงออกถึงความคิด (expression of idea) 2. เป็ นงานที่รเิ ริ่มสร้างสรรค์ดว้ ยตนเอง (originality) 3. การทุ่มเทกาลัง ความรู ้ ความสามารถ ความตัง้ ใจวิริยะอุตสาหะในการสร้างสรรค์ (sweat & labor and judgment ) 4. มีลกั ษณะเข้าข่ายตามประเภทของงานที่กฎหมายลิขสิทธิ์รบั รอง 5. เป็ นงานที่ไม่ขดั ต่อกฎหมายและศีลธรรมอันดี

22

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

1.4 งานอันมีลิขสิทธิ์และไม่มีลิขสิทธิ์ งานอันมีลิขสิทธิ์ เกิดขึน้ โดยทันทีนบั ตัง้ แต่ผสู้ ร้างสรรค์ได้สร้างสรรค์ผลงาน ผลงานจะได้รบั ความ คุม้ ครองทันทีท่ีสร้างสรรค์ขึน้ โดยไม่ตอ้ งจดทะเบียน เช่น ภาพวาด ภาพถ่าย ภาพประกอบ หนังสือ บทกวี ดนตรี การบันทึกเสียง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาพยนตร์ บทละคร งานสถาปัตยกรรม เป็ นต้น งานอันไม่มีลิขสิทธิ์ เป็ นผลงานที่สร้างสรรค์ขนึ ้ แต่ไม่สามารถยื่นแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ได้ มีดงั นี ้ 1. ความคิด ขั้นตอน กรรมวิธี ระบบ วิธีใช้หรือวิธีทางาน แนวความคิด หลักการ การค้นพบ ทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ 2. ข่าวประจาวัน และข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่มีลกั ษณะเป็ นเพียงข่าวสาร 3. รัฐธรรมนูญและกฎหมาย 4. ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คาสั่ง คาชีแ้ จง และหนังสือโต้ตอบของกระทรวง ทบวง กรม หรือ หน่วยงานอื่นใดของรัฐหรือท้องถิ่น 5. คาพิพากษา คาสั่ง คาวินิจฉัย และรายงานทางราชการ 6. คาแปลและการรวบรวมสิ่งต่าง ๆ ตามข้อ 2 - 5 ที่กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานใดของ รัฐหรือของท้องถิ่นที่จดั ทาขึน้ 1.5 ประเภทของงานอันมีลิขสิทธิ์ งานสร้างสรรค์ประเภทต่าง ๆ เป็ นผลงานที่สามารถยื่นแจ้งลิขสิทธิ์ได้ มีดงั นี ้ 1. วรรณกรรม เช่น หนังสือ จุลสาร โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2. นาฏกรรม เช่น ท่ารา ท่านเต้น 3. ศิลปกรรม เช่น จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ สถาปัตยกรรม ภาพถ่าย ภาพประกอบ 4. ดนตรีกรรม เช่น คาร้องที่แต่งเพื่อประกอบทานอง ทานองและคาร้อง 5. โสตทัศนวัสดุ เช่น ดีวีดี 6. ภาพยนตร์ เช่น ดีวีดี 7. สิ่งบันทึกเสียง เช่น ซีดี 8. งานแพร่เสียงแพร่ภาพ เช่น รายการวิทยุ รายการโทรทัศน์ 9. งานอื่นใดในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

23

1.6 ผู้ถือครองลิขสิทธิ์ ผูถ้ ือครองลิขสิทธิ์ คือ ผูท้ ่มี ีสิทธิ์ในลิขสิทธิ์ของผลงาน จะเป็ นบุคคล หรือกลุม่ บุคคล ต่อไปนี ้ 1. ผูส้ ร้างสรรค์ผลงานขึน้ ใหม่ ทัง้ ที่สร้างสรรค์งานด้วยตนเอง หรือผูส้ ร้างสรรค์งานร่วมกัน 2. ผูส้ ร้างสรรค์ผลงานในฐานะพนักงาน หรือลูกจ้าง 3. ผูว้ ่าจ้างให้สร้างสรรค์ผลงาน 4. ผูร้ วบรวมหรือประกอบกัน 5. กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐหรือท้องถิ่น 6. ผูร้ บั โอนลิขสิทธิ์ 7. ผู้ส ร้า งสรรค์ซ่ึ ง เป็ น คนชาติ ภ าคี อ นุ สัญ ญาระหว่ า งประเทศ เช่ น อนุ สัญ ญากรุ ง เบอร์น และประเทศในภาคีสมาชิกองค์การค้าโลก 8. ผูพ้ ิมพ์โฆษณางานที่ใช้นามแฝงหรือนามปากกาที่ไม่ปรากฏชื่อผูส้ ร้างสรรค์ 1.7 การคุ้มครองลิขสิทธิ์และอายุการคุ้มครองลิขสิทธิ์ การคุ้มครองลิขสิทธิ์ เป็ นสิทธิ์ของผูถ้ ือครองลิขสิทธิ์ในการกระทาสิ่งต่าง ๆ ต่อผลงาน ดังนี ้ 1. การคัดลอก ทาสาเนา เพื่อทาซา้ ผลงานได้ 2. ดัดแปลงผลงานได้ เช่น นารูปตัวการ์ตนู ที่วาดมาดัดแปลงเป็ นบทภาพยนตร์การ์ตนู 3. เผยแพร่ต่อสาธารณะ เช่น การจัดแสดง การจัดจาหน่าย หรือการเปิ ดเพลงในที่สาธารณะ เป็ นต้น 4. ให้เช่าผลงาน จากงานประเภทโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาพยนตร์ และสิ่งบันทึกเสียง 5. ให้ประโยชน์ท่ไี ด้จากผลงานแก่ผอู้ ่นื เช่น ให้ทายาท ให้คนในครอบครัว 6. อนุญาตให้ผอู้ ่นื ใช้สิทธิ์ โดยอาจมีค่าตอบแทนแลกเปลี่ยน

24

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

อายุการคุ้มครองลิขสิทธิ์ 1. งานทั่วไป ลิขสิทธิ์จะมีตลอดอายุผสู้ ร้างสรรค์ และจะมีต่อไปอีก 50 ปี นับแต่ผสู้ ร้างสรรค์ถึงแก่ ความตาย กรณีเป็ นนิติบคุ คล ลิขสิทธิ์จะมีอยู่ 50 ปี นับแต่ได้สร้างสรรค์งานนัน้ ขึน้ 2. งานภาพถ่าย โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ หรืองานเสียงและภาพ ลิขสิทธิ์มีอยู่ 50 ปี นับแต่ไ ด้ สร้างสรรค์งานนัน้ ขึน้ 3. งานที่สร้างสรรค์โดยการจ้างหรือตามคาสั่ง มีอายุ 50 ปี นับแต่ได้สร้างสรรค์งานนัน้ ขึน้ 4. งานศิลป์ ประยุกต์ ลิขสิทธิ์มีอยู่ 25 ปี นับแต่ได้สร้างสรรค์งานนัน้ ขึน้ 5. กรณีได้มีการโฆษณางานเหล่านัน้ ในระหว่างระยะเวลาดังกล่าวให้ลิขสิทธิ์มีอยู่ต่อไปอีก 50 ปี นับแต่โฆษณาครัง้ แรก ยกเว้นในกรณีศิลป์ ประยุกต์ ให้มีลิขสิทธิ์อยู่ต่อไปอีก 25 ปี นับแต่โฆษณาครัง้ แรก

เรื่องที่ 2 ประโยชน์ของลิขสิทธิ์ ประโยชน์ของการมีลิขสิทธิ์ มีดงั นี ้ 1. ประโยชน์แก่เจ้าของลิขสิทธิ์ ผูถ้ ือครองลิขสิทธิ์ย่อมได้รบั ความคุม้ ครองตามกฎหมายลิขสิทธิ์ และจะได้สิทธิ์แต่เพียงผูเ้ ดียวในการกระทาการใด ๆ เกี่ยวกับงานที่ผูส้ ร้างสรรค์ไ ด้ทาขึน้ ทั้งการทาซ า้ ดัดแปลง เผยแพร่ ให้เช่า ต้นฉบับหรือสาเนางาน รวมทั้งสามารถขายผลงานอันมี ลิขสิท ธิ์แก่ผู้อ่ืน หรือ อนุญาตให้ผอู้ ่ืนใช้ลิขสิทธิ์ของตนทัง้ หมดหรือบางส่วนก็ได้ ก่อให้เกิดรายได้แก่ผสู้ ร้างสรรค์ผลงานหรือผูถ้ ือ ครองลิขสิทธิ์ 2. ประโยชน์แก่สาธารณะ ประชาชน หรือผู้บริโภค การคุม้ ครองและพิทักษ์สิทธิในผลงาน ลิขสิทธิ์ ก่อให้เกิดแรงจูงใจต่อผูส้ ร้างสรรค์ผลงาน ในการคิดและสร้างสรรค์ผลงาน เพื่อจะได้นาผลงานที่มี ประโยชน์และมีคุณค่าออกสู่ตลาด ส่งผลให้ผูบ้ ริโภคและประชาชนได้รบั ความรู ้ ความบันเทิง และได้ใช้ ผลงานที่มีคณ ุ ภาพ ก่อให้เกิดประโยชน์ และให้เกิดความจรรโลงแก่สงั คม

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

25

เรื่องที่ 3 ขั้นตอนการแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ การแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ ทาได้ดงั นี ้ 1. เตรียมเอกสารทีใ่ ช้ประกอบการแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ ได้แก่ 1) สาเนาบัตรประชาชน พร้อมรับรองสาเนาถูกต้อง (กรณีเป็ นบุคคลธรรมดา) 2) ส าเนาหนัง สื อรับรองนิ ติ บุค คล ที่นายทะเบียนออกให้ไ ม่ เ กิน 6 เดือน ของเจ้าของ ลิขสิทธิ์ (กรณีเป็ นนิติบคุ คล) 3) ผลงานหรือภาพถ่ายงานลิขสิทธิ์ จานวน 1 ชุด 4) หนังสือมอบอานาจติดอากรแสตมป์ 30 บาท พร้อมสาเนาบัตรประชาชนของผูร้ บั มอบ อานาจ (รับรองสาเนาถูกต้อง) 5) หน่วยงานหรือองค์กรของรัฐบาลใช้สาเนาหนังสือแต่งตัง้ ผูบ้ ริหารหน่วยงานหรือองค์กรฯ รวมทัง้ สาเนาบัตรประชาชนของผูย้ ่นื คาขอ (รับรองสาเนาถูกต้อง) 2. เตรียมหลักฐานการแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ มีรายละเอียดดังต่อไปนี ้ ลาดับ 1

หลักฐาน แบบฟอร์มใบแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ ได้แก่ - ชื่อเจ้าของลิขสิทธิ์ - ชื่อผูส้ ร้างสรรค์ผลงาน (หากเป็ นคณะผูส้ ร้างสรรค์ ให้ระบุช่ือทุกบุคคลในคณะ) - ชื่อผลงาน - ประเภทของงาน - ผลงานที่ ย่ื น ประกอบค าขอ (โดยถ้า ข้อ มูล มี จ านวนเกิ น 20 แผ่ น ให้ส่ง เป็ น ซี ดี แ ทนตัว เอกสาร) - ลักษณะการสร้างสรรค์ผลงาน - ปี ท่สี ร้างสรรค์ผลงาน - แบบแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ผลงานโดยย่อ (การสรุปข้อมูลที่ย่นื จดแจ้ง)

26

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

ลาดับ

หลักฐาน

2

ผลงานที่ย่นื ประกอบคาขอ (โดยถ้าข้อมูลมีจานวนเกิน 20 แผ่น ให้สง่ เป็ นซีดีแทนตัวเอกสาร)

3

หนังสือรับรองความเป็ นเจ้าของงานลิขสิทธิ์ ได้แก่ - ชื่อผูป้ ระดิษฐ์ (หากเป็ นคณะผูส้ ร้างสรรค์ ให้ระบุช่ือทุกบุคคลในคณะ) - หน่วยงานต้นสังกัด - ชื่อที่แสดงถึงการสิ่งประดิษฐ์ 3. ขั้นตอนการแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ มีดงั นี ้

ลาดับ 1

รายละเอียด ตรวจทาน/แก้ไข แบบฟอร์มใบแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ ผลงานที่ย่นื ประกอบคาขอ (ลาดับที่ 2) และ หนังสือรับรองความเป็ นเจ้าของงานลิขสิทธิ์ เรียบร้อยแล้ว

2

ส่งไฟล์กลับมายังอีเมลศูนย์ทรัพย์สินทางปัญญาและบ่มเพาะวิสาหกิจ [email protected] เพื่อที่จะให้เจ้าหน้าที่ทาการตรวจสอบ ทาความเข้าใจ และแก้ไขกลับไปให้ผยู้ ่นื เรื่องขอแจ้ง ข้อมูลลิขสิทธิ์อ่านเนือ้ หาอีกครัง้ ว่า ยังมีเนือ้ หาที่ตรงกับความประสงค์ของผูส้ ร้างสรรค์หรือไม่่

3

ให้ผถู้ ือครองลิขสิทธิ์ (ซึ่งเป็ นเจ้าของผลงาน) ส่งไฟล์ท่แี ก้ไขกลับมายังอีเมลศูนย์ฯ อีกครัง้

4

เมื่อหลักฐานครบ รายละเอียดการประดิษฐ์ถกู ต้อง เจ้าหน้าที่ประจาศูนย์ฯ จะนาหลักฐาน ทัง้ หมดไปยื่นจดแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ ที่กรมทรัพย์สินทางปั ญญา และเจ้าหน้าที่ประจาศูนย์ฯ จะนาหลักฐานการยื่นที่ได้เลขที่คาขอลิขสิทธิ์แล้วส่งคืนเจ้าของผลงาน ทัง้ ในรูปของเอกสาร (Hard copy) และไฟล์ เพื่อเก็บเป็ นหลักฐานร่วมกันกับศูนย์ทรัพย์สินทางปัญญาฯ ต่อไป

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

27

เรื่องที่ 4 ประเภทของการละเมิดลิขสิทธิ์ การละเมิดลิขสิทธิ์ คือ การกระทาต่อผลงานของเจ้าของลิขสิทธิ์โดยไม่ได้รบั อนุญาต ได้แก่ การ ละเมิดลิขสิทธิ์โดยตรง และการละเมิดลิขสิทธิ์โดยอ้อม ดังนี ้ 4.1 การละเมิดลิขสิทธิ์โดยตรง การละเมิดลิขสิทธิ์โดยตรง คือ การทาซา้ ดัดแปลง เผยแพร่แก่สาธารณชน รวมทัง้ การนาต้นฉบับ หรือสาเนางานดังกล่าวออกให้เช่าโดยไม่ได้รบั อนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์ 4.2 การละเมิดลิขสิทธิ์โดยอ้อม การละเมิดลิขสิทธิ์โดยอ้อม คือ การกระทาทางการค้า หรือการกระทาที่มีส่วนสนับสนุนให้เกิดการ ละเมิดลิขสิทธิ์ของผูอ้ ่ืน โดยผูก้ ระทาการละเมิ ดลิขสิ ทธิ์รูว้ ่าสิ่งนั้นเป็ นการกระทาที่ไ ด้ทาขึน้ โดยละเมิ ด ลิขสิทธิ์ของผูอ้ ่นื แต่ก็ยงั กระทาเพื่อหาผลประโยชน์จากผลงานนัน้ ได้แก่ การขาย มีไว้เพื่อขาย ให้เช่า เสนอ ให้เช่า ให้เช่าซือ้ เสนอให้เช่าซือ้ เผยต่อสาธารณชน แจกจ่ายในลักษณะที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อ เจ้าของลิขสิทธิ์และนาหรือสั่งเข้ามาในราชอาณาจักร

รู ปที่ 11 การละเมิดลิขสิทธิ์

28

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

เรื่องที่ 5 บทกาหนดโทษจากการละเมิดลิขสิทธิ์ 1. กรณีละเมิดลิขสิทธิ์โดยตรง การกระทาอย่างใดอย่างหนึ่งแก่งานอันมีลิขสิทธิ์โดยไม่ไ ด้ร ับ อนุญาต ได้แก่ ทาซา้ หรือดัดแปลง นาออกเผยแพร่ต่อสาธารณชน มาตรา 69 “ผูใ้ ดกระทาการละเมิดลิขสิทธิ์หรือสิทธิของนักแสดงตามมาตรา 27 มาตรา 28 มาตรา 29 มาตรา 30 หรือมาตรา 52 ต้องระวางโทษปรับตัง้ แต่ 20,000 บาทถึง 200,000 บาท ถ้าการกระทาความผิดตามวรรคหนึ่งเป็ นการกระทาเพื่อการค้า ผูก้ ระทาต้องระวางโทษ จาคุก ตัง้ แต่6 เดือนถึง 4 ปี หรือปรับตัง้ แต่ 100,000 บาทถึง 800,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ” 2. กรณีละเมิดลิขสิทธิ์โดยอ้อม การละเมิดโดยบุคคลใดรูอ้ ยู่แล้วหรือมีเหตุอนั ควรรูว้ ่างานใดได้ ทาขึน้ โดยละเมิดลิขสิทธิ์ของผูอ้ ่นื ซึ่งกระทาอย่างใดอย่างหนึ่งแก่งานนัน้ เพื่อหากาไร มาตรา 70 “ผูใ้ ดกระทาการละเมิดลิขสิทธิ์ตามมาตรา 31 ต้องระวางโทษปรับตัง้ แต่ 10,000 บาท ถึง 100,000 บาท ถ้าการกระทาความผิดตามวรรคหนึ่งเป็ นการกระทาเพื่อการค้า ผูก้ ระทาต้องระวางโทษ จาคุก ตัง้ แต่ 3 เดือนถึง 2 ปี หรือปรับตัง้ แต่ 50,000 บาทถึง 400,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ” 3. กรณี ก ารกระท าละเมิ ด ข้ อ มู ล การบริ ห ารสิ ท ธิ แ ละกรณี ก ารละเมิ ด มาตรการทาง เทคโนโลยี มาตรา 70/1 “ผูใ้ ดกระทาการละเมิดข้อมูลการบริหารสิทธิตามมาตรา 53/1 หรือมาตรา 53/2 หรือ ละเมิดมาตรการทางเทคโนโลยีตามมาตรา 53/4 ต้องระวางโทษปรับตัง้ แต่ 10,000 บาทถึง 100,000 บาท” 4. กรณีการทาซ้าโดยการบันทึกเสียงหรือภาพหรือทั้งเสียงและภาพจากภาพยนตร์อันมี ลิขสิทธิ์ ในโรงภาพยนตร์ มาตรา 69/1 “ผูใ้ ดกระทาการละเมิดลิขสิทธิ์ตามมาตรา 28/1 ต้องระวางโทษจาคุกตัง้ แต่ 6 เดือน ถึง 4 ปี หรือปรับตัง้ แต่ 100,000 บาทถึง 800,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ” มาตรา 27 การละเมิดลิขสิทธิ์ท่วั ไปด้วยการทาซา้ ดัดแปลง หรือเผยแพร่ต่อสาธารณชน มาตรา 28 การละเมิดลิขสิทธิ์ในงานโสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ หรือสิ่งบันทึกเสียง มาตรา 29 การละเมิดลิขสิทธิ์ในงานแพร่เสียงแพร่ภาพ มาตรา 30 การละเมิดลิขสิทธิ์ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ มาตรา 52 การละเมิดสิทธิของนักแสดง มาตรา 31 การละเมิดลิขสิทธิ์โดยอ้อม มาตรา 53/1 การละเมิดข้อมูลการบริหารสิทธิโดยตรง มาตรา 53/2 การกระทาอย่างหนึ่งอย่างใดต่องานหรือสาเนางานที่ได้มีการละเมิดข้อมูลการบริหารสิทธิ มาตรา 53/4 การละเมิดมาตรการทางเทคโนโลยี มาตรา 28/1 การละเมิดลิขสิทธิ์ในโรงภาพยนตร์ไม่ว่าทัง้ หมดหรือบางส่วน ในระหว่างการฉายในโรงภาพยนตร์ รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

29

เรื่องที่ 6 ข้อควรรู้หากโดนละเมิดลิขสิทธิ์ กรณีถูกละเมิดลิขสิทธิ์ ร้องทุกข์ต่อเจ้าหน้าที่ตารวจ หรือเจ้าหน้าที่กรม สอบสวนคดีพิเศษ ใช้หลักฐานประกอบการร้องทุกข์ ได้แก่ 1. หลักฐานการสร้างสรรค์ผลงาน หรือหลักฐาน การได้มาซึ่งความเป็ นเจ้าของลิขสิทธิ์โดยเจ้าของ ลิขสิทธิ์

กรณีถูกกล่าวหาว่าละเมิดลิขสิทธิ์ จะต้องมีการตรวจสอบดังนี ้ 1. ตรวจสอบหลักฐานว่าผูก้ ล่าวหาเป็ นเจ้าของ ลิขสิทธิ์จริงหรือไม่ หรือได้มาซึ่งลิขสิทธิ์ดว้ ยวิธีใด เช่น เป็ นผูไ้ ด้รบั อนุญาตให้ใช้งานอันมีลิขสิทธิ์ เป็ น ผูร้ บั โอนลิขสิทธิ์

2. ตรวจสอบว่ามีการแจ้งความร้องทุกข์ต่อ เจ้าหน้าที่ตารวจหรือไม่ เนื่องจากคดีละเมิด 2. หนังสือรับรองลิขสิทธิ์ โดยเจ้าของลิขสิทธิ์หรือ ลิขสิทธิ์เป็ นความผิดที่สามารถยอมความกันได้ ตัวแทนจะต้องนาหนังสือการรับรองลิขสิทธิ์ไป แสดงต่อพนักงานสอบสวน หากไม่มีหนังสือรับรอง จะต้องมีการแจ้งความกับเจ้าหน้าที่ตารวจก่อน ลิขสิทธิ์หรือหนังสือรับรองสิทธิ ให้นาหลักฐานการ ดาเนินการจับกุม และสามารถระงับคดีดว้ ยการ ถอนคาร้อง ถอนฟ้อง หรือยอมความกันตาม เผยแพร่หรือประกาศโฆษณาอันมีลิขสิทธิ์นนั้ ไป กฎหมาย แสดงต่อพนักงานสอบสวน โดยลิขสิทธิ์ดงั กล่าว 3. ตรวจสอบว่าผูก้ ล่าวหามีเจ้าหน้าที่ตารวจมา จะต้องไม่มีอายุการคุม้ ครอง ด้วยหรือไม่ ตรวจสอบว่าเป็ นตารวจจริงหรือไม่โดย 3. ตัวอย่างผลงานที่ละเมิดลิขสิทธิ์และตัวอย่าง การขอดูบตั รเจ้าหน้าที่ตารวจ เนื่องจากการจับกุม ผลงานที่ถกู ละเมิดลิขสิทธิ์ หากเป็ นการละเมิด เป็ นอานาจของเจ้าหน้าที่ตารวจเท่านัน้ ลิขสิทธิโ์ ดยการเผยแพร่ต่อสาธารณะ เจ้าของ 4. การตรวจค้นในพืน้ ที่ เจ้าหน้าที่ตารวจจะต้องมี ลิขสิทธิ์หรือตัวแทนจะต้องนาภาพถ่ายหรือภาพ จาลองวัตถุท่แี สดงถึงพฤติการณ์แห่งการละเมิดไป หมายค้นของศาลมาแสดง จึงจะสามารถตรวจค้นได้ แสดงต่อพนักงานสอบสวน 5. คดีละเมิดลิขสิทธิ์สามารถยอมความกันได้ 4. หนังสือมอบอานาจ ใช้ในกรณีท่เี จ้าของลิขสิทธิ์ ดังนัน้ จึงควรยอมความกันต่อหน้าพนักงาน สอบสวนและบันทึกเป็ นหลักฐาน ไม่ได้มาแจ้งความร้องทุกข์ดว้ ยตนเอง 5. สาเนาบัตรประชาชนหรือหนังสือรับรองนิติ บุคคล พร้อมรับรองสาเนาถูกต้อง

30

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

6. ตรวจสอบหลักฐานการมอบอานาจให้ตวั แทน ดาเนินคดี เช่น มีการมอบอานาจหรือไม่ เอกสาร หมดอายุหรือไม่ มีอานาจร้องทุกข์หรือยอมความ หรือไม่

รู ปที่ 12 ข้อควรรู้หากโดนละเมิดลิขสิทธิ์

รู ปที่ 13 ขั้นตอนการดาเนินการหากโดนละเมิดลิขสิทธิ์ รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

31

เรื่องที่ 7 กรณีศึกษา : การละเมิดลิขสิทธิ์ในโลกออนไลน์ กรณีศึกษา : การละเมิดลิขสิทธิ์วิดีโอออนไลน์ กระทบ ศก.9 หมื่นล้าน ชีป้ ม ก.ม.อ่อนแอไป

รูปที่ 14 การละเมิดลิขสิทธิ์วิดีโอออนไลน์ กระทบ ศก.9 หมื่นล้าน ชีป้ ม ก.ม.อ่อนแอไป ผลวิจยั ชีล้ ะเมิดลิขสิทธิ์วิดีโอออนไลน์กระทบเศรษฐกิจกว่า 9 หมื่นล้าน เหตุการบังคับใช้กฎหมาย อ่อนแอ เสนอให้บงั คับคดีโดยเอกชน แจ้งเตือนผูล้ ะเมิดให้เอาเนือ้ หาออก ตลอดจนดาเนินคดีฟ้องร้องได้เอง ขณะนี ้ แพลตฟอร์ม ออนไลน์กระตุ้นให้เกิดบริการบนอินเทอร์เน็ ต ที่เปิ ดโอกาสให้ผู้ใช้บริก าร สามารถรับชมเนือ้ หาวิดีโอบนแพลตฟอร์ม และยังสามารถเผยแพร่วิดีโอของตนเองบนแพลตฟอร์ม ได้ หรือ VSP (Video-sharing platforms) ปัจจุบนั มีบริการ VSP หลายราย เช่น LINE TV, Vimeo, Facebook, Dailymotion และ YouTube ตลอดจนเว็บไซต์ต่าง ๆ เป็ นต้น ทาให้บุคคลทั่วไปหันมาเป็ นผูส้ ร้างสรรค์สื่อ หรือผูผ้ ลิตเนือ้ หาเอง ทัง้ การคิดขึน้ ใหม่ และรีมิกซ์ พร้อมอัปโหลดเนือ้ หาของตนเองขึน้ แพลตฟอร์มต่าง ๆ ได้อย่างอิสระและง่ายดาย ขณะเดียวกันผูผ้ ลิตสื่อดัง้ เดิมก็ได้ปรับเปลี่ยนมาให้บริการ และเผยแพร่สื่อของตนผ่านทางช่องทาง ดิจิทลั มากยิ่งขึน้ ส่งผลในเชิงบวก ทาให้เกิดเนือ้ หาจานวนมาก และมีความหลากหลายขึน้ นับเป็ นโอกาส ใหม่ท่ีผูส้ ร้างสรรค์จะเผยแพร่และหารายได้จากผลงานของตน ขณะเดียวกันก็เกิดผลกระทบเชิงลบอย่าง มหาศาลเช่นกัน เมื่อการแบ่งปั น หรือเผยแพร่วิดีโอของตนเองได้ง่าย ทาให้ผูใ้ ช้บริการอาจละเมิดลิขสิทธิ์ ของผูอ้ ่ืนได้ง่ายทัง้ โดยเจตนาหรือไม่เจตนา อีกทัง้ เนือ้ หาที่ละเมิดลิขสิทธิ์ยงั มีคณ ุ ภาพทัดเทียมกับต้นฉบับ ทาให้ผู้บริโภคเข้าใจผิ ด เกิดการเสพสื่ อและส่ง ต่อสื่อ ละเมิ ด นั้น ต่อไปไม่ สิ น้ สุ ด และยัง เป็ นเครื่องมื อ “ปั่ นยอดวิว” สร้างเม็ ดเงิ นมหาศาลให้กับผู้กระทาผิดละเมิ ดโดยที่ผู้บริโภคไม่รูต้ ัว ซึ่ง เป็ นเรื่องน่ากลัว ต่ออุตสาหกรรมคอนเทนต์และอุตสาหกรรมต่อเนื่องอย่างมาก

32

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

ผศ.ดร.พั ช รสุ ท ธิ์ สุ จ ริ ต ตานนท์ อาจารย์ ป ระจ าคณะเศรษฐศาสตร์ จุ ฬ าลง กรณ์ มหาวิทยาลัย เปิ ดเผยถึงการละเมิดลิขสิทธิ์บน VSP ก่อให้เกิดผลกระทบกับเศรษฐกิจในภาพรวมได้อย่าง มาก โดยจะก่อให้เกิดความเสียหายโดยตรงกับอุตสาหกรรมคอนเทนต์ เพราะรายได้บางส่วนที่ผู้ผลิ ต เนือ้ หาควรจะได้รบั จากการรับชม ได้ตกไปอยู่ในมือของผูท้ ่ีละเมิดลิขสิทธิ์ หรืออาจจะหายไปจากระบบ เศรษฐกิจเลย ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อเนื่องกับทัง้ ห่วงโซ่มลู ค่าของการผลิตเนือ้ หาทัง้ ในด้านผลผลิตและการ จ้างงาน และสุดท้ายยังจะลดแรงจูงใจในการ ผลิตเนือ้ หา ส่งผลให้คุณภาพและความหลากหลายของ เนือ้ หาลดลง จากการศึกษาใน “โครงการศึกษาผลกระทบทางเศรษฐกิจของการละเมิดลิขสิ ทธิ์ต่ออุตสาหกรรม ของสื่อออนไลน์ในไทยและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและกฎหมาย (COPYRIGHT & VIDEO SHARING PLATFORM หรือ VSP)” ซึ่งจัดทาขึน้ โดย ศูนย์วิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พบความเสียหาย ของการละเมิดลิขสิทธิ์บน VSP ต่อเศรษฐกิจไทยในปี 2017 อยู่ระหว่าง 58,575 ถึง 92,519 ล้านบาท ซึ่ง คิดเป็ นร้อยละ 0.35 ถึง 0.55 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ รวมทัง้ ยังส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรม โดยตรง ทัง้ อุตสาหกรรมการผลิตและจัดจาหน่ายภาพยนตร์ โรงภาพยนตร์ วิทยุ โทรทัศน์ และบริการที่ เกี่ยวข้องอื่น ๆ สูงสุดรวมกว่า 44,782 ล้านบาท ทาให้การจ้างงานลดลงเป็ นจานวน 24,030 ถึง 37,956 ตาแหน่งเลยทีเดียว อี ก ทั้ง การละเมิ ด ลิ ข สิ ท ธิ์ ยัง เป็ น ปั ญ หาส าคัญ ที่ อ าจกระทบต่ อ ความเชื่ อ มั่น ในการลงทุ น ได้ นอกจากนัน้ อิทธิพลจากการถูกละเมิดลิขสิทธิ์ในผลงานของตนเอง ยังส่งผลให้ผสู้ ร้างสรรค์คอนเทนต์รูส้ ึก หมดก าลัง ใจในการผลิ ต งานออกสู่ส าธารณะอย่ า งมี นัย ส าคัญ และยัง ส่ง ผลให้แ พลตฟอร์ม ที่ มี ก าร ดาเนินการซือ้ ขายคอนเทนต์อย่างถูกต้องได้รับผลกระทบอย่างมาก เนื่องจากงานอันมีลิขสิทธิ์อาจถูก ละเมิดโดยไม่ได้รบั การชดเชย หรือมีการนาไปใช้เพื่อการแมชอัป โดยเจ้าของลิขสิทธิเ์ องไม่ได้รบั ส่วนแบ่งด้วย ด้ า น ผศ.ดร.ปิ ยะบุ ต ร บุ ญ อร่ า มเรื อ ง อาจารย์ ป ระจ าคณะนิ ติ ศ าสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย กล่าวถึงข้อวิตกกังวลเกี่ยวกับการละเมิดลิขสิทธิ์บน VSP โดยเฉพาะในหมู่ผูส้ ร้างสรรค์งาน ผูป้ ระกอบการรายใหญ่บางรายก็ได้แสดงความกังวลในเรื่องนีอ้ อกมาตามสื่อสาธารณะต่ าง ๆ ว่าได้รบั ความเสียหายจากการไม่บงั คับใช้กฎหมายลิขสิทธิ์ท่ีดีและชัดเจนพอบน VSP ในประเทศไทย ควบคู่ไปกับ ประเด็นถกเถียงเกี่ยวกับการละเมิดลิขสิทธิ์ เนื่องจากวิดีโอที่นาเข้าสูร่ ะบบ ได้แก่ การโพสต์หรือถ่ายทอดสด วิดีโอของบุคคลอื่นซึ่งเป็ นงานอันมีลิขสิทธิ์ไม่ว่าทัง้ หมดหรือบางส่วน รวมทัง้ การไลฟ์ อาทิ การโพสต์ หรือ ถ่ายทอดสดวิดีโอของตนเอง ที่มีงานอันมีลิขสิทธิ์ของบุคคลอื่นเป็ นองค์ประกอบสาคัญ ตลอดจนการโพสต์ หรื อ ถ่ า ยทอดสดวิ ดี โ อของตนเองที่ เ ป็ น การวิ พ ากษ์วิ จ ารณ์ง านอัน มีลิ ข สิท ธิ์ ข องบุค คลอื่ น ยัง มี ค วาม รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

33

ล่อแหลม และยากต่อการประเมินว่าอาจมีการละเมิดลิขสิทธิ์หรือไม่ ซึ่งบางกรณีก็เห็นได้ชดั บางกรณีก็ไม่ อาจระบุได้ว่าเป็ นการละเมิดลิขสิทธิ์ อาจารย์ค ณะนิ ติ ศ าสตร์ จุฬ าลงกรณ์ฯ กล่า วต่ อ ว่ า ในขณะเดี ย วกัน หากย้อ นมองกลับ มาที่ กฎหมายไทยในปั จจุบนั ผศ.ดร.ปิ ยะบุตร เผยว่า จากการการศึกษาในโครงการฯ ยั งพบข้อมูลที่น่าสนใจว่า ขณะนีผ้ ูใ้ ห้บริการ VSP รายใหญ่มีการทาข้อตกลงกับผูถ้ ือลิขสิทธิ์บริษัทเพลงยักษ์ใหญ่ระดับโลกและใน ไทยเกี่ ยวกับค่ าลิข สิ ทธิ์ ท่ี เ จ้า ของลิข สิท ธิ์จ ะได้รับ ด้วยการต่ อสัญ ญาระยะยาว โดยมีตรวจจับลิ ข สิ ท ธิ์ อัตโนมัติอย่าง Content ID ทาให้สามารถเรียกร้องสิทธิของตนเองผ่านกระบวนการการแจ้งเตือนให้เอา เนือ้ หาออก (Notice and Takedown) สามารถทาได้อย่างรวดเร็ว แต่สาหรับผูป้ ระกอบการรายเล็ก ๆ กลับ ไม่ได้รบั ความคุม้ ครองแบบเดียวกัน ในขณะที่ขอ้ กฎหมายและการบังคับใช้ทางกฎหมายก็ยงั ไม่เอือ้ อานวย ให้ผปู้ ระกอบธุรกิจหรือเจ้าของแพลตฟอร์ม ไม่สามารถจัดการสกัดกัน้ กับผลงานที่ละเมิดลิขสิทธิไ์ ด้ทนั ที ผศ.ดร.ปิ ยะบุตร กล่าวอีกว่า แม้จะมีเทคโนโลยีรองรับแล้วก็ตาม โดยจะต้องมีขนั้ ตอนในการขอ หมายศาล ต้องแจ้งความดาเนินคดีตามกฎหมายอาญาเสี ยก่อน จึงเกิดความยุ่งยากให้กับทัง้ เจ้าของ ลิขสิทธิ์ท่ีจะดาเนินการเอาผิดผูก้ ระทาละเมิด ด้วยเหตุท่ีกระบวนการบังคับคดีโดยรัฐและการมุ่งเน้นไปที่ การบัง คับใช้กฎหมายอาญาเป็ น หลัก นั้น ยัง ขาดประสิ ทธิ ภ าพในการด าเนิ นงาน เห็นได้ชัดจากกรณี ข่าว “เด็กทากระทงละเมิดลิขสิทธิ์โดราเอมอนและคาแรกเตอร์อ่ืน ๆ” ซึ่งต่อมาขยายผลเป็ นเรื่องการใช้ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับลิขสิทธิ์ เพื่อสร้างรายรับหรือประโยชน์อันไม่ควรได้เข้ากระเป๋ าตัวเอง จึงควรที่จะ พิจารณาเพิ่มทางเลือกในการบังคับคดี โดยเอกชนที่ผูป้ ระกอบการสามารถใช้กระบวนการในลักษณะ เดียวกันกับการแจ้งเตือนให้เอาเนือ้ หาออก (notice & takedown) โดยเฉพาะการแจ้งเตือนไปยัง VSP หรือ เจ้าของแพลตฟอร์มนัน้ ๆ ที่ควบคุมดูแลเนือ้ หาโดยตรง เพื่อกระตุน้ ให้ VSP มีความรับผิดชอบที่จะต้องเอา เนือ้ หาที่ ล ะเมิ ดลิ ข สิท ธิ์ ออก ภายหลัง ถูกแจ้ง ว่ าละเมิดลิขสิ ทธิ์ ดังกล่าว (editorial control) และช่ วยให้ เจ้าของลิขสิทธิไ์ ม่จาเป็ นต้องไปดาเนินการบังคับคดีโดยรัฐอีกต่อไป นับเป็ นการสร้างระบบนิเวศน์ในการผลิตคอนเทนต์และเผยแพร่ท่ีปลอดภัยสมบูรณ์ และสร้าง บรรทัดฐานในการบังคับใช้กฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพ ลดภาระการจัดการดูแลของเจ้าหน้าที่ตารวจ ควบคู่ไปกับการสนับสนุนให้ภาครัฐออกมาตรการสนับสนุนผูผ้ ลิตคอนเทนต์ไทย ทัง้ ในแง่ของภาษี และการ ลงทุนที่มีประสิทธิภาพอย่างเร็วที่สดุ เพื่อยับยัง้ การกระทาผิดด้านละเมิดลิขสิทธิ์ในประเทศ และเพิ่มแรง ขับเคลื่อนในการสร้างสรรค์ผลงานของนักคิดและผูผ้ ลิตคอนเทนต์คณ ุ ภาพต่อไป าขอกรณีศกึ ษา : ไทยรัฐออนไลน์ วันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2563 ทีที่ม่มาของกรณี

34

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

แบบฝึ กหัดท้ายบทที่ 2 จงตอบคาถามต่อไปนี้ 1. อธิบายข้อความต่อไปนี ้ 1.1 ความหมายของลิขสิทธิ์ .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 1.2 การได้มาซึ่งลิขสิทธิ์ .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 1.3 หลักเกณ์ในการพิจารณางานลิขสิทธิ์ .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

35

1.4 งานอันมีลิขสิทธิ์และไม่มีลิขสิทธิ์ .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 1.5 ประเภทของงานอันมีลิขสิทธิ์ .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 1.6 ผูถ้ ือครองลิขสิทธิ์ .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 1.7 การคุม้ ครองลิขสิทธิ์และอายุการคุม้ ครองลิขสิทธิ์ .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................

36

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

2. บอกประโยชน์ของลิขสิทธิ์ .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 3. อธิบายขัน้ ตอนการแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

37

4. บอกความแตกต่างกันของการละเมิดลิขสิทธิ์โดยตรงและการละเมิดลิขสิทธิ์โดยอ้อม .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 5. บอกบทกาหนดโทษจากการละเมิดลิขสิทธิ์ .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................

38

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

6. บอกวิธีการปฏิบตั ิตนหากโดนละเมิดลิขสิทธิ์ทางออนไลน์ .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

39

7. กรณีศกึ ษา : แม่คา้ ออนไลน์ โดนจับลิขสิทธิ์ชดุ นอน “การ์ตนู วันพีซ” เมื่อวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2564 ที่ สภ.เมืองตรัง เจ้าหน้าที่ตารวจชุด กองกากับการ 4 กองบังคับ สืบสวนสอบสวนอาชญากรรมทางเทคโนโลยี 5 (กก 4บก.สอท.5) นาโดย พ.ต.ต. กฤตภพ แก้วรอด สารวัตร ฝ่ ายอานวยการ กองบัง คับภาค 9 ปฏิบัติราชการแทนผู้บัญชาการสืบสวนสวนสอบอาชญากรรมทาง เทคโนโลยี พร้อมผูร้ บั มอบอานาจช่วงบริษัท นิว สตาร์ มีเดีย จากัด ผูร้ บั มอบอานาจจากบริษัท ดรีม เอกซ์ เพรส (เดกซ์) จากัด นายนิวฒ ั น์ บุญประมุข ได้รว่ มกันจับกุมนางสาวกรรณิการ์ มีเลิศ อายุ 25 ปี พร้อมด้วย ของกลาง 4 รายการ เป็ น เสื อ้ ผ้า ชุ ด นอนแขนสั้น พร้อ มกางเกงขายาวลายการ์ตูน วัน พี ซ สี ฟ้ า สี ด า รวม 7 ชุด และธนบัตรเงินไทยฉบับละ 100 บาท รวม 4 ใบ โดยจับกุมได้ท่ีรา้ นบนถนนนา้ ผุด ต. ทับเที่ยง อ. เมื อง จ. ตรัง เจ้าหน้าที่ ตารวจได้ตั้ง ข้อกล่าวหา “ละเมิ ดลิขสิ ทธิ์ของผู้อ่ื น เพื่อการค้า ด้วยการขาย เสนอขาย มีไว้เพื่อขาย ซึ่งงานศิลปกรรมลักษณะงานจิ ตกรรมรู ปภาพการ์ตูนวันพีซ เพื่อแสวงหากาไร ทางการค้า โดยไม่ได้รบั อนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์ อันเป็ นความผิด ตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ผูต้ อ้ งหา คือ นางสาวกรรณิการ์ มีเลิศ กล่าวว่า ตนเองมีอาชีพขายเสือ้ ผ้า เดิมขายเสือ้ ผ้าทั่วไป แต่เห็นสินค้าในเพจดังแห่งหนึ่ง จึงเริ่มสั่งซือ้ มาขาย เมื่อวันที่ 6 มีนาคมที่ผ่านมา แต่ไม่ทราบว่าเป็ นสินค้า ปลอม และมีลิขสิทธิ์เครื่องหมายการค้า ซึ่งหากรู ก้ ็จะไม่ส่งั ซือ้ แน่นอน ที่ถูกจับกุม เพราะผูร้ บั มอบอานาจ ทาการล่อซือ้ จากตน หลังตนประกาศขายสินค้าทางเฟซบุ๊กของตนเอง โดยเจ้าหน้าที่ออเดอร์ส่งั ซือ้ จานวน 17 ชุด ตนจึงสั่งซือ้ จากเพจดังกล่าว ตัง้ แต่วนั ที่ 15 มีนาคม และตนเองก็ได้รบั สินค้าเมื่อ 18 มีนาคมที่ผ่านมา สินค้าเป็ นเงิน 1,800 บาท โดยชาระก่อน 1,000 บาท และวันนีส้ ินค้ามาครบ เจ้าหน้าที่จึงชาระเงินให้ตน เพิ่มอีกจานวน 800 บาท เป็ นธนบัตรสดใบละ 100 บาทจานวน 4 ใบ ส่วนที่เหลืออีก 400 บาท ชาระผ่าน “เราชนะ” เมื่ อรับช าระเงิ นแล้ว เจ้าหน้าที่ไ ด้แสดงตัวจับกุม ทันที พร้อมเรียกเงิ นจานวน 70,000 บาท และขู่หากไม่ชาระ จะต้องนาตัวส่งพนักงานสอบสวน ตนเองรับสารภาพว่าซือ้ มาจริง ทางเจ้าหน้า ที่ลดให้ เหลื อ 35,000 บาท แต่ ต นก็ ไ ม่ มี เ งิ น จ่ า ย ทางเจ้า หน้า ที่ จึ ง น าตัว ส่ง พนัก งานสอบสวน สภ.เมื อ งตรัง ดาเนินคดีทนั ที ทั้งนี ้ ตนเอง วอนเจ้าหน้าที่ เห็นใจ เพราะสั่งซือ้ สินค้าจากเพจดัง โดยไม่ทราบเป็ นสินค้าละเมิด ลิขสิทธิ์เครื่องหมายการค้า ตนเองเป็ นแค่ผสู้ ่งั ซือ้ มาขายต่อหารายได้เลีย้ งตัวเองและครอบครัว หากจะจับ สมควรไปจับผูค้ า้ คนกลางกับเพจดัง เพื่อไม่ให้พ่อค้าแม่คา้ สินค้าออนไลน์กลางนา้ ต้องตกเป็ นเหยื่อเหมือน ตนด้วย ทางด้านผูร้ บั มอบอานาจ กล่าวว่า ทางบริษัทให้ทาการ ร้องทุกข์เพื่อดาเนินคดีกบั ผูท้ ่ผี ลิต จาหน่าย สินค้าของบริษัทเสมอมา โดยจะทาการจับกุมผูก้ ระทาผิด ในทุก ๆ จังหวัดที่พบมีการกระทาผิดและละเมิด เครื่องหมายการค้า ที่มาของกรณีศกึ ษา : ONE31 วันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2564

40

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

วิเคราะห์กรณีศกึ ษา .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ผลกระทบที่เกิดขึน้ จากการละเมิดลิขสิทธิ์ในโลกออนไลน์ .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

41

3

บทที่ บทที่ 3 การหมิ่นประมาทในโลกออนไลน์

การหมิ่นประมาทในโลกออนไลน์

เรื่องที่ 1 ความหมายของการหมิ่นประมาท

การหมิ่นประมาท คือ การถูกบุคคลหนึ่งหรือหลายคนใส่ความ โดยกล่าวข้อความที่ไม่เป็ นความ

่องที 1 ความหมายของการหมิ จริเรืงให้ บคุ ่ คลที ่ 3 ทราบ ซึ่งข้อความนัน้ เป็ น่นข้ประมาท อความที่ทาให้เสื่อมเสียชื่อเสียง ทาให้คนฟั งรูส้ กึ รังเกียจ ดูหมิ่น ส้ กึ ไม่การหมิ กบุคดคลหนึ อหลายคนใส่ความ โดยกล่าวข้อความที่ไม่เป็นความ และรู ดีต่อผูถ้ ่นกู ประมาท ใส่ความ ถืคืออเป็การถู นความผิ ฐานหมิ่งหรื ่นประมาท

จริงให้บุคคลที่ 3 ทราบ ซึ่งข้อความนั้นเป็นข้อความที่ท�ำให้เสื่อมเสียชื่อเสียง ท�ำให้คนฟังรู้สึกรังเกียจ ดูหมิ่น โดยการหมิ่นประมาท ต้องเป็ นการกระทาโดยมีเจตนาที่จะใส่ความ โดยการใส่ความนัน้ ไม่จากัด และรู้สึกไม่ดีต่อผู้ถูกใส่ความ ถือเป็นความผิดฐานหมิ่นประมาท วิธี เช่น การพูดต่อหน้า การแสดงกิริยา การพิมพ์ขอ้ ความทางแชตไลน์ การโพสต์ภาพและข้อความในอินสตาแก โดยการหมิ่นประมาท ต้องเป็นการกระท�ำโดยมีเจตนาที่จะใส่ความ โดยการใส่ความนั้นไม่จ�ำกัด รม ต่อบุคคลที่ 3 รวมทัง้ การหมิ่นประมาทด้วยการโฆษณา เช่น การประกาศทางหนังสือพิมพ์ การพิ มพ์ วิธี เช่น การพูดต่อหน้า การแสดงกิรยิ า การพิมพ์ขอ้ ความทางแชตไลน์ การโพสต์ภาพและข้อความในอินสตา ข้แกรม อความผ่ อสื่อ้งสัการหมิ งคมออนไลน์ ประเภทอื ่น ๆ ต่อาบุนเฟซบุ คคลที๊ก่ 3หรืรวมทั ่นประมาทด้ วยการโฆษณา เช่น การประกาศทางหนังสือพิมพ์ การพิมพ์ ข้อความผ่ านเฟซบุ ๊ก หรือนสืถ้่อสัยค งคมออนไลน์ ่น จๆจริงในอดีตหรือในปั จจุบนั หรือ เป็ นข้อเท็จจริงที่ โดยมี ลกั ษณะเป็ าที่เป็ นการยืปนระเภทอื ยันข้อเท็ ถ้อยค�ำมทีเครื ่เป็นอการยื แน่ นอนไม่โดยมี ใช่ขอ้ ลเท็ักจษณะเป็ จริงที่มีคนวามคลุ เช่น นยันข้อเท็จจริงในอดีตหรือในปัจจุบัน หรือ เป็นข้อเท็จจริงที่ แน่นอนไม่ใช่ข้อ-เท็นางสาวเอ จจริงที่มีความคลุ มเครืนอของบริ เช่น ษัท ทุจริตโกงเงิ นางสาวเอ นของบริ - -นายบี แอบเป็ทุนจชูริตก้ โกงเงิ บั ภรรยาผู อ้ ่นื ษัท - นายบี แอบเป็นชู้กับภรรยาผู้อื่น - เจ้าหน้าที่ซี ทุจริตรับสินบน - เจ้าหน้าที่ซี ทุจริตรับสินบน คค�าว่ำว่าาใส่ใส่คความในที วามในที่น่นี ้ เป็ ี้ เป็นนถ้ถ้ออยคยค�าในกฎหมาย ำในกฎหมายหมายถึ หมายถึง งการท การท�าให้ ำให้ปปรากฏข้ รากฏข้อเท็ อเท็จจริ จจริง งซึ่งซึอาจเป็ ่งอาจเป็นน ความจริ หากเป็ นถ้นอถ้ยค าทีำ่มทีีล่มักีลษณะเป็ นการหมิ ่ น ่น ความจริงหรื งหรืออความเท็ ความเท็จจก็ก็ได้ได้แม้แม้จะอ้ จะอ้างว่ างว่าตนพู าตนพูดดความจริ ความจริง งแต่แต่ หากเป็ อยค� ักษณะเป็ นการหมิ ประมาท าก็ำก็ ประมาทผูกผู้ ระท ้กระท�าก็ำตก็ตอ้ งรั ้องรับบโทษตามกฎหมาย โทษตามกฎหมายเพราะการหมิ เพราะการหมิ่น่นประมาทนั ประมาทนัน้ ้น“ยิ“ยิ่งเป็่งเป็นความจริ นความจริงจริ งจริง งผูก้ ผูระท ้กระท� ยิยิ่งมี่งมีคความผิ วามผิดด” ”

่ 15การหมิ การหมิ่น่นประมาท ประมาท รู ปรูทีปที่ 15 42

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

เรื่องที่ 2 พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ และกฎหมายทีเ่ กี่ยวกับการหมิ่นประมาทออนไลน์ พ.ร.บ. คอมพิ ว เตอร์ พ.ศ. 2560 มี ก ารปรับ ปรุ ง เนื ้อ หาบางส่ ว นจาก พ.ร.บ. คอมพิ ว เตอร์ พ.ศ. 2550 เช่น มีการนาฐานความผิดที่ใช้กบั เรื่องฉ้อโกงปลอมแปลงทางออนไลน์ ไปใช้กบั การหมิ่นประมาท ซึ่งกฎหมายระบุว่า “ไม่ สามารถยอมความได้” จึง มีก ารนา “ความผิ ดหมิ่ นประมาท” ออกจาก พ.ร.บ. คอมพิ ว เตอร์ แต่ ไ ปบัง คั บ ใช้ด้ว ยประมวลกฎหมายอาญาแทน เพื ่อ ให้ก ารบัง คับ ใช้ก ฎหมายมี ประสิทธิ ภ าพมากขึ น้ แต่หากข้อมูล ที่แ ชร์ไ ป เป็ นข้อความเท็จ ที่เกี่ยวกับการหมิ่น ประมาท จะทาให้ ผิด พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ดว้ ย มาตรา 14 (1) นาเข้าสูร่ ะบบคอมพิวเตอร์ซง่ึ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ที่บิดเบือน หรือปลอม ไม่ว่าทัง้ หมด หรือบางส่วน หรือข้อมูล คอมพิวเตอร์อันเป็ นเท็จ โดนประการที่น่าจะเกิดความเสี ยหายแก่ประชาชน อันมิใช่การกระทาความผิดฐานหมิ่นประมาทตามประมวลกฎหมายอาญา มีโทษจาคุกไม่เกิน 5 ปี มีโทษ ปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ มาตรา 14 (2) นาเข้าสูร่ ะบบคอมพิวเตอร์ซ่งึ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ อันเป็ นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิด ความเสียหายต่อการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทาง เศรษฐกิจของประเทศ หรือโครงสร้างพืน้ ฐาน อันเป็ นประโยชน์สาธารณะของประเทศ หรือก่อให้เกิ ดความ ตื่นตระหนกแก่ประชาชน มีโทษจาคุกไม่เกิน 5 ปี มีโทษปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ มาตรา 14 (3) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซ่งึ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ อันเป็ นความผิดเกี่ยวกับความ มั่นคงแห่งราชอาณาจักรหรือความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา มีโทษจาคุกไม่เกิน 5 ปี มีโทษปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ มาตรา 14 (4) นาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซ่ึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ ที่มีลักษณะอันลามก และ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ นัน้ ประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้ มีโทษจาคุกไม่เกิน 5 ปี มีโทษปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ มาตรา 14 (5) น าเข้ า สู่ ร ะบบคอมพิ ว เตอร์ซ่ึ ง ข้ อ มู ล คอมพิ ว เตอร์ โดยรู ้ อ ยู่ แ ล้ ว ว่ า เป็ น ข้อมูลคอมพิวเตอร์ตาม (1) (2) (3) หรือ (4) มีโทษจาคุกไม่เกิน 5 ปี มีโทษปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือ ทัง้ จาทัง้ ปรับ

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

43

การหมิ่นประมาทออนไลน์ หรือการหมิ่นประมาทผูอ้ ่ืนทางอินเทอร์เน็ต เป็ นความผิดตามประมวล กฎหมายอาญา ว่าด้วยการหมิ่นประมาทด้วยโฆษณา ดังต่อไปนี ้ 1. มาตรา 326 ผูใ้ ดใส่ความผูอ้ ่ืนต่อบุคคลที่ 3 โดยประการที่น่าจะทาให้ผอู้ ่ืนนัน้ เสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น หรือถูกเกลียดชัง ผูน้ นั้ กระทาความผิดฐานหมิ่นประมาท ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ 2. มาตรา 327 ผูใ้ ดใส่ความผูต้ ายต่อบุคคลที่ 3 และการใส่ความนัน้ น่าจะเป็ นเหตุให้ บิดา มารดา คู่สมรส หรือบุตรของผูต้ ายเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่นหรือถูกเกลียดชัง ผูน้ นั้ กระทาความผิดฐานหมิ่นประมาท ต้องระวางโทษดังบัญญัติไว้ใน มาตรา 326 นัน้ 3. มาตรา 328 ถ้าความผิดฐานหมิ่นประมาทได้กระทาโดยการโฆษณา ด้วยเอกสาร ภาพวาด ภาพระบายสี ภาพยนตร์ ภาพหรือตัวอักษรที่ทาให้ปรากฏด้วยวิธี ใ ด ๆ แผ่ นเสี ยง หรือสิ่ง บันทึกเสี ย ง บันทึกภาพ หรือบันทึกอักษร กระทาโดยการกระจายเสี ยง หรือการกระจายภาพ หรือโดยกระทาการ ป่ าวประกาศด้วยวิธีอ่นื ผูก้ ระทาต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปี และปรับไม่เกิน 200,000 บาท 4. มาตรา 329 ผูใ้ ดแสดงความคิดเห็นหรือข้อความใดโดยสุจริตผูน้ นั้ ไม่มีความผิดฐานหมิ่นประมาท (1) เพื่อความชอบธรรม ป้องกันตนหรือป้องกันส่วนได้เสียเกี่ยวกับตนตามคลองธรรม (2) ในฐานะเป็ นเจ้าพนักงานปฏิบตั ิการตามหน้าที่ (3) ติชมด้วยความเป็ นธรรม ซึ่งบุคคลหรือสิ่งใดอันเป็ นวิสยั ของประชาชนย่อมกระทา หรือ (4) ในการแจ้งข่าวด้วยความเป็ นธรรม เรื่องการดาเนินการอันเปิ ด เผยในศาลหรือในการประชุม 5. มาตรา 330 ในกรณีหมิ่นประมาท ถ้าผูถ้ ูกหาว่ากระทาความผิด พิสูจน์ได้ว่าข้อที่หาว่าเป็ น หมิ่นประมาทนัน้ เป็ นความจริง ผูน้ นั้ ไม่ตอ้ งรับโทษแต่หา้ มไม่ให้พิสจู น์ ถ้าข้อที่หาว่าเป็ นหมิ่นประมาทนั้ น เป็ นการใส่ความในเรื่องส่วนตัว และการพิสจู น์จะไม่เป็ นประโยชน์แก่ประชาชน 6. มาตรา 331 คู่ความ หรือทนายความของคู่ค วาม ซึ่ง แสดงความคิ ดเห็ น หรือข้อความใน กระบวนพิจารณาคดีในศาล เพื่อประโยชน์แก่คดี ของตน ไม่มีความผิดฐานหมิ่นประมาท 7. มาตรา 332 ในคดีหมิ่นประมาทซึ่งมีคาพิพากษาว่าจาเลยมีความผิด ศาลอาจสั่ง (1) ให้ยดึ และทาลายวัตถุหรือส่วนของวัตถุท่มี ีขอ้ ความหมิ่นประมาท (2) ให้โฆษณาคาพิพากษาทัง้ หมด หรือแต่บางส่วนในหนังสือ พิมพ์หนึ่งฉบับหรือหลายฉบับครัง้ เดียวหรือหลายครัง้ โดยให้จาเลย เป็ นผูช้ าระค่าโฆษณา 8. มาตรา 333 ความผิดในหมวดนีเ้ ป็ นความผิดอันยอมความได้ ถ้าผูเ้ สียหายในความผิดฐาน หมิ่นประมาทตายเสียก่อนร้องทุกข์ ให้บิดามารดา คู่สมรส หรือบุตรของผูเ้ สียหายร้องทุกข์ได้ และให้ ถือว่า เป็ นผูเ้ สียหาย

44

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

เรื่องที่ 3 ขั้นตอนการดาเนินการเมื่อถูกกระทาการหมิ่นประมาทออนไลน์ ขัน้ ตอนการดาเนินการเมื่อถูกกระทาการหมิ่นประมาทออนไลน์ มีดงั นี ้ 1. รวบรวมหลักฐานในการฟ้องคดีหมิ่นประมาทออนไลน์ ได้แก่ - เก็บภาพหลักฐานที่โพสต์หมิ่นประมาทให้ได้มากที่สดุ ด้วยการแคปหน้าจอ หรืออัดวิดีโอ ภาพหน้าจอ - เก็บหลักฐานรูปโปรไฟล์ของบุคคลที่หมิ่นประมาท เพื่อให้เห็นว่าบุคคลนัน้ เป็ นคนกระทา และมีตวั ตนอยู่จริง 2. การหมิ่นประมาทออนไลน์ เป็ นการหมิ่นประมาทที่ผอู้ ่ืนสามารถเห็นได้ทกุ ท้องที่ใน ราชอาณาจักร จึงสามารถไปแจ้งความที่ทอ้ งที่ใดก็ได้ 3. ดาเนินการยื่นฟ้อง มี 3 วิธีการฟ้อง ดังนี ้ 1) ฟ้ อ งเป็ น คดี อ าญา (โดยไม่ ไ ด้เ รี ย กค่ า เสี ย หายเข้า ไปในคดี แ ละไม่ ไ ด้ฟ้ อ งคดี แ พ่ ง ต่างหาก) โดยยื่นคาฟ้องในคดีอาญาข้อหาหมิ่นประมาทโดยการโฆษณาเท่านัน้ โดยวิธีการเรียกค่าเสียหาย นัน้ ผูเ้ สียหายจะใช้วิธีนายอดเงินที่ตนต้องการไปเจรจากับจาเลยในชัน้ ศาลในวันนัดไกล่เกลี่ย วันนัดไต่สวน มูลฟ้อง หรือการไกล่เกลี่ยไต่สวนมูลฟ้อง โดยหากตกลงกันได้ ได้ยอดค่าเสียหายที่พงึ พอใจ เมื่อจาเลยชาระ ค่าเสียหายแล้วโจทก์ก็ทาการถอนฟ้อง ถือเป็ นการเสร็จสิน้ 2) ฟ้องคดีอาญาควบคู่คดีแพ่ง เป็ นการต่อยอดจากวิธีท่ี 1 คือ นอกจากผูเ้ สียหายจะยื่น ฟ้องคดีอาญาแล้ว ยังยื่นฟ้องคดีแพ่ง เพื่อเรียกค่าเสียหายจากจาเลย 2 ทาง โดยในคดีอาญาเป็ นมาตรการ บังคับโทษจาคุกหรือปรับ ส่วนของค่าเสียหายแยกไปฟ้องเป็ นคดีแพ่ง ผูเ้ สียหายมีหน้าที่จะต้องพิสจู น์ความ เสียหายต่อศาล หากการกระทาของจาเลยในคดีอาญาเป็ นความผิด ในส่วนของคดีแพ่งก็พิสจู น์กนั เฉพาะ เรื่องของค่าเสียหาย ในการฟ้องแบบนีจ้ ะมีประสิทธิภาพมาก แต่จะต้องดาเนินการยื่นฟ้อง 2 คดี จะต้องใช้ เวลาในการมาศาลถึง 2 คดี และในส่วนของคดีแพ่งจะต้องเสียค่าดาเนินการรวมถึงค่าธรรมเนียมศาลด้วย 3) ยื่นฟ้องคดีอาญาโดยเรียกค่าเสียหายทางแพ่ง ร่วมกับคดีอาญา การดาเนินการรูปแบบ นีเ้ ป็ นวิธีท่ีสามารถเรียกค่าเสียหายจากจาเลยได้เช่นเดียวกับวิธีท่ี 2 แต่รวบการพิจารณาคดีให้เหลือในคดี เดียว โดยการเสียค่าธรรมเนียมศาลนัน้ เช่นเดียวกับคดีแพ่ง แต่ลดการเดินทางไปศาลเหลือ 1 คดี มีความ สะดวกมากกว่า แต่ในการพิสจู น์ค่าเสียหายนัน้ อาจพิสจู น์ยากกว่าหรืออาจได้ค่าเสียหายน้อยกว่าวิธีการ ฟ้องแยกแบบวิธีท่ี 2

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

45

เรื่องที่ 4 บทลงโทษของการหมิ่นประมาทออนไลน์ ฐานความผิด

ระวางโทษ จาคุก/ปี ปรับ/ บาท

≤ 6 เดือน

≤ 1,000

≤1

≤ 2,000

≤1

≤ 20,000

≤1

≤ 2,000

≤2

≤ 4,000

≤2

≤ 200,000

หมิ่นศาล

≤2 ≤3 1-7

หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ

≤7 ≤7 3 -15

≤ 1,000 ≤ 6,000 2,00014,000 ≤ 5,000 -

หมิ่นประมาท

หมิ่นประมาทด้วยการโฆษณา

หมิ่นประมาทต่อพระราชโอรส พระ ≤ 3 ราชธิดา ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ไม่ว่า รัชกาลหนึ่งรัชกาลใด สั่งสอนทฤษฎีการเมืองหรือเศรษฐกิจ ≤ 10 เพื่อให้บงั เกิดความเกลียดชังดูหมิ่น สมเด็จพระเจ้าอยู่หวั หรือเกิดความเกลียดชังระหว่างชนชัน้

46

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

≤ 2,000

≤ 5,000

กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้อง กฎหมายลักษณอาญา ร.ศ. 127 มาตรา 282 ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2499 มาตรา 326 คาสั่งคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ฉบับที่ 41 (21 ตุลาคม พ.ศ. 2519) พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมาย อาญา (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2535 กฎหมายลักษณอาญา ร.ศ. 127 มาตรา 282 ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2499 มาตรา 328 คาสั่งคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ฉบับที่ 41 (21 ตุลาคม พ.ศ. 2519) พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมาย อาญา (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2535 กฎหมายลักษณอาญา ร.ศ. 127 มาตรา 151 ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2499 มาตรา 198 คาสั่งคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ฉบับที่ 41 (21 ตุลาคม พ.ศ. 2519) กฎหมายลักษณอาญา ร.ศ. 127 มาตรา 98 ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2499 มาตรา 112 คาสั่งคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ฉบับที่ 41 (21 ตุลาคม พ.ศ. 2519) กฎหมายลักษณอาญา ร.ศ. 127 มาตรา 100 (ยกเลิกไปโดยการออกใช้ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2499) พระราชบัญญัติแก้ไขกฎหมายลักษณอาญา พ.ศ. 2470 (เป็ นการแก้ไขกฎหมายลักษณอาญา ร.ศ. 127 มาตรา 104) (ยกเลิกไปโดยการออกใช้ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2499)

เรื่องที่ 5 กรณีศึกษา : การหมิ่นประมาททางออนไลน์ กรณีศึกษา : รองโฆษก ตร. ชี้ พ่อค้าก๋วยเตี๋ยวโพสต์บูลลี่ลูกค้า ผิดข้อหาหมิ่นประมาท

รู ปที่ 16 กรณีศึกษา : รองโฆษก ตร. ชี้ พ่อค้าก๋วยเตี๋ยวโพสต์บูลลี่ลูกค้า ผิดข้อหาหมิ่นประมาท วันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2563 พ.ต.อ.กฤษณะ พัฒนเจริญ รอง โฆษก ตร. เปิ ดเผยถึงกรณี ท่ีสื่ อ ได้นาเสนอข่าวเจ้าของร้านก๋วยเตี๋ยวถ่ายรู ปลูกค้า แล้วในไปโพสต์วิจ ารณ์ในโลกออนไลน์ ซึ่ง เหตุเกิด ในพืน้ ที่ สภ.ทุ่งลุง จ.สงขลา ว่า ได้รบั รายงานจาก สภ.ทุ่งลุง ว่าเมื่อวันที่ 5 ส.ค. 2563 ได้มีผเู้ สียหาย เป็ น หญิงอายุ 24 ปี มาแจ้งความร้องทุกข์ต่อพนักงานสอบสวนให้ดาเนินคดีกับชายรายหนึ่ง อายุ 28 ปี ใน ความผิดฐาน “หมิ่นประมาทโดยการโฆษณา ฯ” ตาม ป.อาญา ม. 328 ซึ่งมีอตั ราโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปี และ ปรับไม่เกิน 200,000 บาท จากกรณี เ มื่ อวันที่ 3 สิ ง หาคม พ.ศ. 2563 เวลาประมาณ 22.30 น. ผู้เสี ยหายและเพื่อนไปกิน ก๋วยเตี๋ยวที่รา้ นแห่งหนึ่ง บริเวณถนนนวลแก้วอุทิศ ต. คอหงส์ อ. หาดใหญ่ จ. สงขลา โดยหลังจากทางเสร็จ ได้เดินไปจ่ายเงินที่รถเข็นร้านก๋วยเตี๋ยว โดยคนที่รบั เงินเป็ นผูช้ าย แลได้เดินทางกลับบ้าน ต่อมาในวันที่ 4 สิ ง หาคม พ.ศ. 2563 ผู้เ สี ย หายได้เ ปิ ด ดูเ ฟซบุ๊ก ของตนและได้พ บว่ า ถูก แอบถ่ า ยขณะที่ ต นได้น่ ัง ทาน ก๋วยเตี๋ยวกับเพื่อนในวันดังกล่าวข้างต้น

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

47

โดยผูโ้ พสต์ได้เขียนข้อความระบุว่า “โทษนะคับคุณลูกค้าแต่ผมเห็นรูปนีแ้ ล้ว ผมรูส้ ึกว่าเมียผมหุ่น ดีมากเลย” และเมื่อได้เห็นภาพหน้าตาของเจ้าของเฟซบุ๊ก ดังกล่าวก็จาได้ทันทีว่าเป็ นเป็ นคนที่เก็บเงิ น ค่าอาหารกับตนที่รา้ นก๋วยเตี๋ยวก่อนหน้านี ้ อีกทัง้ โพสต์ดงั กล่าวได้ถกู แชร์ลงในสื่อสังคมออนไลน์หลายครัง้ ทาให้ตนได้รบั ความเสียหาย ทัง้ นี ้ ทางเจ้าหน้าตารวจได้รบั คดีนีไ้ ว้แล้ว ทาการรวบรวมพยานหลักฐาน นัดสอบปากคาพยาน ที่เกี่ยวข้อง และดาเนินการตามขัน้ ตอนของกฎหมายต่อไป โดยจะให้ความเป็ นธรรมกับทุกฝ่ าย รองโฆษก ตร. กล่าวต่ออีกว่า การกระทาในลักษณะดังกล่าว นอกจากเป็ นการกระทาที่อาจเข้า ข่ายผิดกฎหมายในความผิดฐาน “หมิ่นประมาทโดยการโฆษณา ฯ” ตาม ป.อาญา ม. 328 หรือความผิดอื่น ที่เกี่ยวเนื่องแล้ว ยังอาจส่งผลให้ผูอ้ ่ืนได้รบั ความเสียหาย อีกทัง้ เป็ นการกระทาที่ไม่เหมาะสม ไม่ควรเอา เป็ นเยี่ยงอย่าง พร้อมกันนี ้ ขอฝากเตือนในการโพสต์หรือแชร์ข้อมูล หรือภาพต่าง ๆ บนสื่อสังคมออนไลน์หรื อ ช่องทางอื่น ๆ ควรกระทาการในลักษณะที่ไม่กระทบหรือละเมิดสิทธิของผูอ้ ่ื น อย่ากระทาการด้วยความ คึกคะนอง ส่งผลให้ผอู้ ่นื ได้รบั ความเสียหาย ควรใช้ช่องทางออนไลน์ไปในทางที่ดีหรือทางสร้างสรรค์ ทัง้ นี ้ หากมีผเู้ สียหายได้รบั ความเสียหายจากการกระทาในลักษณะดังกล่าว ก็สามารถมาร้องทุกข์ มอบคดีให้พนักงานสอบสวนในพืน้ ที่เกิดเหตุหรือใกล้บา้ นดาเนินการตามขัน้ ตอนของกฎหมายต่อไปได้ ที่มาของกรณีศกึ ษา : ช่อง 8 วันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2563

48

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

แบบฝึ กหัดท้ายบทที่ 3 จงตอบคาถามต่อไปนี้ 1. อธิบายความหมายของการหมิ่นประมาท .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 2. อธิบายสาระสาคัญของพ.ร.บ. คอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวกับการหมิ่นประมาทออนไลน์ .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

49

3. พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวกับการหมิ่นประมาทออนไลน์มีความสาคัญอย่างไร .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 4. บอกขัน้ ตอนและข้อปฏิบตั ิตนในการดาเนินการเมื่อถูกหมิ่นประมาทออนไลน์ .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 5. บอกโทษของการหมิ่นประมาทออนไลน์ .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................

50

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

6. กรณีศกึ ษา : “อ๋อม สกาวใจ” จัดหนักฟ้องเกรียนคียบ์ อร์ด เรียกค่าเสียหาย 2 ล้านบาท อ๋อม-สกาวใจ จัดหนักเกรียนคียบ์ อร์ดยื่นศาลขอเป็ นโจทก์ร่วม เรียกค่าเสียหาย 2 ล้านบาท หลัง ถูกหมิ่นประมาททางสื่อออนไลน์ ทาครอบครัวเสื่อมเสียชื่อเสียง หวาดกลัวเพราะถูกขู่ฆ่า นักแสดงสาวเผย คู่กรณีเป็ น 1 ใน 4 คนที่แจ้งความไว้ ถึงแม้รบั สารภาพในชั้นสอบสวน โทร. มาอ้อนวอนไม่ให้เอาความ ขอต่อรองเรื่องค่าเสียหาย แต่ไม่ใจอ่อน คนผิดต้องรับผิด อุทาหรณ์เกรียนคียบ์ อร์ดเจอคนจริงฟ้องศาลเรียกค่าเสียหายจุก เปิ ดเผยขึน้ เมื่อเวลา 10.00 น. วันที่ 11 เมษายน ที่ศาลอาญามีนบุรี น.ส.สกาวใจ หรืออ๋อม พูลสวัสดิ์ นักแสดงชื่อดัง พร้อมนายวิเชียร ชุบ ไธสง ทนายความ ยื่นคาร้องขอเป็ นโจทก์ร่วม และขอให้ น.ส.ศิขรินทร์ คาโยธา จาเลยชดใช้ค่าสินไหม ทดแทน กรณีถูกจาเลยใส่ความหมิ่นประมาททางสื่อออนไลน์ สืบเนื่องจากเมื่อปี ท่ีแล้วได้ไปแจ้งความเพื่อ เอาผิดบุคคล 4 คน ที่ได้โพสต์ขอ้ ความที่มีลกั ษณะข่มขู่คุกคามและด่าทอด้วยถ้อยคาหยาบคาย ไม่เป็ น ความจริง และทาให้ น.ส.สกาวใจและครอบครัวได้รบั ความเสียหาย และเป็ นบุคคลรายเดิม ๆ จนทาให้รูส้ ึก ว่าไม่ควรถูกกระทาเช่นนี ้ ตัดสินใจแจ้งความเอาผิดข้อหาหมิ่นประมาท แจ้งดาเนินคดีไว้ท่ี สน.ร่มเกล้า น.ส.สกาวใจเปิ ดเผยว่า ที่ผ่านมายังไม่เคยเจอคู่กรณี แต่มีค่กู รณีหลายรายที่โทรศัพท์มาขอโทษ แต่ไม่ได้คุยอะไรกันมาก สาหรับบุคคลในวันนีเ้ ป็ นอีกคนที่สาคัญ เพราะมีการกล่าวหาร้ายแรง รวมถึงขู่ฆ่า ด้วย ที่ผ่านมาแม้จะโทรศัพท์มาขอโทษ พูดจาหว่านล้อมให้ไม่เอาความ และต่อรองเรื่องค่าเสียหาย บอกว่า เป็ นเพียงคนธรรมดา ไม่ได้ร่ารวย แต่เราก็แค่รบั ฟั ง ไม่ใจอ่อน บอกว่าให้ติดต่อกับทนาย คนทาผิดต้องยอมรับผิด ในส่วนเงิน 2 ล้านบาทนัน้ ใจจริงตัง้ ใจจะเรียกมากกว่านี ้ เพราะข้อความที่ โพสต์นนั้ ทาให้เราไม่ปลอดภัย พูดถึงลูกและสามีในกรณีข่ฆู ่า ไม่รูว้ ่าคนสมัยนีค้ ิดอะไรพูดจริงหรือพูดเล่น ไปไหนมาไหนก็กังวล และระมัดระวังหลังจากที่ไปแจ้งความเมื่อปี ท่ีแล้ว ข้อความหมิ่นประมาทน้อยลง แต่ก็ยงั มี บางคนลบโพสต์ แต่เราเก็บหลักฐานไว้ทงั้ หมดแล้ว อยากจะฝากเตือนไปยังเกรียนคียบ์ อร์ดก่อน ทาอะไร จะพูดว่าใคร ต้องคิดให้ดี เพราะทุกอย่างจะเป็ นหลักฐานทัง้ หมด ด้านนายวิเชียร ชุบไธสง ทนายความ กล่าวว่า วันนีพ้ นักงานอัยการนัดหมายให้ 1 ใน 4 ผูต้ อ้ งหา คือ น.ส.ศิขรินทร์ เพื่อมายื่นฟ้องที่ศาล หลังจากรับสารภาพชัน้ พนักงานสอบสวน คุณอ๋อมได้ย่ืนคาร้องขอ เป็ นโจทก์รว่ ม และขอให้ชดใช้ค่าเสียหาย 2 ล้านบาท ที่ตอ้ งยื่นคาร้องเพราะถ้าวันนีศ้ าลมีคาพิพากษา การ ยื่นคาร้องสินไหมทดแทนต้องฟ้องเป็ นคดีใหม่ ดังนัน้ ต้องทาในวันนี ้ ส่วนศาลจะว่ายังไง จาเลยจะต่อรอง อย่างไร ขึน้ อยู่กับคุณ อ๋อม ส าหรับคดีนีท้ ่ีแจ้ง ความต่อพนักงานสอบสวนไว้มี 4 ราย วันนีเ้ ป็ นรายแรก ส่วนรายอื่นยังอยู่ในกระบวนการการสอบสวน โดยในวันนีศ้ าลรับเรื่องและจะนัดสอบคาให้การต่อไป ที่มาของกรณีศกึ ษา : ไทยรัฐออนไลน์ วันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2565

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

51

วิเคราะห์กรณีศกึ ษา .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ผลกระทบที่เกิดขึน้ จากการหมิ่นประมาทในโลกออนไลน์ .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................

52

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

แบบทดสอบหลังเรียน แบบทดสอบหลังเรียน จงเลือกคำตอบทีถ่ ูกต้องทีส่ ุด 1. พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2560 หมวดที่ 1 ว่าด้วยเรื่องอะไร ก. ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ข. ความผิดเกี่ยวกับพระราชบัญญัติ ค. ความผิดเกี่ยวกับพนักงานราชการ ง. ความผิดเกี่ยวกับการเดินทางทางอากาศ 2. หากซือ้ ของจากเว็บไซต์แล้วได้รบั สินค้าไม่ตรงกับของที่ส่งั และไม่สามารถขอเปลี่ยนสินค้าหรือคืนเงินได้ จะสามารถฟ้องร้องคดีตาม พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์มาตราใด ก. มาตรา 12 ข. มาตรา 13 ค. มาตรา 14 ง. มาตรา 15 3. การกระทาในข้อใดมีความผิดตาม พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ มาตรา 11 ก. ตัดต่อภาพของบุคคลอื่น แล้วโพสต์ในเฟซบุ๊ก ข. ร่วมคอมเมนต์ด่าทอดาราที่เลิกรากันในอินสตาแกรม ค. ส่ง SMS ขายสินค้าไปยังผูอ้ ่นื โดยปกปิ ดแหล่งข้อมูลที่สง่ ข้อความ ง. โพสต์ภาพผูเ้ สียชีวิตแบบไม่ปิดบังใบหน้า ทาให้เกิดความอับอายต่อครอบครัว

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

53

4. ลิขสิทธิ์คืออะไร ก. สิทธิในการสร้างสรรค์ผลงาน ข. สิทธิในการสร้างสรรค์ผลงาน ใด ๆ ที่เหมือนกับผูอ้ ่นื ค. สิทธิแต่ผเู้ ดียวที่จะทาการใด ๆ เกี่ยวกับงานที่ผสู้ ร้างสรรค์ได้ทาขึน้ ง. สิทธิแต่ผเู้ ดียวที่จะทาการใด ๆ เกี่ยวกับงานที่ผสู้ ร้างสรรค์ได้คดั ลอกมา 5. โปรแกรมคอมพิวเตอร์จดั อยู่ในงานสร้างสรรค์ประเภทใด ก. ศิลปกรรม ข. ดนตรีกรรม ค. ภาพยนตร์ ง. วรรณกรรม 6. ข้อใดไม่ใช่หลักเกณฑ์ในการพิจารณางานลิขสิทธิ์ ก. เป็ นผลงานที่แสดงออกถึงความคิด ข. เป็ นผลงานที่สร้างสรรค์ขนึ ้ ด้วยตนเอง ค. เป็ นผลงานที่ขดั ต่อศีลธรรมที่ดีงามของสังคม ง. เป็ นผลงานที่มีลกั ษณะเข้าข่ายประเภทงานที่กฎหมายลิขสิทธิ์รบั รอง 7. ผลงานใดไม่ถือว่ำเป็ นงานอันมีลิขสิทธิ์ ก. ภาพยนตร์ ข. เพลงบรรเลง ค. จิตรกรรมฝาผนัง ง. รายงานข่าวประจาวัน

54

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

8. ข้อใดเป็ นการหมิ่นประมาท ก. สมใจพูดกับสมพรว่า “สมชายทุจริตรับสินบน” ข. สมใจพูดกับสมชายว่า “เธอทุจริตรับสินบนหรอ” ค. สมใจเห็นพฤติกรรมของสมชายว่า สมชายรับสินบน ง. ไม่มีขอ้ ใดถูก 9. การหมิ่นประมาทในอินเทอร์เน็ตแบบใดมีโทษมากที่สดุ ก. หมิ่นประมาทซึ่งหน้า ข. หมิ่นประมาทด้วยการโฆษณา ค. หมิ่นประมาทด้วยการส่งอีเมล ง. หมิ่นประมาทด้วยข้อความในไลน์ 10. การโพสต์เฟซบุ๊กว่า สมใจเป็ นชูก้ บั สมชาย เป็ นการหมิ่นประมาทหรือไม่ ก. ไม่แน่ใจ เพราะอาจไม่เป็ นเรื่องจริง ข. ไม่เป็ น เพราะเฟซบุ๊กเป็ นพืน้ ที่สว่ นตัว ค. ไม่เป็ น เพราะถือเป็ นเรื่องจริง สามารถกระทาได้ ง. เป็ น เพราะเป็ นการกล่าวหาบุคคล โดยมีบคุ คลที่ 3 ในเฟซบุ๊ก

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

55

56

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

ภาคผนวก

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

57

58

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก

หน้า ๒๔ ราชกิจจานุเบกษา

พระราชบัญญัติ

๒๔ มกราคม ๒๕๖๐



ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๐ เป็นปีที่ ๒ ในรัชกาลปัจจุบัน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ จึ ง ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ ให้ ต ราพระราชบั ญ ญั ติ ขึ้ น ไว้ โ ดยคํ า แนะนํ า และยิ น ยอมของ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ดังต่อไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกําหนดหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๔ ให้ รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงดิ จิ ทั ล เพื่ อ เศรษฐกิ จ และสั ง คมรั ก ษาการ ตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอํานาจแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่กับออกกฎกระทรวงและประกาศเพื่อปฏิบัติการ ตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงและประกาศนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้” มาตรา ๔ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคสองและวรรคสามของมาตรา ๑๑ แห่งพระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

59

เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก

หน้า ๒๕ ราชกิจจานุเบกษา

๒๔ มกราคม ๒๕๖๐

“ผู้ใดส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่นอันมีลักษณะเป็นการก่อให้เกิด ความเดือดร้อนรําคาญแก่ผู้รับข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ โดยไม่เปิดโอกาสให้ผู้รับ สามารถบอกเลิกหรือแจ้งความประสงค์เพื่อปฏิเสธการตอบรับได้โดยง่าย ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน สองแสนบาท ให้ รั ฐ มนตรี อ อกประกาศกํ า หนดลั ก ษณะและวิ ธี ก ารส่ ง รวมทั้ ง ลั ก ษณะและปริ ม าณของ ข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งไม่เป็นการก่อให้เกิดความเดือดร้อนรําคาญแก่ผู้รับ และลักษณะอันเป็นการบอกเลิกหรือแจ้งความประสงค์เพื่อปฏิเสธการตอบรับได้โดยง่าย” มาตรา ๕ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๑๒ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๑๒ ถ้ า การกระทํ า ความผิ ด ตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ หรื อ มาตรา ๑๑ เป็ น การกระทํ า ต่ อ ข้ อ มู ล คอมพิ ว เตอร์ ห รื อ ระบบคอมพิ ว เตอร์ ที่ เ กี่ ย วกั บ การรั ก ษา ความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือโครงสร้างพื้นฐานอันเป็นประโยชน์สาธารณะ ต้องระวางโทษจําคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงเจ็ดปี และปรับตั้งแต่ สองหมื่นบาทถึงหนึ่งแสนสี่หมื่นบาท ถ้ า การกระทํ า ความผิ ด ตามวรรคหนึ่ ง เป็ น เหตุ ใ ห้ เ กิ ด ความเสี ย หายต่ อ ข้ อ มู ล คอมพิ ว เตอร์ หรือระบบคอมพิวเตอร์ดังกล่าว ต้องระวางโทษจําคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบปี และปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึง สองแสนบาท ถ้าการกระทําความผิดตามมาตรา ๙ หรือมาตรา ๑๐ เป็นการกระทําต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือระบบคอมพิวเตอร์ตามวรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษจําคุกตั้งแต่สามปีถึงสิบห้าปี และปรับตั้งแต่หกหมื่นบาท ถึงสามแสนบาท ถ้าการกระทําความผิดตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสามโดยมิได้มีเจตนาฆ่า แต่เป็นเหตุให้บุคคลอื่น ถึงแก่ความตาย ต้องระวางโทษจําคุกตั้งแต่ห้าปีถึงยี่สิบปี และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่แสนบาท” มาตรา ๖ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๑๒/๑ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทํา ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ “มาตรา ๑๒/๑ ถ้าการกระทําความผิดตามมาตรา ๙ หรือมาตรา ๑๐ เป็นเหตุให้เกิดอันตราย แก่บุคคลอื่นหรือทรัพย์สินของผู้อื่น ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสิบปี และปรับไม่เกินสองแสนบาท ถ้าการกระทําความผิดตามมาตรา ๙ หรือมาตรา ๑๐ โดยมิได้มีเจตนาฆ่า แต่เป็นเหตุให้บุคคลอื่น ถึงแก่ความตาย ต้องระวางโทษจําคุกตั้งแต่ห้าปีถึงยี่สิบปี และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่แสนบาท” มาตรา ๗ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคสอง วรรคสาม วรรคสี่ และวรรคห้าของมาตรา ๑๓ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐

60

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก

หน้า ๒๖ ราชกิจจานุเบกษา

๒๔ มกราคม ๒๕๖๐

“ผู้ใดจําหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคําสั่งที่จัดทําขึ้นโดยเฉพาะเพื่อนําไปใช้เป็นเครื่องมือในการกระทํา ความผิดตามมาตรา ๑๒ วรรคหนึ่งหรือวรรคสาม ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ผู้ใดจําหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคําสั่งที่จัดทําขึ้นโดยเฉพาะเพื่อนําไปใช้เป็นเครื่องมือในการกระทํา ความผิดตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ หรือมาตรา ๑๑ หากผู้นําไปใช้ได้กระทําความผิดตามมาตรา ๑๒ วรรคหนึ่งหรือวรรคสาม หรือต้องรับผิดตามมาตรา ๑๒ วรรคสองหรือวรรคสี่ หรือมาตรา ๑๒/๑ ผู้จําหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคําสั่งดังกล่าวจะต้องรับผิดทางอาญา ตามความผิดที่มีกําหนดโทษสูงขึ้นด้วย ก็เฉพาะเมื่อตนได้รู้หรืออาจเล็งเห็นได้ว่าจะเกิดผลเช่นที่เกิดขึ้นนั้น ผู้ใดจําหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคําสั่งที่จัดทําขึ้นโดยเฉพาะเพื่อนําไปใช้เป็นเครื่องมือในการกระทํา ความผิดตามมาตรา ๑๒ วรรคหนึ่งหรือวรรคสาม หากผู้นําไปใช้ได้กระทําความผิดตามมาตรา ๑๒ วรรคหนึ่ง หรือวรรคสาม หรือต้องรับผิดตามมาตรา ๑๒ วรรคสองหรือวรรคสี่ หรือมาตรา ๑๒/๑ ผู้จําหน่าย หรือเผยแพร่ชุดคําสั่งดังกล่าวต้องรับผิดทางอาญาตามความผิดที่มีกําหนดโทษสูงขึ้นนั้นด้วย ในกรณีที่ผู้จําหน่ายหรือเผยแพร่ชุดคําสั่งผู้ใดต้องรับผิดตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง และตามวรรคสาม หรือวรรคสี่ด้วย ให้ผู้นั้นต้องรับโทษที่มีอัตราโทษสูงที่สุดแต่กระทงเดียว” มาตรา ๘ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๑๔ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๑๔ ผู้ ใ ดกระทํ า ความผิ ด ที่ ร ะบุ ไ ว้ ดั ง ต่ อ ไปนี้ ต้ อ งระวางโทษจํ า คุ ก ไม่ เ กิ น ห้ า ปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ (๑) โดยทุจริต หรือโดยหลอกลวง นําเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่บิดเบือน หรือปลอมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน หรือข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหาย แก่ประชาชน อันมิใช่การกระทําความผิดฐานหมิ่นประมาทตามประมวลกฎหมายอาญา (๒) นําเข้ าสู่ระบบคอมพิว เตอร์ ซึ่งข้อ มูลคอมพิว เตอร์ อันเป็ นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิ ด ความเสียหายต่อการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคง ในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือโครงสร้างพื้นฐานอันเป็นประโยชน์สาธารณะของประเทศ หรือก่อให้เกิด ความตื่นตระหนกแก่ประชาชน (๓) นําเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ อันเป็นความผิดเกี่ยวกับความมั่นคง แห่งราชอาณาจักรหรือความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา (๔) นํ าเข้ าสู่ ระบบคอมพิ วเตอร์ ซึ่ งข้ อมู ลคอมพิ วเตอร์ ใด ๆ ที่ มี ลั กษณะอั นลามกและข้ อมู ล คอมพิวเตอร์นั้นประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

61

เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก

หน้า ๒๗ ราชกิจจานุเบกษา

๒๔ มกราคม ๒๕๖๐

(๕) เผยแพร่หรือส่งต่อซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยรู้อยู่แล้วว่าเป็นข้อมูลคอมพิวเตอร์ตาม (๑) (๒) (๓) หรือ (๔) ถ้าการกระทําความผิดตามวรรคหนึ่ง (๑) มิได้กระทําต่อประชาชน แต่เป็นการกระทําต่อบุคคลใด บุคคลหนึ่ง ผู้กระทํา ผู้เผยแพร่หรือส่งต่อซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ดังกล่าวต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ และให้เป็นความผิดอันยอมความได้” มาตรา ๙ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๑๕ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๑๕ ผู้ให้บริการผู้ใดให้ความร่วมมือ ยินยอม หรือรู้เห็นเป็นใจให้มีการกระทําความผิด ตามมาตรา ๑๔ ในระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในความควบคุมของตน ต้องระวางโทษเช่นเดียวกับผู้กระทําความผิด ตามมาตรา ๑๔ ให้ รั ฐ มนตรี อ อกประกาศกํ า หนดขั้ น ตอนการแจ้ ง เตื อ น การระงั บ การทํ า ให้ แ พร่ ห ลายของ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ และการนําข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นออกจากระบบคอมพิวเตอร์ ถ้าผู้ให้บริการพิสูจน์ได้ว่าตนได้ปฏิบัติตามประกาศของรัฐมนตรีที่ออกตามวรรคสอง ผู้นั้นไม่ต้อง รับโทษ” มาตรา ๑๐ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๑๖ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๑๖ ผู้ใดนําเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ที่ประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ที่ปรากฏเป็ น ภาพของผู้ อื่น และภาพนั้ น เป็น ภาพที่ เกิ ด จากการสร้า งขึ้น ตั ด ต่อ เติ ม หรือ ดั ด แปลง ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือวิธีการอื่นใด โดยประการที่น่าจะทําให้ผู้อื่นนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสามปี และปรับไม่เกินสองแสนบาท ถ้าการกระทําตามวรรคหนึ่งเป็นการกระทําต่อภาพของผู้ตาย และการกระทํานั้นน่าจะทําให้บิดา มารดา คู่สมรส หรือบุตรของผู้ตายเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น หรือถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย ผู้กระทําต้องระวางโทษดังที่บัญญัติไว้ในวรรคหนึ่ง ถ้าการกระทําตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง เป็นการนําเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์โดยสุจริตอันเป็น การติชมด้วยความเป็นธรรม ซึ่งบุคคลหรือสิ่งใดอันเป็นวิสัยของประชาชนย่อมกระทํา ผู้กระทําไม่มีความผิด ความผิดตามวรรคหนึ่งและวรรคสองเป็นความผิดอันยอมความได้ ถ้าผู้เสียหายในความผิดตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองตายเสียก่อนร้องทุกข์ ให้บิดา มารดา คู่สมรส หรือบุตรของผู้เสียหายร้องทุกข์ได้ และให้ถือว่าเป็นผู้เสียหาย” มาตรา ๑๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๑๖/๑ และมาตรา ๑๖/๒ แห่งพระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐

62

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก

หน้า ๒๘ ราชกิจจานุเบกษา

๒๔ มกราคม ๒๕๖๐

“มาตรา ๑๖/๑ ในคดีความผิดตามมาตรา ๑๔ หรือมาตรา ๑๖ ซึ่งมีคําพิพากษาว่าจําเลย มีความผิด ศาลอาจสั่ง (๑) ให้ทําลายข้อมูลตามมาตราดังกล่าว (๒) ให้โฆษณาหรือเผยแพร่คําพิพากษาทั้งหมดหรือแต่บางส่วนในสื่ออิเล็กทรอนิกส์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ หรือสื่ออื่นใด ตามที่ศาลเห็นสมควร โดยให้จําเลยเป็นผู้ชําระค่าโฆษณา หรือเผยแพร่ (๓) ให้ดําเนินการอื่นตามที่ศาลเห็นสมควรเพื่อบรรเทาความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการกระทํา ความผิดนั้น มาตรา ๑๖/๒ ผู้ใดรู้ว่าข้อมูลคอมพิวเตอร์ในความครอบครองของตนเป็นข้อมูลที่ศาลสั่งให้ทําลาย ตามมาตรา ๑๖/๑ ผู้นั้นต้องทําลายข้อมูลดังกล่าว หากฝ่าฝืนต้องระวางโทษกึ่งหนึ่งของโทษที่บัญญัติไว้ ในมาตรา ๑๔ หรือมาตรา ๑๖ แล้วแต่กรณี” มาตรา ๑๒ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๑๗/๑ ในหมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ “มาตรา ๑๗/๑ ความผิดตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๑๑ มาตรา ๑๓ วรรคหนึ่ง มาตรา ๑๖/๒ มาตรา ๒๓ มาตรา ๒๔ และมาตรา ๒๗ ให้คณะกรรมการเปรียบเทียบที่รัฐมนตรีแต่งตั้ง มีอํานาจเปรียบเทียบได้ คณะกรรมการเปรียบเทียบที่รัฐมนตรีแต่งตั้งตามวรรคหนึ่งให้มีจํานวนสามคนซึ่งคนหนึ่งต้องเป็น พนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เมื่อคณะกรรมการเปรียบเทียบได้ทําการเปรียบเทียบกรณีใดและผู้ต้องหาได้ชําระเงินค่าปรับ ตามคําเปรียบเทียบภายในระยะเวลาที่คณะกรรมการเปรียบเทียบกําหนดแล้ว ให้ถือว่าคดีนั้นเป็นอันเลิกกัน ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ในกรณีที่ผู้ต้องหาไม่ชําระเงินค่าปรับภายในระยะเวลาที่กําหนด ให้เริ่มนับอายุความในการฟ้องคดีใหม่ นับตั้งแต่วันที่ครบกําหนดระยะเวลาดังกล่าว” มาตรา ๑๓ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๑๘ และมาตรา ๑๙ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วย การกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๑๘ ภายใต้บังคับมาตรา ๑๙ เพื่อประโยชน์ในการสืบสวนและสอบสวนในกรณีที่มี เหตุอันควรเชื่อได้ว่ามีการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ หรือในกรณีที่มีการร้องขอตามวรรคสอง ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอํานาจอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ เฉพาะที่จําเป็นเพื่อประโยชน์ในการใช้เป็น หลักฐานเกี่ยวกับการกระทําความผิดและหาตัวผู้กระทําความผิด

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

63

เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก

หน้า ๒๙ ราชกิจจานุเบกษา

๒๔ มกราคม ๒๕๖๐

(๑) มีหนั งสือ สอบถามหรือเรียกบุค คลที่เกี่ ยวข้อ งกับการกระทําความผิ ดมาเพื่ อ ให้ถ้อ ยคํ า ส่งคําชี้แจงเป็นหนังสือ หรือส่งเอกสาร ข้อมูล หรือหลักฐานอื่นใดที่อยู่ในรูปแบบที่สามารถเข้าใจได้ (๒) เรียกข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์จากผู้ให้บริการเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารผ่านระบบคอมพิวเตอร์ หรือจากบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้อง (๓) สั่งให้ผู้ให้บริการส่งมอบข้อมูลเกี่ยวกับผู้ใช้บริการที่ต้องเก็บตามมาตรา ๒๖ หรือที่อยู่ ในความครอบครองหรือควบคุมของผู้ให้บริการให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่หรือให้เก็บข้อมูลดังกล่าวไว้ก่อน (๔) ทําสําเนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์จากระบบคอมพิวเตอร์ที่มี เหตุอันควรเชื่อได้ว่ามีการกระทําความผิด ในกรณีที่ระบบคอมพิวเตอร์นั้นยังมิได้อยู่ในความครอบครอง ของพนักงานเจ้าหน้าที่ (๕) สั่งให้บุคคลซึ่งครอบครองหรือควบคุมข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ที่ใช้เก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์ ส่งมอบข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ดังกล่าวให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ (๖) ตรวจสอบหรือเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ที่ใช้เก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์ของบุคคลใด อันเป็นหลักฐานหรืออาจใช้เป็นหลักฐานเกี่ยวกับ การกระทําความผิด หรือเพื่อสืบสวนหาตัวผู้กระทําความผิดและสั่งให้บุคคลนั้นส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ที่เกี่ยวข้องเท่าที่จําเป็นให้ด้วยก็ได้ (๗) ถอดรหัสลับของข้อมูลคอมพิวเตอร์ของบุคคลใด หรือสั่งให้บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการเข้ารหัสลับ ของข้อมูลคอมพิวเตอร์ ทําการถอดรหัสลับ หรือให้ความร่วมมือกับพนักงานเจ้าหน้าที่ในการถอดรหัสลับ ดังกล่าว (๘) ยึดหรืออายัดระบบคอมพิวเตอร์เท่าที่จําเป็นเฉพาะเพื่อประโยชน์ในการทราบรายละเอียด แห่งความผิดและผู้กระทําความผิด เพื่อประโยชน์ในการสืบสวนและสอบสวนของพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญา ในบรรดาความผิดอาญาต่อกฎหมายอื่นซึ่งได้ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ข้อ มูลคอมพิวเตอร์ หรื อ อุ ป กรณ์ ที่ ใ ช้ เ ก็ บ ข้ อ มู ล คอมพิ ว เตอร์ เ ป็ น องค์ ป ระกอบหรื อ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในการกระทํ า ความผิ ด หรือมีข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้องกับการกระทําความผิดอาญาตามกฎหมายอื่น พนักงานสอบสวน อาจร้องขอให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตามวรรคหนึ่งดําเนินการตามวรรคหนึ่งก็ได้ หรือหากปรากฏข้อเท็จจริง ดังกล่าวต่อพนักงานเจ้าหน้าที่เนื่องจากการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ รีบรวบรวมข้อเท็จจริงและหลักฐานแล้วแจ้งไปยังเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเพื่อดําเนินการต่อไป ให้ผู้ได้ รับการร้องขอจากพนักงานเจ้า หน้าที่ ตามวรรคหนึ่ ง (๑) (๒) และ (๓) ดําเนินการ ตามคําร้องขอโดยไม่ชักช้า แต่ต้องไม่เกินเจ็ดวันนับแต่วันที่ได้รับคําร้องขอ หรือภายในระยะเวลาที่พนักงาน

64

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก

หน้า ๓๐ ราชกิจจานุเบกษา

๒๔ มกราคม ๒๕๖๐

เจ้าหน้าที่กําหนดซึ่งต้องไม่น้อยกว่าเจ็ดวันและไม่เกินสิบห้าวัน เว้นแต่ในกรณีที่มีเหตุสมควร ต้องได้รับอนุญาต จากพนักงานเจ้าหน้าที่ ทั้งนี้ รัฐมนตรีอาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากําหนดระยะเวลาที่ต้องดําเนินการ ที่เหมาะสมกับประเภทของผู้ให้บริการก็ได้ มาตรา ๑๙ การใช้อํานาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ยื่นคําร้องต่อศาลที่มีเขตอํานาจเพื่อมีคําสั่งอนุญาตให้พนักงานเจ้าหน้าที่ดําเนินการ ตามคําร้อง ทั้งนี้ คําร้องต้องระบุเหตุอันควรเชื่อได้ว่าบุคคลใดกระทําหรือกําลังจะกระทําการอย่างหนึ่ง อย่างใดอันเป็นความผิด เหตุที่ต้องใช้อํานาจ ลักษณะของการกระทําความผิด รายละเอียดเกี่ยวกับอุปกรณ์ ที่ใช้ในการกระทําความผิดและผู้กระทําความผิด เท่าที่สามารถจะระบุได้ ประกอบคําร้องด้วย ในการพิจารณา คําร้องให้ศาลพิจารณาคําร้องดังกล่าวโดยเร็ว เมื่อศาลมีคําสั่งอนุญาตแล้ว ก่อนดําเนินการตามคําสั่งของศาล ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ส่งสําเนา บันทึกเหตุอันควรเชื่อที่ทําให้ต้องใช้อํานาจตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) มอบให้เจ้าของ หรือผู้ครอบครองระบบคอมพิวเตอร์นั้นไว้เป็นหลักฐาน แต่ถ้าไม่มีเจ้าของหรือผู้ครอบครองเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ ณ ที่นั้น ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ส่งมอบสําเนาบันทึกนั้นให้แก่เจ้าของหรือผู้ครอบครองดังกล่าวในทันที ที่กระทําได้ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้เป็นหัวหน้าในการดําเนินการตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) ส่งสําเนาบันทึกรายละเอียดการดําเนินการและเหตุผลแห่งการดําเนินการให้ศาลที่มีเขตอํานาจภายใน สี่สิบแปดชั่วโมงนับแต่เวลาลงมือดําเนินการ เพื่อเป็นหลักฐาน การทํ าสํ าเนาข้ อมู ลคอมพิ วเตอร์ ตามมาตรา ๑๘ (๔) ให้ กระทํ าได้ เฉพาะเมื่ อมี เหตุ อั นควร เชื่อได้ว่ามีการกระทําความผิด และต้องไม่เป็นอุปสรรคในการดําเนินกิจการของเจ้าของหรือผู้ครอบครอง ข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นเกินความจําเป็น การยึดหรืออายัดตามมาตรา ๑๘ (๘) นอกจากจะต้องส่งมอบสําเนาหนังสือแสดงการยึดหรืออายัด มอบให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองระบบคอมพิวเตอร์นั้นไว้เป็นหลักฐานแล้ว พนักงานเจ้าหน้าที่จะสั่งยึด หรืออายัดไว้เกินสามสิบวันมิได้ ในกรณีจําเป็นที่ต้องยึดหรืออายัดไว้นานกว่านั้น ให้ยื่นคําร้องต่อศาลที่มี เขตอํานาจเพื่อขอขยายเวลายึดหรืออายัดได้ แต่ศาลจะอนุญาตให้ขยายเวลาครั้งเดียวหรือหลายครั้ง รวมกันได้อีกไม่เกินหกสิบวัน เมื่อหมดความจําเป็นที่จะยึดหรืออายัดหรือครบกําหนดเวลาดังกล่าวแล้ว พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องส่งคืนระบบคอมพิวเตอร์ที่ยึดหรือถอนการอายัดโดยพลัน หนังสือแสดงการยึดหรืออายัดตามวรรคห้าให้เป็นไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง” มาตรา ๑๔ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๒๐ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

65

เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก

หน้า ๓๑ ราชกิจจานุเบกษา

๒๔ มกราคม ๒๕๖๐

“มาตรา ๒๐ ในกรณีที่มีการทําให้แพร่หลายซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ ดังต่อไปนี้ พนักงานเจ้าหน้าที่ โดยได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีอาจยื่นคําร้องพร้อมแสดงพยานหลักฐานต่อศาลที่มีเขตอํานาจขอให้มี คําสั่งระงับการทําให้แพร่หลายหรือลบข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นออกจากระบบคอมพิวเตอร์ได้ (๑) ข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่เป็นความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ (๒) ข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่อาจกระทบกระเทือนต่อความมั่นคงแห่งราชอาณาจักรตามที่กําหนดไว้ ในภาค ๒ ลักษณะ ๑ หรือลักษณะ ๑/๑ แห่งประมวลกฎหมายอาญา (๓) ข้ อ มู ล คอมพิ ว เตอร์ ที่ เ ป็ น ความผิ ด อาญาตามกฎหมายเกี่ ย วกั บ ทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญา หรือกฎหมายอื่นซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นมีลักษณะขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน และเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายนั้นหรือพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาได้ร้องขอ ในกรณี ที่ มี ก ารทํ าให้ แ พร่ ห ลายซึ่ ง ข้ อ มู ล คอมพิ ว เตอร์ ที่ มี ลั ก ษณะขั ด ต่ อ ความสงบเรี ย บร้ อ ย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการกลั่นกรองข้อมูลคอมพิวเตอร์ จะมอบหมายให้พนักงานเจ้าหน้าที่ยื่นคําร้องพร้อมแสดงพยานหลักฐานต่อศาลที่มีเขตอํานาจขอให้มีคําสั่ง ระงับการทําให้แพร่หลายหรือลบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นออกจากระบบคอมพิวเตอร์ได้ ทั้งนี้ ให้นําบทบัญญัติ ว่าด้วยคณะกรรมการที่มีอํานาจดําเนินการพิจารณาทางปกครองตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการ ทางปกครองมาใช้บังคับกับการประชุมของคณะกรรมการกลั่นกรองข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยอนุโลม ให้ รั ฐ มนตรี แ ต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการกลั่ น กรองข้ อ มู ล คอมพิ ว เตอร์ ต ามวรรคสองขึ้ น คณะหนึ่ ง หรือหลายคณะ แต่ละคณะให้มีกรรมการจํานวนเก้าคนซึ่งสามในเก้าคนต้องมาจากผู้แทนภาคเอกชน ด้านสิทธิมนุษยชน ด้านสื่อสารมวลชน ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือด้านอื่นที่เกี่ยวข้อง และให้กรรมการ ได้รับค่าตอบแทนตามหลักเกณฑ์ที่รัฐมนตรีกําหนดโดยได้รับความเห็นชอบจากกระทรวงการคลัง การดําเนินการของศาลตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ให้นําประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาใช้ บัง คับ โดยอนุ โลม ในกรณี ที่ศ าลมีคํ าสั่ งให้ ร ะงับการทําให้ แ พร่ หลายหรื อ ลบข้อ มูล คอมพิว เตอร์ ตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง พนักงานเจ้าหน้าที่จะทําการระงับการทําให้แพร่หลายหรือลบข้อมูลคอมพิวเตอร์ นั้นเองหรือจะสั่งให้ผู้ให้บริการระงับการทําให้แพร่หลายหรือลบข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นก็ได้ ทั้งนี้ ให้รัฐมนตรี ประกาศกําหนดหลักเกณฑ์ ระยะเวลา และวิธี การปฏิ บัติสําหรับการระงับการทําให้แ พร่ห ลายหรื อ ลบข้อมูลคอมพิวเตอร์ของพนักงานเจ้าหน้าที่หรือผู้ให้บริการให้เป็นไปในแนวทางเดียวกันโดยคํานึงถึงพัฒนาการ ทางเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป เว้นแต่ศาลจะมีคําสั่งเป็นอย่างอื่น ในกรณีที่มีเหตุจําเป็นเร่งด่วน พนักงานเจ้าหน้าที่จะยื่นคําร้องตามวรรคหนึ่งไปก่อนที่จะได้รับ ความเห็ นชอบจากรัฐมนตรี หรือพนักงานเจ้ าหน้าที่โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการกลั่นกรอง ข้อมูลคอมพิวเตอร์จะยื่นคําร้องตามวรรคสองไปก่อนที่รัฐมนตรีจะมอบหมายก็ได้ แต่ทั้งนี้ต้องรายงาน ให้รัฐมนตรีทราบโดยเร็ว”

66

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก

หน้า ๓๒ ราชกิจจานุเบกษา

๒๔ มกราคม ๒๕๖๐

มาตรา ๑๕ ให้ ย กเลิ ก ความในวรรคสองของมาตรา ๒๑ แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ ว่ า ด้ ว ย การกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ชุ ด คํ า สั่ ง ไม่ พึ ง ประสงค์ ต ามวรรคหนึ่ ง หมายถึ ง ชุ ด คํ า สั่ ง ที่ มี ผ ลทํ า ให้ ข้ อ มู ล คอมพิ ว เตอร์ หรือระบบคอมพิวเตอร์หรือชุดคําสั่งอื่นเกิดความเสียหาย ถูกทําลาย ถูกแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติม ขั ด ข้ อ งหรื อ ปฏิ บั ติ ง านไม่ ต รงตามคํ า สั่ ง หรื อ โดยประการอื่ น ตามที่ กํ า หนดในกฎกระทรวง เว้ น แต่ เป็นชุดคําสั่งไม่พึงประสงค์ที่อาจนํามาใช้เพื่อป้องกันหรือแก้ไขชุดคําสั่งดังกล่าวข้างต้น ทั้งนี้ รัฐมนตรี อาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากําหนดรายชื่อ ลักษณะ หรือรายละเอียดของชุดคําสั่งไม่พึงประสงค์ ซึ่งอาจนํามาใช้เพื่อป้องกันหรือแก้ไขชุดคําสั่งไม่พึงประสงค์ก็ได้” มาตรา ๑๖ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๒๒ มาตรา ๒๓ มาตรา ๒๔ และมาตรา ๒๕ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๒๒ ห้ามมิให้พนักงานเจ้าหน้าที่และพนักงานสอบสวนในกรณีตามมาตรา ๑๘ วรรคสอง เปิดเผยหรือส่งมอบข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ หรือข้อมูลของผู้ใช้บริการที่ได้มา ตามมาตรา ๑๘ ให้แก่บุคคลใด ความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บังคับกับการกระทําเพื่อประโยชน์ในการดําเนินคดีกับผู้กระทําความผิด ตามพระราชบั ญ ญั ติ นี้ ห รื อ ผู้ ก ระทํ า ความผิ ด ตามกฎหมายอื่ น ในกรณี ต ามมาตรา ๑๘ วรรคสอง หรื อ เพื่ อ ประโยชน์ ใ นการดํ า เนิ น คดี กั บ พนั ก งานเจ้ า หน้ า ที่ เ กี่ ย วกั บ การใช้ อํ า นาจหน้ า ที่ โ ดยมิ ช อบ หรื อ กั บ พนั ก งานสอบสวนในส่ ว นที่ เกี่ ย วกั บ การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต ามมาตรา ๑๘ วรรคสอง โดยมิ ช อบ หรือเป็นการกระทําตามคําสั่งหรือที่ได้รับอนุญาตจากศาล พนักงานเจ้าหน้าที่หรือพนักงานสอบสวนผู้ใดฝ่าฝืนวรรคหนึ่งต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ๒๓ พนักงานเจ้าหน้าที่หรือพนักงานสอบสวนในกรณีตามมาตรา ๑๘ วรรคสอง ผู้ใดกระทําโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นล่วงรู้ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ หรือข้อมูล ของผู้ใช้บริการ ที่ได้มาตามมาตรา ๑๘ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ๒๔ ผู้ใดล่วงรู้ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ หรือข้อมูลของ ผู้ใช้บริการที่พนักงานเจ้าหน้าที่หรือพนักงานสอบสวนได้มาตามมาตรา ๑๘ และเปิดเผยข้อมูลนั้นต่อ ผู้หนึ่งผู้ใด ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ๒๕ ข้อมูล ข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ที่พนักงานเจ้าหน้าที่ได้มา ตามพระราชบัญญัตินี้หรือที่พนักงานสอบสวนได้มาตามมาตรา ๑๘ วรรคสอง ให้อ้างและรับฟังเป็น พยานหลักฐานตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาหรือกฎหมายอื่นอันว่าด้วย รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

67

เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก

หน้า ๓๓ ราชกิจจานุเบกษา

๒๔ มกราคม ๒๕๖๐

การสืบพยานได้ แต่ต้องเป็นชนิดที่มิได้เกิดขึ้นจากการจูงใจ มีคํามั่นสัญญา ขู่เข็ญ หลอกลวง หรือโดยมิชอบ ประการอื่น” มาตรา ๑๗ ให้ ย กเลิ ก ความในวรรคหนึ่ ง ของมาตรา ๒๖ แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ ว่ า ด้ ว ย การกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “มาตรา ๒๖ ผู้ให้บริการต้องเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ไว้ไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน นับแต่วันที่ข้อมูลนั้นเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ แต่ในกรณีจําเป็น พนักงานเจ้าหน้าที่จะสั่งให้ผู้ให้บริการผู้ใด เก็ บ รั ก ษาข้ อ มู ล จราจรทางคอมพิ ว เตอร์ ไ ว้ เ กิ น เก้ า สิ บ วั น แต่ ไ ม่ เ กิ น สองปี เ ป็ น กรณี พิ เ ศษเฉพาะราย และเฉพาะคราวก็ได้” มาตรา ๑๘ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคสองและวรรคสามของมาตรา ๒๘ แห่งพระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ “ผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ อาจได้รับค่าตอบแทนพิเศษ ตามที่รัฐมนตรีกําหนดโดยได้รับความเห็นชอบจากกระทรวงการคลัง ในการกํ า หนดให้ ไ ด้ รั บ ค่ า ตอบแทนพิ เ ศษต้ อ งคํา นึ ง ถึ ง ภาระหน้ า ที่ ความรู้ ค วามเชี่ ย วชาญ ความขาดแคลนในการหาผู้มาปฏิบัติหน้าที่หรือมีการสูญเสียผู้ปฏิบัติงานออกจากระบบราชการเป็นจํานวนมาก คุณภาพของงาน และการดํารงตนอยู่ในความยุติธรรมโดยเปรียบเทียบค่าตอบแทนของผู้ปฏิบัติงานอื่น ในกระบวนการยุติธรรมด้วย” มาตรา ๑๙ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นมาตรา ๓๑ แห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ “มาตรา ๓๑ ค่าใช้จ่ายในเรื่องดังต่อไปนี้ รวมทั้งวิธีการเบิกจ่ายให้เป็นไปตามระเบียบที่รัฐมนตรี กําหนดโดยได้รับความเห็นชอบจากกระทรวงการคลัง (๑) การสืบสวน การแสวงหาข้อมูล และรวบรวมพยานหลักฐานในคดีความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ (๒) การดําเนินการตามมาตรา ๑๘ วรรคหนึ่ง (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) และมาตรา ๒๐ (๓) การดํ า เนิ น การอื่ น ใดอั น จํ า เป็ น แก่ ก ารป้ อ งกั น และปราบปรามการกระทํ า ความผิ ด ตามพระราชบัญญัตินี้” มาตรา ๒๐ บรรดาระเบียบหรือประกาศที่ออกตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ที่ใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ยังคง ใช้บังคับต่อไปเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ จนกว่าจะมีระเบียบหรือประกาศที่ต้อง ออกตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติม โดยพระราชบัญญัตินี้ ใช้บังคับ

68

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก

หน้า ๓๔ ราชกิจจานุเบกษา

๒๔ มกราคม ๒๕๖๐

การดําเนินการออกระเบียบหรือประกาศตามวรรคหนึ่ง ให้ดําเนินการให้แล้วเสร็จภายในหกสิบวัน นับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ หากไม่สามารถดําเนินการได้ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคมรายงานเหตุผลที่ไม่อาจดําเนินการได้ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อทราบ มาตรา ๒๑ ให้ รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงดิ จิ ทั ล เพื่ อ เศรษฐกิ จ และสั ง คมรั ก ษาการ ตามพระราชบัญญัตินี้ ผู้รับสนองพระราชโองการ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

69

เล่ม ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก

หน้า ๓๕ ราชกิจจานุเบกษา

๒๔ มกราคม ๒๕๖๐

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ มีบทบัญญัติบางประการที่ไม่เหมาะสมต่อการป้องกันและปราบปราม การกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน ซึ่งมีรูปแบบการกระทําความผิดที่มีความซับซ้อนมากขึ้น ตามพัฒนาการทางเทคโนโลยีซึ่งเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและโดยที่มีการจัดตั้งกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และสังคมซึ่งมีภารกิจในการกําหนดมาตรฐานและมาตรการในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ รวมทั้ง การเฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์ด้านความมั่นคงปลอดภัยของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศ สมควรปรับปรุงบทบัญญัติในส่วนที่เกี่ยวกับผู้รักษาการตามกฎหมาย กําหนดฐานความผิดขึ้นใหม่ และแก้ไข เพิ่มเติมฐานความผิดเดิม รวมทั้งบทกําหนดโทษของความผิดดังกล่าว การปรับปรุงกระบวนการและหลักเกณฑ์ ในการระงับการทําให้แพร่หลายหรือลบข้อมูลคอมพิวเตอร์ ตลอดจนกําหนดให้มีคณะกรรมการเปรียบเทียบ ซึ่งมีอํานาจเปรียบเทียบความผิดตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และแก้ไขเพิ่มเติมอํานาจหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ให้เหมาะสมยิ่งขึ้น จึงจําเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้

70

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน เฉลยแบบทดสอบก่อน - หลังเรียน 1. ก

6. ค

2. ค

7. ง

3. ค

8. ก

4. ค

9. ข

5. ง

10. ง

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

71

เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบท แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 1 1.

พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ หมายถึง พระราชบัญญัติที่ว่าด้วยการกระท�ำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เพื่อ

เป็นการป้องกันและควบคุมการกระท�ำผิด ที่จะเกิดขึ้นได้จากการใช้คอมพิวเตอร์ในรูปแบบต่าง ๆ รวมถึง การใช้งานระบบต่าง ๆ ที่ถูกควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ เช่น สมาร์ตโฟน โน้ตบุ๊ก เป็นต้น หากผู้ใดกระท�ำ ความผิดตาม พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ ก็จะต้องได้รับการลงโทษตามที่ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ได้ก�ำหนดไว้

พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ มีความส�ำคัญในการช่วยลดการละเมิดสิทธิส่วนบุคคล ลดความเสี่ยงจาก

ภัยคุกคามต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในโลกออนไลน์ ที่จะมีผลกระทบบุคคล ความมั่นคงของรัฐ ความมั่นคงทาง เศรษฐกิจ ความมัน่ คงทางทหาร และความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ และมีการก�ำหนดบทลงโทษหากมี การกระท�ำความผิด 2.

ตรวจสอบค�ำตอบได้ในเนื้อหาบทเรียนที่ 1 พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ เรื่องที่ 1 หัวข้อที่ 3 สาระส�ำคัญ

ของ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ 3.

1) มาตรา 5 มีโทษจ�ำคุกไม่เกิน 6 เดือน ปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ



2) มาตรา 6 มีโทษจ�ำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ



3) มาตรา 7 มีโทษจ�ำคุกไม่เกิน 2 ปี ปรับไม่เกิน 40,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ



4) มาตรา 8 มีโทษจ�ำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ



5) มาตรา 9 มีโทษจ�ำคุกไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ



6) มาตรา 10 มีโทษจ�ำคุกไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ



7) มาตารา 11 มีโทษปรับไม่เกิน 200,000 บาท



8) มาตรา 14 (2) มีโทษจ�ำคุกไม่เกิน 5 ปี มีโทษปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ



9) มาตรา 15 มีโทษจ�ำคุกไม่เกิน 5 ปี มีโทษปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ



10) มาตรา 16 มีโทษจ�ำคุกไม่เกิน 3 ปี มีโทษปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ

4.

ผู้สอนพิจารณาความเหมาะสมของค�ำตอบ

5.

มาตรา 16 ตัดต่อ ดัดแปลง ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือวิธีการอื่นใด ท�ำให้ผู้อื่นเสียชื่อเสียง

ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกิน 3 ปี และปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือทั้งจ�ำทั้งปรับ

72

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

แบบฝึ กหัดท้ายบทที่ 2 1.1 ความหมายของลิขสิทธิ์ ลิขสิทธิ์ หมายถึง สิทธิแต่เพียงผูเ้ ดียวที่จะกระทาการใด ๆ เกี่ยวกับงานที่ผูส้ ร้างสรรค์ได้ริเริ่มด้วย ตนเองในการสร้างสรรค์ผลงานโดยการใช้สติปัญญาความรู ้ ความสามารถ และความวิรยิ ะอุตสาหะ โดยไม่ ลอกเลียนงานของผูอ้ ่นื จะต้องเป็ นงานตามประเภทที่กฎหมายลิขสิทธิ์ให้คมุ้ ครอง ซึ่งผลงานจะได้รบั ความ คุม้ ครองทันทีท่สี ร้างสรรค์ขนึ ้ โดยไม่ตอ้ งจดทะเบียน 1.

1.2 การได้มาซึ่งลิขสิทธิ์ ลิ ข สิ ทธิ์ จ ะเกิ ดขึ น้ โดยทัน ทีนับตั้ง แต่ผู้ส ร้างสรรค์ไ ด้ส ร้างสรรค์ผ ลงาน ผลงานจะได้รับความ คุม้ ครองทันทีท่สี ร้างสรรค์ขนึ ้ โดยไม่ตอ้ งจดทะเบียน 1.3 หลักเกณ์ในการพิจารณางานลิขสิทธิ์ - เป็ นงานที่แสดงออกถึงความคิด - เป็ นงานที่รเิ ริ่มสร้างสรรค์ดว้ ยตนเอง - การทุ่มเทกาลัง ความรู ้ ความสามารถ ความตัง้ ใจวิรยิ ะอุตสาหะในการสร้างสรรค์ - มีลกั ษณะเข้าข่ายตามประเภทของงานที่กฎหมายลิขสิทธิ์รบั รอง - เป็ นงานที่ไม่ขดั ต่อกฎหมายและศีลธรรมอันดี 1.4 งานอันมีลิขสิทธิ์และไม่มีลิขสิทธิ์ งานอันมีลิขสิทธิ์ เกิดขึน้ โดยทันทีนบั ตัง้ แต่ผสู้ ร้างสรรค์ได้สร้างสรรค์ผลงาน ผลงานจะได้รบั ความ คุม้ ครองทันทีท่ีสร้างสรรค์ขึน้ โดยไม่ตอ้ งจดทะเบียน เช่น ภาพวาด ภาพถ่าย ภาพประกอบ หนังสือ บทกวี ดนตรี การบันทึกเสียง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาพยนตร์ บทละคร งานสถาปัตยกรรม เป็ นต้น งานอันไม่มีลิขสิทธิ์ เป็ นผลงานที่สร้างสรรค์ขนึ ้ แต่ไม่สามารถยื่นแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ได้ มีดงั นี ้ - ความคิด ขั้นตอน กรรมวิธี ระบบ วิธีใช้หรือวิธีทางาน แนวความคิด หลักการ การ ค้นพบ ทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ - ข่าวประจาวัน และข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่มีลกั ษณะเป็ นเพียงข่าวสาร - รัฐธรรมนูญและกฎหมาย - ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คาสั่ง คาชีแ้ จง และหนังสือโต้ตอบของกระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐหรือท้องถิ่น - คาพิพากษา คาสั่ง คาวินิจฉัย และรายงานทางราชการ - คาแปลและการรวบรวมสิ่งต่าง ๆ ตามข้อ 2 - 5 ที่กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานใด ของรัฐหรือของท้องถิ่นที่จดั ทาขึน้ รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

73

1.5 ประเภทของงานอันมีลิขสิทธิ์ วรรณกรรม นาฏกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียง งานแพร่ เสียงแพร่ภาพ งานอื่นใดในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ 1.6 ผูถ้ ือครองลิขสิทธิ์ - ผูส้ ร้างสรรค์ผลงานขึน้ ใหม่ ทัง้ ที่สร้างสรรค์งานด้วยตนเอง หรือผูส้ ร้างสรรค์งานร่วมกัน - ผูส้ ร้างสรรค์ผลงานในฐานะพนักงาน หรือลูกจ้าง - ผูว้ ่าจ้างให้สร้างสรรค์ผลงาน - ผูร้ วบรวมหรือประกอบกัน - กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐหรือท้องถิ่น - ผูร้ บั โอนสิขสิทธิ์ - ผูส้ ร้างสรรค์ซ่งึ เป็ นคนชาติภาคีอนุสญ ั ญาระหว่างประเทศ - ผูพ้ ิมพ์โฆษณางานที่ใช้นามแฝงหรือนามปากกาที่ไม่ปรากฏชื่อผูส้ ร้างสรรค์ 1.7 การคุม้ ครองลิขสิทธิ์และอายุการคุม้ ครองลิขสิทธิ์ การคุม้ ครองลิขสิทธิ์ สิทธิของเจ้าของลิขสิทธิ์ท่ีจะกระทาการทาซา้ คัดลอก ทาสาเนา ดัดแปลง ผลงานได้ เผยแพร่ต่อสาธารณะได้ ให้เช่าผลงาน จากงานประเภทโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาพยนตร์ และ สิ่งบันทึกเสียงได้ ให้ประโยชน์ท่ีได้จากผลงานแก่ผูอ้ ่ืนได้ อนุญาตให้ผูอ้ ่ืนใช้สิทธิ์ โดยอาจมีค่าตอบแทน แลกเปลี่ยนได้ อายุการคุม้ ครองลิขสิทธิ์ - งานทั่วไป ลิขสิทธิ์จะมีตลอดอายุผสู้ ร้างสรรค์ และจะมีต่อไปอีก 50 ปี นับแต่ผสู้ ร้างสรรค์ ถึงแก่ความตาย กรณีเป็ นนิติบคุ คล ลิขสิทธิ์จะมีอยู่ 50 ปี นับแต่ได้สร้างสรรค์งานนัน้ ขึน้ - งานภาพถ่าย โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ หรืองานเสียงและภาพ ลิขสิทธิ์มีอยู่ 50 ปี นับแต่ ได้สร้างสรรค์งานนัน้ ขึน้ - งานที่สร้างสรรค์โดยการจ้างหรือตามคาสั่ง มีอายุ 50 ปี นับแต่ได้สร้างสรรค์งานนัน้ ขึน้ - งานศิลป์ ประยุกต์ ลิขสิทธิ์มีอยู่ 25 ปี นับแต่ได้สร้างสรรค์งานนัน้ ขึน้ - กรณีได้มีการโฆษณางานเหล่านัน้ ในระหว่างระยะเวลาดังกล่าวให้ลิขสิทธิ์มีอยู่ต่อไปอีก 50 ปี นับแต่โฆษณาครัง้ แรก ยกเว้นในกรณีศิลป์ ประยุกต์ ให้มีลิขสิทธิ์อยู่ต่อไปอีก 25 ปี นับแต่โฆษณาครัง้ แรก

74

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

2. ประโยชน์แก่เจ้าของลิขสิทธิ์ ผูถ้ ือครองลิขสิทธิ์จะได้สิทธิ์แต่เพียงผูเ้ ดียวในการ ทาซา้ ดัดแปลง เผยแพร่ ให้เช่า และขายผลงานอันมีลิขสิทธิ์ได้ ก่อให้เกิดรายได้แก่ผสู้ ร้างสรรค์ผลงานหรือผูถ้ ือครองลิขสิทธิ์ ประโยชน์แก่ สาธารณะ ก่อให้เกิดแรงจูงใจต่อผูส้ ร้างสรรค์ผลงาน ในการคิดและสร้างสรรค์ ผลงาน เพื่อให้เกิดการคุม้ ครองและได้เป็ นเจ้าของลิขสิทธิ์ เพื่อจะได้นางานลิขสิทธิ์นนั้ มาใช้ประโยชน์ต่อ สังคม ให้เกิดความจรรโลงแก่สงั คม 3.

รายละเอียดคาตอบเพิ่มเติมดูในเรื่องที่ 3 ขัน้ ตอนการแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ 1. เตรียมเอกสารที่ใช้ประกอบการแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ 2. เตรียมหลักฐานการแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ 3. ขัน้ ตอนการแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ ได้แก่ - ตรวจทาน/แก้ไข แบบฟอร์มใบแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ ผลงานที่ย่นื ประกอบคาขอ (ลาดับที่ 2) และหนังสือรับรองความเป็ นเจ้าของงานลิขสิทธิ์ เรียบร้อยแล้ว - ส่ ง ไ ฟ ล์ ก ลั บ มายั ง อี เมลศู น ย์ ท รั พ ย์ สิ นทาง ปั ญญาและบ่ มเพาะวิ สาหกิ จ [email protected] เพื่อที่จ ะให้เจ้าหน้าที่ทาการตรวจสอบ ทาความเข้าใจ และแก้ไ ข กลับไปให้ผูย้ ่ืนเรื่องขอแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์อ่านเนือ้ หาอีกครัง้ ว่า ยังมีเนือ้ หาที่ตรงกับความ ประสงค์ของผูส้ ร้างสรรค์ - ให้ผถู้ ือครองลิขสิทธิ์ (ซึ่งเป็ นเจ้าของผลงาน) ส่งไฟล์ท่แี ก้ไขกลับมายังอีเมลศูนย์ฯ อีกครัง้ - เมื่ อ หลัก ฐานครบ รายละเอี ย ดการประดิ ษ ฐ์ ถูก ต้อ ง เจ้า หน้า ที่ ป ระจ าศูน ย์ฯ จะน า หลักฐานทั้งหมดไปยื่นจดแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์ ที่กรมทรัพย์สินทางปั ญญา และเจ้าหน้าที่ ประจาศูนย์ฯ จะนาหลักฐานการยื่นที่ได้เลขที่คาขอลิขสิทธิ์แล้วส่งคืนเจ้าของผลงาน ทัง้ ใน รูปของเอกสาร (Hard copy) และไฟล์ เพื่อเก็บเป็ นหลักฐานร่วมกันกับศูนย์ทรัพย์สินทาง ปัญญาฯ ต่อไป

4. การละเมิ ด ลิ ข สิ ท ธิ์ โ ดยตรง คือ การทาซ า้ ดัดแปลง เผยแพร่แก่ส าธารณชน รวมทั้ง การนา ต้นฉบับหรือสาเนางานดังกล่าวออกให้เช่าโดยไม่ได้รบั อนุญาตจากเจ้าของลิขสิทธิ์ การละเมิดลิขสิทธิ์โดยอ้อม คือ การกระทาทางการค้า หรือการกระทาที่มีส่วนสนับสนุนให้เกิด การละเมิดลิขสิทธิ์ของผูอ้ ่ืน โดยผูก้ ระทาการละเมิดลิขสิทธิ์รูว้ ่าสิ่งนัน้ เป็ นการกระทาที่ได้ทาขึน้ โดยละเมิด ลิขสิทธิ์ของผูอ้ ่นื แต่ก็ยงั กระทาเพื่อหาผลประโยชน์จากผลงานนัน้ ได้แก่ การขาย มีไว้เพื่อขาย ให้เช่า เสนอ ให้เช่า ให้เช่าซือ้ เสนอให้เช่าซือ้ เผยต่อสาธารณชน แจกจ่ายในลักษณะที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อ เจ้าของลิขสิทธิ์และนาหรือสั่งเข้ามาในราชอาณาจักร

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

75

กรณีละเมิดลิขสิทธิ์โดยตรง มาตรา 69 “ผูใ้ ดกระทาการละเมิดลิขสิทธิ์หรือสิทธิของนักแสดงตามมาตรา 27 มาตรา 28 มาตรา 29 มาตรา 30 หรือมาตรา 52 ต้องระวางโทษปรับตัง้ แต่ 20,000 บาทถึง 200,000 บาท ถ้าการกระทาความผิดตามวรรคหนึ่งเป็ นการกระทาเพื่อการค้า ผูก้ ระทาต้องระวางโทษ จาคุก ตัง้ แต่6 เดือนถึง 4 ปี หรือปรับตัง้ แต่ 100,000 บาทถึง 800,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ” 5.

กรณีละเมิดลิขสิทธิ์โดยอ้อม มาตรา 70 “ผูใ้ ดกระทาการละเมิดลิขสิทธิ์ตามมาตรา 31 ต้องระวางโทษปรับตัง้ แต่ 10,000 บาท ถึง 100,000 บาท ถ้าการกระทาความผิดตามวรรคหนึ่งเป็ นการกระทาเพื่อการค้า ผูก้ ระทาต้องระวางโทษ จาคุก ตัง้ แต่ 3 เดือนถึง 2 ปี หรือปรับตัง้ แต่ 50,000 บาทถึง 400,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ” 6. ร้องทุกข์ต่อเจ้าหน้าที่ตารวจ หรือเจ้าหน้าที่กรมสอบสวนคดีพิเศษ ใช้หลักฐานประกอบการร้องทุกข์ ได้แก่ 1. หลักฐานการสร้างสรรค์ผลงาน หรือหลักฐานการได้มาซึ่งความเป็ นเจ้าของลิขสิทธิ์โดยเจ้าของ ลิขสิทธิ์ 2. หนังสือรับรองลิขสิทธิ์ โดยเจ้าของลิขสิทธิ์หรือตัวแทนจะต้องนาหนังสือการรับรองลิขสิทธิ์ไป แสดงต่อพนักงานสอบสวน หากไม่มีหนังสือรับรองลิขสิทธิ์หรือหนังสือรับรองสิทธิ ให้นาหลักฐานการ เผยแพร่หรือประกาศโฆษณาอันมีลิขสิทธิ์นนั้ ไปแสดงต่อพนักงานสอบสวน โดยลิขสิทธิ์ดงั กล่าวจะต้องไม่มี อายุการคุม้ ครอง 3. ตัวอย่างผลงานที่ละเมิดลิขสิทธิ์และตัวอย่างผลงานที่ถูกละเมิดลิขสิทธิ์ หากเป็ นการละเมิด ลิขสิทธิ์โดยการเผยแพร่ต่อสาธารณะ เจ้าของลิขสิทธิ์หรือตัวแทนจะต้องนาภาพถ่ายหรือภาพจาลองวัตถุท่ี แสดงถึงพฤติการณ์แห่งการละเมิดไปแสดงต่อพนักงานสอบสวน 4. หนังสือมอบอานาจ ใช้ในกรณีท่เี จ้าของลิขสิทธิ์ไม่ได้มาแจ้งความร้องทุกข์ดว้ ยตนเอง 5. สาเนาบัตรประชาชนหรือหนังสือรับรองนิติบคุ คล พร้อมรับรองสาเนาถูกต้อง 7.

76

ผูส้ อนพิจารณาความเหมาะสมของคาตอบ

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

แบบฝึ กหัดท้ายบทที่ 3 1.

การหมิ่นประมาท คือ การถูกบุคคลหนึ่งหรือหลายคนใส่ความ โดยกล่าวข้อความที่ไม่เป็ นความ

จริงให้บคุ คลที่ 3 ทราบ ซึ่งข้อความนัน้ เป็ นข้อความที่ทาให้เสื่อมเสียชื่อเสียง ทาให้คนฟั งรูส้ กึ รังเกียจ ดูหมิ่น และรูส้ กึ ไม่ดีต่อผูถ้ ูกใส่ความ ถือเป็ นความผิดฐานหมิ่นประมาท โดยการหมิ่นประมาท ต้องเป็ นการกระทา โดยมีเจตนาที่จะใส่ความ โดยการใส่ความนั้นไม่จากัดวิธี เช่น การพูดต่อหน้า การแสดงกิริยา การพิมพ์ ข้อความทางแชตไลน์ การโพสต์ภาพและข้อความในอินสตาแกรม ต่อบุคคลที่ 3 รวมทัง้ การหมิ่นประมาทด้วย การโฆษณา เช่ น การประกาศทางหนัง สื อพิม พ์ การพิม พ์ข้อความผ่ านเฟซบุ๊ก หรือสื่ อสัง คมออนไลน์ ประเภทอื่น ๆ 2.

พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2560 มาตรา 14 มีโทษจาคุกไม่เกิน 5 ปี มีโทษปรับไม่เกิน 100,000 บาท

หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ และการหมิ่นประมาทออนไลน์ เป็ นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา ว่าด้วยการ หมิ่นประมาทด้วยโฆษณา ดังต่อไปนี ้ 1) มาตรา 326 ผูใ้ ดใส่ความผูอ้ ่ืนต่อบุคคลที่ 3 โดยประการที่น่าจะทาให้ผอู้ ่ืนนัน้ เสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น หรือถูกเกลียดชัง ผูน้ นั้ กระทาความผิดฐานหมิ่นประมาท ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ 2) มาตรา 327 ผูใ้ ดใส่ความผูต้ ายต่อบุคคลที่ 3 และการใส่ความนัน้ น่าจะเป็ นเหตุให้ บิดา มารดา คู่สมรส หรือบุตรของผูต้ ายเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่นหรือถูกเกลียดชัง ผูน้ นั้ กระทาความผิดฐานหมิ่นประมาท ต้องระวางโทษดังบัญญัติไว้ใน มาตรา 326 นัน้ 3) มาตรา 328 ถ้าความผิดฐานหมิ่นประมาทได้กระทาโดยการโฆษณา ด้วยเอกสาร ภาพวาด ภาพระบายสี ภาพยนตร์ ภาพหรือตัวอักษรที่ทาให้ปรากฏด้วยวิธี ใ ด ๆ แผ่ นเสี ยง หรือสิ่ง บันทึกเสี ย ง บันทึกภาพ หรือบันทึกอักษร กระทาโดยการกระจายเสี ยง หรือการกระจายภาพ หรือโดยกระทาการ ป่ าวประกาศด้วยวิธีอ่นื ผูก้ ระทาต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปี และปรับไม่เกิน 200,000 บาท 4) มาตรา 329 ผูใ้ ดแสดงความคิดเห็นหรือข้อความใดโดยสุจริตผูน้ นั้ ไม่มีความผิดฐานหมิ่นประมาท (1) เพื่อความชอบธรรม ป้องกันตนหรือป้องกันส่วนได้เสียเกี่ยวกับตนตามคลองธรรม (2) ในฐานะเป็ นเจ้าพนักงานปฏิบตั ิการตามหน้าที่ (3) ติชมด้วยความเป็ นธรรม ซึ่งบุคคลหรือสิ่งใดอันเป็ นวิสยั ของประชาชนย่อมกระทา (4) ในการแจ้งข่าวด้วยความเป็ นธรรม เรื่องการดาเนินการอันเปิ ด เผยในศาลหรือในการ ประชุม รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

77

5) มาตรา 330 ในกรณีหมิ่นประมาท ถ้าผูถ้ ูกหาว่ากระทาความผิ ด พิสูจน์ได้ว่าข้อที่หาว่าเป็ น หมิ่นประมาทนัน้ เป็ นความจริง ผูน้ นั้ ไม่ตอ้ งรับโทษแต่หา้ มไม่ให้พิสจู น์ ถ้าข้อที่หาว่าเป็ นหมิ่นประมาทนัน้ เป็ นการใส่ความในเรื่องส่วนตัว และการพิสจู น์จะไม่เป็ นประโยชน์แก่ประชาชน 6) มาตรา 331 คู่ความ หรือทนายความของคู่ความ ซึ่งแสดงความคิดเห็น หรือข้อความในกระบวน พิจารณาคดีในศาล เพื่อประโยชน์แก่คดี ของตน ไม่มีความผิดฐานหมิ่นประมาท 7) มาตรา 332 ในคดีหมิ่นประมาทซึ่งมีคาพิพากษาว่าจาเลยมีความผิด ศาลอาจสั่ง (1) ให้ยดึ และทาลายวัตถุหรือส่วนของวัตถุท่มี ีขอ้ ความหมิ่นประมาท (2) ให้โฆษณาคาพิพากษาทัง้ หมด หรือแต่บางส่วนในหนังสือ พิมพ์หนึ่งฉบับหรือหลาย ฉบับครัง้ เดียวหรือหลายครัง้ โดยให้จาเลย เป็ นผูช้ าระค่าโฆษณา 8) มาตรา 333 ความผิดในหมวดนีเ้ ป็ นความผิดอันยอมความได้ ถ้าผูเ้ สียหายในความผิดฐานหมิ่น ประมาทตายเสียก่อนร้องทุกข์ ให้บิดามารดา คู่สมรส หรือบุตรของผูเ้ สียหายร้องทุกข์ได้ และให้ ถือว่าเป็ น ผูเ้ สียหาย 3.

ผูส้ อนพิจารณาความเหมาะสมของคาตอบ

4.

รวบรวมหลัก ฐาน ด าเนิ น การแจ้ง ความ รายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ดูเ พิ่ ม ที่ เรื่ อ งที่ 3 ขั้น ตอนการ

ดาเนินการเมื่อถูกกระทาการหมิ่นประมาทออนไลน์ 5.

โทษของการหมิ่ น ประมาทออนไลน์ ตามข้อมูล ใน เรื่องที่ 4 บทลงโทษของการหมิ่ นประมาท

ออนไลน์ 6.

78

ผูส้ อนพิจารณาความเหมาะสมของคาตอบ

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

บรรณานุกรม การละเมิดลิขสิทธิ์. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อ 3 มิถนุ ายน 2565, จาก https://www.baanjomyut.com/library_2/extension1/information_technology_law_in_thailand/09.html. กรมทรัพย์สินทางปัญญา. (2560). กระบวนการยื่นคาขอแจ้งข้อมูลลิขสิทธิ์. สืบค้นเมื่อ 2 มิถนุ ายน 2565, จาก http://www.ipthailand.go.th/th/copyright-002-1.html. กองบัญชาการตารวจสันติบาล. (2563). สรุป 13 ข้อ สาระสาคัญจาง่ายๆ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 60. สืบค้นเมื่อ 1 มิถนุ ายน 2565, จาก https://www.sbpolice.go.th/news/สรุป13ข้อสาระสาคัญจา ง่ายๆพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์60_189.html. ข้อหาหมิ่นประมาทออนไลน์ สะใจเกินลิมิต ความผิดฐานหมิ่นประมาทกับการใช้สื่อสังคม ออนไลน์ (SOCIAL MEDIA). (2557). สืบค้นเมื่อ 5 มิถนุ ายน 2565, จาก http://www.anantasook.com/law-of-defamation-on-internet/. ข่าวช่อง 8. (2563). รองโฆษก ตร. ชี้ พ่อค้าก๋วยเตี๋ยวโพสต์บูลลี่ลูกค้า ผิดข้อหาหมิ่นประมาท. สืบค้นเมื่อ 5 มิถนุ ายน 2565, จาก https://www.thaich8.com/news_detail/90474. คลินิกทนายความ. (ม.ป.ป.). ฟ้ องหมิน่ ประมาททางอินเตอร์เน็ตเฟสบุก ไลน์ พรบ.คอมพิวเตอร์. สืบค้นเมื่อ 5 มิถนุ ายน 2565, จาก https://sites.google.com/site/khlinikthnaykhwam/fxnghmin-pramath-thang-xintexrnet-fes-buk-lin-phrb-khxmphiwtexr. จส. 100. (2565). สธ. เตือน! 'อย่าหลงเชื่อเพจหลอกขายผลิตภัณฑ์สุขภาพ' ตัดต่อคลิปโฆษณา ขายสินค้า. สืบค้นเมื่อ 1 มิถนุ ายน 2565, จาก https://www.js100.com/en/site/post_share/view/114897. ชวนรู้ ! ผลงานทีม่ ีลิขสิทธิ์มีอะไรบ้าง ? รู้เท่าทันและพร้อมรับมือกับคนละเมิดลิขสิทธิ์กัน !. (2564). สืบค้นเมื่อ 3 มิถุนายน 2565, จาก https://www.diyinspirenow.com/in-ผลงานที่มี ลิขสิทธิ/์ . ทนายนิธิพล. (2564). จะฟ้ องคดีหมิน่ ประมาท จะทาอย่างไรได้บ้าง. สืบค้นเมื่อ 5 มิถนุ ายน 2565, จาก https://www.nitilawandwinner.com/content/18444/จะฟ้องคดีหมิ่นประมาท-จะทายังไง ได้บา้ ง-ทนายนิธิพล-.

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

79

ชวนรู้ ! ผลงานทีม่ ีลิขสิทธิ์มีอะไรบ้าง ? รู้เท่าทันและพร้อมรับมือกับคนละเมิดลิขสิทธิ์กัน !. (2564). สืบค้นเมื่อ 3 มิถุนายน 2565, จาก https://www.diyinspirenow.com/in-ผลงานที่มี ลิขสิทธิ/์ . ทนายนิธิพล. (2564). จะฟ้ องคดีหมิน่ ประมาท จะทาอย่างไรได้บ้าง. สืบค้นเมื่อ 5 มิถนุ ายน 2565, จาก https://www.nitilawandwinner.com/content/18444/จะฟ้องคดีหมิ่นประมาท-จะทายังไง ได้บา้ ง-ทนายนิธิพล-. ไทยรัฐออนไลน์. (2563). การละเมิดลิขสิทธิว์ ิดีโอออนไลน์ กระทบ ศก.9 หมื่นล้าน ชีป้ ม ก.ม. อ่อนแอไป. สืบค้นเมื่อ 3 มิถนุ ายน 2565, จาก https://www.thairath.co.th/news/tech/1757873. ไทยรัฐออนไลน์. (2565). "อ๋อม สกาวใจ" จัดหนักฟ้ องเกรียนคียบ์ อร์ด เรียกค่าเสียหาย 2 ล้าน บาท. สืบค้นเมื่อ 5 มิถนุ ายน 2565, จาก https://www.thairath.co.th/news/local/bangkok/2365816. บทที่ 2 ลิขสิทธิ์. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อ 3 มิถนุ ายน 2565, จาก http://ipthailand.go.th/images/2562/Suppress/lesson2.pdf. พิชญาพร โพธิ์สง่า. (2565). 15 รู ปแบบการฉ้อโกงบนตลาดออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 1 มิถนุ ายน 2565, จาก https://theactive.net/data/internet-fraud-2021/. พูลสุข ปริวตั รวรวุฒิ. (2558). สิ่งทีไ่ ม่มีลิขสิทธิ์. สืบค้นเมื่อ 3 มิถนุ ายน 2565, จาก http://203.131.219.167/km2559/2015/04/09/สิ่งที่ไม่มลี ิขสิทธิ/์ . ภูดิท โทณผลิน. (2563). การเรียกค่าเสียหายในกรณีหมิ่นประมาท. สืบค้นเมื่อ 5 มิถนุ ายน 2565, จาก https://www.attorney285.co.th/article/137/การเรียกค่าเสียหายในกรณีหมิ่นประมาท. ราชกิจจานุเบกษา. (2560). พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560. สืบค้นเมื่อ 1 มิถนุ ายน 2565, จาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/A/010/24.PDF. ลิขสิทธิ์ คืออะไร ตัวอย่างงานอันมีลิขสิทธิ์ ได้แก่อะไรบ้าง. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อ 3 มิถนุ ายน 2565, จาก https://www.atpserve.com/ลิขสิทธิ์/. วันพิชิต ชินตระกูลชัย. (2564). พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ สรุป คืออะไร !! สาระน่ารู้. สืบค้นเมื่อ 1 มิถนุ ายน 2565, จาก https://ragnar.co.th/what-is-the-computing-act/. วิกิพิเดีย สารานุกรมเสรี. (ม.ป.ป.). การหมิ่นประมาท (กฎหมายไทย). สืบค้นเมื่อ 4 มิถนุ ายน 2565, จาก https://th.wikipedia.org/wiki/การหมิ่นประมาท_(กฎหมายไทย).

80

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

วิธีป้องกันตนเองจากภัยคุกคามทางออนไลน์และอาชญากรรมทางไซเบอร์ (How to protect yourself from Cybercrime ?). (2564). สืบค้นเมื่อ 1 มิถนุ ายน 2565, จาก https://tips.thaiware.com/1732.html. ศูนย์ทรัพย์สินทางปัญญา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. (ม.ป.ป.). การละเมิดผลงานทรัพย์สินทาง ปั ญญา. สืบค้นเมื่อ 3 มิถนุ ายน 2565, จาก https://acds.sci.psu.ac.th/images/file/Activity/3IP%20Training_28-8-62.pdf. ศูนย์ทรัพย์สินทางปัญญาและบ่มเพาะวิสาหกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (ม.ป.ป.). ลิขสิทธิ์ (Copyright). สืบค้นเมื่อ 3 มิถนุ ายน 2565, จาก http://tuipi.tu.ac.th/tuip04.php. สรุป 13 ข้อ สาระสาคัญจาง่าย ๆ พ.ร.บ.คอมพ์ 60 มีผลบังคับใช้แล้ว. (2560). สืบค้นเมื่อ 1 มิถนุ ายน 2565, จาก https://www.marketingoops.com/news/viral-update/computer-law/. สรุปครบ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ 2560 : มีกี่หมวด กีม่ าตรา ตัวอย่างการกระทาผิด พร้อมบทลงโทษ [update 2021]. (2564). สืบค้นเมื่อ 1 มิถนุ ายน 2565, จาก https://contentshifu.com/blog/computer-law. สานักงานกฎหมาย สุจิตรา ทนายความ. (2564). เมื่อถูกหมิ่นประมาทต้องทาอย่างไร. สืบค้นเมื่อ 5 มิถนุ ายน 2565, จาก https://sujittralawyer.com/when-defamed-what-to-do/. สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.). (2563). Cyberbully คืออะไร? ส่งผล อย่างไร? และเราควรรับมือกับมันอย่างไรดี?. สืบค้นเมื่อ 1 มิถนุ ายน 2565, จาก https://resourcecenter.thaihealth.or.th/article/cyberbully-คืออะไร-ส่งผลอย่างไร-และเราควร รับมือกับมันอย่างไรดี-. อายุการคุ้มครองลิขสิทธิ์. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อ 3 มิถุนายน 2565, จาก https://www.baanjomyut.com/library_2/extension1/information_technology_law_in_thailand/08.html. CH 7 HD ร้อนออนไลน์. (2564). รวบหนุ่ม ดีกรี ป.ตรี วิทยาศาสตร์การแพทย์ มือแฮ็กเว็บไซต์ศาล รัฐธรรมนูญ. สืบค้นเมื่อ 1 มิถนุ ายน 2565, จาก https://news.ch7.com/detail/529255.

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

81

iLawFreedom. (2563). วิจารณ์อย่างเท่าทัน ทาความเข้าใจกฎหมายพืน้ ฐาน หมิ่นประมาทพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ. สืบค้นเมื่อ 5 มิถนุ ายน 2565, จาก https://freedom.ilaw.or.th/node/818. Metave Chaimaneewan. (2562). ใบงานที่ 3 ความรู้เรื่อง พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ 2560. สืบค้นเมื่อ 1 มิถนุ ายน 2565, จาก https://46847yupparaj.blogspot.com/2019/08/3-2560.html. ONE 31. (2564). แม่ค้าออนไลน์ โดนจับลิขสิทธิ์ชุดนอน ‘การ์ตูนวันพีซ’. สืบค้นเมื่อ 3 มิถนุ ายน 2565, จาก https://www.one31.net/news/detail/29176. PPTV HD 36. (2564). ระวังภัยออนไลน์ 6 ประเภท ทีจ่ ะมาหลอกให้ตกเป็ นเหยื่อช่วง work from home. สืบค้นเมื่อ 1 มิถุนายน 2565, จาก https://www.pptvhd36.com/news/อาชญากรรม/ 154264. SANOOK. (2564). ด่าฟรีไม่มีในโลก ไม่อยากโดนฟ้ องศึกษากฎหมายให้ดีก่อน. สืบค้นเมื่อ 5 มิถนุ ายน 2565, จาก https://www.sanook.com/campus/1404072/. TERRABKK. (2564). หมิ่นประมาทคืออะไร?. สืบค้นเมื่อ 5 มิถนุ ายน 2565, จาก https://www.terrabkk.com/articles/199493/หมิ่นประมาท-คืออะไร. UPSTERRR!. (2562). 10 พฤติกรรมของการ Cyberbullying ทีค่ ุณอาจจะกาลังทาโดยไม่รู้ตัว!. สืบค้นเมื่อ 1 มิถนุ ายน 2565, จาก https://www.jeab.com/life/tech-life/10-types-ofcyberbullying.

82

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

ทีม่ ารูปภาพ 1. 13 ข้อสรุปสาระสาคัญของ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ที่มา https://46847yupparaj.blogspot.com/2019/08/3-2560.html 2. ภัยคุกคามทางโลกออนไลน์ ที่มา https://www.itweapons.com/cyber-security-advice-from-a-certified-ethical-hacker-part1/ 3. การถูกเข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ (Hacking) ที่มา https://www.arnnet.com.au/article/692718/how-hack-phone-7-common-attack-methodsexplained/ 4. 15 รูปแบบการฉ้อโกงบนตลาดออนไลน์ ที่มา https://theactive.net/data/internet-fraud-2021/ 5. การหลอกให้กเู้ งินออนไลน์จากแอปพลิเคชัน ที่มา https://www.nakhononline.com/19926/ 6. การหลอกให้กเู้ งินออนไลน์จากแอปพลิเคชัน ด้วยการกดลิงก์ ที่มา https://www.matichon.co.th/local/news_2619795 7. การหลอกให้หลงรักในโลกออนไลน์ ที่มา https://www.naewna.com/local/646481 8. เว็บไซต์ศาลรัฐธรรมนูญถูกแฮกเกอร์ใส่เพลง Kangaroo Court ที่มา https://board.postjung.com/1356430 9. รวบมือแฮกเว็บไซต์ศาลรัฐธรรมนูญ ที่มา https://news.ch7.com/detail/529255 10. สธ. เตือน! “อย่าหลงเชื่อเพจหลอกขายผลิตภัณฑ์สขุ ภาพ” ตัดต่อคลิปโฆษณาขายสินค้า ที่มา https://www.js100.com/en/site/post_share/view/114897 รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

83

11. การละเมิดลิขสิทธิ์ ที่มา https://www.solidreptm.com/dmca-takedown/ 12. ข้อควรรูห้ ากโดนละเมิดลิขสิทธิ์ ที่มา http://www.ipthailand.go.th/th/infographic/item/โดนละเมิดลิขสิทธิ์ทาไงดี.html 13. ขัน้ ตอนการดาเนินการหากโดนละเมิดลิขสิทธิ์ ที่มา https://mgronline.com/infographic/detail/9620000106693 14. การละเมิดลิขสิทธิ์วิดีโอออนไลน์ กระทบ ศก.9 หมื่นล้าน ชีป้ ม ก.ม.อ่อนแอไป ที่มา https://www.thairath.co.th/news/tech/1757873 15. การหมิ่นประมาท ที่มา http://www.anantasook.com/law-of-defamation-on-internet/ 16. กรณีศกึ ษา : รองโฆษก ตร. ชี ้ พ่อค้าก๋วยเตี๋ยวโพสต์บลู ลี่ลกู ค้า ผิดข้อหาหมิ่นประมาท ที่มา https://www.thaich8.com/news_detail/90474

84

รายวิชา กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์ สค0200038

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.