สีม่วง สีคราม ออร์แกนิก วาดมือ ดาวเคราะห์ กิจกรรม แนวตั้ง โปสเตอร์ Flipbook PDF


7 downloads 104 Views 49MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

ด เ ติ ชื้ ร อ า ก

ห น า ดิ ย เ ใ ง า จ ท

กายวิภาคศาสตร์ ระบบทางเดินหายใจ 1.โพรงจมูก Nasal cavity ทำหน้าที่เพิ่มอุณหภูมิดักจับเชื้อโรค และเพิ่มความชุ่มชื้นของอากาศ

2.จมูก Nose ใช้เพื่อเป็นทางเข้าของอากาศ มีหน้าที่ในการดักจับฝุ่นละออง และเพิ่มความชุ่มชื้นของอากาศ

3.คอหอย Pharynx ใช้ในการสร้างเสียง และใช้เป็นทางเดินหายใจ

4.กล่องเสียง Larynx ใช้ในการสร้างเสียงและ เป็นทางเดินหายใจ

Upper respiratory tract

2. หลอดลมใหญ่ Bronchus มีหน้าที่นำอากาศไปยังปอด

Lower respiratory tract

3. ช่องเยื่อหุ้มปอด Pheura เป็นเนื้อเยื่อบางๆ ที่ห่อหุ้มเนื้อปอดทั้งหมด โดยมีหน้าที่ปกป้องปอด

5.ถุงลม Alveoli ทำหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊ส ระหว่างอากาศที่ลำเลียงมา กับเส้นเลือดฝอยที่ล้อมรอบ

1.หลอดลม Trachea เป็นทางเดินอากาศส่วนต้น ที่จะนำอากาศสู่ปอดช่วยป้องกัน ไม่ให้ท่อทางเดินอากาศยุบเเบน

4. ปอด Lungs เป็นโครงสร้างหลักของระบบ หายใจอยู่ในส่วนของช่องอกเมื่อช่วงอก ขยายปอดก็ขยายตามเปิดโอกาสให้อากาศ ไหลเข้ามาสู่ปอดเมื่อช่องอกหดแฟบลงปอด ก็ถูกบีบขับอากาศออกสู่ภายนอก

6. หลอดลมฝอย bronchiole หลอดเล็กๆที่แตกแขนงออกจากหลอดลมและแยก แขนงออกไปทั่วปอดมีหน้าที่ลำเลียงอากาศ

การติดเชื้อ ทางเดินหายใจ ส่วนบน

โรคหวัด COMMON COLD สาเหตุ

พยาธิสภาพ

ติดต่อเชื้อไวรัสโดย การไอหรือหายใจ รดกันและจากการ สัมผัส

โกรทแฟคเตอร์หลั่งออกมาจำนวนมากไป กระตุ้น(SPDEF)และ(EGFR)หน้าที่ควบคุมการ สร้างสารคัดหลั่งในระบบทางเดินหายใจส่วนบน ให้ผลิตสารคัดหลั่งออกมา

อาการและอาการแสดง

การพยาบาล

1.ดูแลเช็ดตัวลดไข้และวัดอุณหภูมิหลังเช็ดตัว และใช้ยาตามแผนการรักษาของแพทย์และ ติดตามอาการข้างเคียง 2.รับประทานอาหารอ่อน ดื่มน้ำอุ่นมากๆ 3.หากมีอาการดังนี้ควรพบแพทย์ เช่น หายใจหอบ หายใจเสียงดัง

การรักษา รักษาตามอาการ

Acute sinusitis โรคโพรงจมูกอักเสบเฉียบพลัน

ระบบทางเดินหายใจ ส่วนบน

สาเหตุ

การพยาบาล

สั่งน้ำมูกแรงๆ จามมากๆ

ไม่แนะนำให้สั่งน้ำมูกหรือจาม แรงๆ เนื่องจากแรงดันจะทำให้ เชื้อโรคเข้าสู่ช่องหู

สาเหตุ ภูมิต้านทานต่ำ

การพยาบาล ติดตามประเมินผลข้างเคียง จากการใช้ยา

พยาธิสภาพ โพรงไซนัสกับช่องจมูกเกิดอุดตันและ มีการคั่งค้างของน้ำเมือกในโพรง ไซนัส อากาศภายในไม่สามารถไหล เวียนถ่ายเทได้

การรักษา

การรักษา

ให้ยาตามอาการ ยาบรรเทา ปวด ลดไข้ คัดจมูก ยาต้าน จุลชีพ มักให้ยารับประทาน 10-14วัน

อาการและอาการแสดง ปวดหน่วงๆ บริเวณไซนัส อักเสบ คัดแน่นจมูก หูอื้อ

หลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้นต่างๆ เช่น ควันบุหรี่ ไรฝุ่น มลพิษใน อากาศ

การรักษา ใช้ Nss 0.9% ในการล้างจมูก

Acu

te o titis โ ร ค หู

a i d e m

น ลั พ ชั้ น ก ล า ง อั ก เ ส บ เ ฉี ย บ

ตุ ห เ สา

ย รี เ ที ค แบ อ ชื้ เ ด อ ติ ไ ร ช า อ ก เ ก ที น อ็ เ อ เกิดจา ชื้ ะเ ล แ ส คั ค อ ค ม โ นิว

พยาธิ ส ภ า เกิดก พ ารติด

เชื้อแ การติ บคทีเ ดเชื้อ รียตา ไวรัส หายใ มหลัง ของร จส่วน ะบบท บน เ จากจ างเดิน ชื้อโร มูกแล คมักจ ะโพร ะผ่าน งจมูก ผ่านท เข้าสู่หู างท่อ ชั้นกล ยูสเต าง เชียน

อาการและอาการแสดง การรักษา ปวดหู เยื่อแก้วหูแดงและอักเสบ

มีไข้

การพยาบาล

1.ดูแลให้ได้ยาตามคำสั่งการรักษาของแพทย์ ให้ยาต้านเชื้อที่เหมาะสมกับเด็กแต่ละคน และติดตามผลข้างเคียง

3.ใช้ไม้พันสำลีใส่เช็ดทำความสะอาดหูให้แห้งอยู่เสมอ ห้ามใส่เข้าไปในช่องหู

1.รักษาด้วยยาตามอาการ รับประทานยา ปฏิชีวนะ (antibiotic) ที่เหมาะสม 2.หากมีการติดเชื้อรุนแรง ) u m o t o g in r y (M หู ว ก้ แ ะ า ต้องผ่าตัดเจ 2.ประคบน้ำอุ่นโดยใช้ผ้าสะอาดชุบน้ำอุ่นและบิดหมาดๆ ประคบหู15-20นาที

4.ดูแลแนะนำผู้ป่วยไม่ให้สั่งน้ำมูกหรือจามแรงๆ เนื่องจากแรงดันที่เพิ่มขึ้นจะทำให้เชื้อโรคเข้าสู่ช่องหู

อ้างอิง รศ.นพ.สุรเกียรติ อาชานานุภาพ. (2566). หูชั้นกลางอักเสบ. https://doctorathome.com/disease-conditions/7

โรคต่อมทอนซิลอักเสบ (TONSILLITIS) สาเหตุ

เกิดจากเชื้อไวรัส (สเตร็ปโตคอคคัสกลุ่ม เอ)

พยาธิสภาพ

เกิดการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจส่วนต้น บ่อยครั้ง ทำให้ต่อมทอนชิลทั้งสองข้าง ของคอทำงานมากจึงเกิดการอักเสบ

อาการ และอาการแสดง

1

2

3

ไข้

หายใจ และกลืนลำบาก

คอแดง ร่วมกับต่อม ทอนซิลบวม

การพยาบาล

ดูแลให้ได้รับยาต้านเชื้อแบคที่เรียตามที่แผนการ รักษาของแพทย์และติดตามประเมินผลข้างเคียง

เช็ดตัวลดไข้และวัดอุณหภูมิหลังเช็ดตัว หากอาการไข้ ไม่ลด รับประทานยาลดไข้ อมกลั้วคอด้วยน้ำเกลือ เพื่อลดการอักเสบในเด็กที่ให้ความร่วมมือ

แยกเครื่องใช้ที่สัมผัสกับน้ำมูกและน้ำลายของเด็ก

การรักษา

1)การรักษาด้วยยา ตามอาการ และให้ยาต้านเชื้อ

ที่เหมาะสมกับเด็กแต่ละคน 2)การรักษาด้วยการ

ผ่าตัด(Tonsillectomy)

pharyngitis โรคคอหอยอักเสบ

โรคทางเดินหายใจส่วนต้น

สาเหตุ ร้อยละ 70-90 เกิดจากเชื้อไวรัส ที่พบบ่อย Adenovirus Para-influenzae Influenzae Epstien-Barr Virus Coxsackie Virus Herpes Simplex Virus

เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ที่พบบ่อย

พยาธิสรีรภาพ เชื้อไวรัสจะเพิ่มจำนวนและ ทำให้เกิดพยาธิสภาพที่ mucosal cells ณ คอหอย หลังโพรงจมูก ส่งผลทำให้ เซลล์ถูกทำลาย สำหรับเชื้อ แบคทีเรียพบว่าสามารถผ่าน เข้าสู่ร่างกายทางการหายใจ จากนั้นจะเกิดการฟักตัวและ การติดเชื้อเกิดขึ้นภายใน 24-72 ชั่วโมง

Streptococcus group A, C

การรักษา

อาการและอาการแสดง เด็กป่วยจะมีอาการที่สำคัญ คือ มีไข้ คันคอ เจ็บคอ มักตรวจพบ คอหอยและทอนซิลแดงกว่าเยื่อบุเพดานปาก อาการที่บ่งชี้ว่าน่าจะ เกิดจากเชื้อ Streptococcus group A คืออาการเจ็บคอจะเกิด ขึ้นอย่างเฉียบพลันและรุนแรง ปวดศีรษะ มีไข้ และโดยเฉพาะใน เด็กเล็กพบร่วมกับมีจุดหนองหรือแผ่นเยื่อสีขาวที่ทอนซิล เกิด ประมาณวันที่ 2 ของการเจ็บป่วย สำหรับในเด็กอายุ 5-18 ปี ส่วนใหญ่จะพบว่าต่อมน้ำเหลืองที่คอด้านหน้าโตและเจ็บ อาการเจ็บคออาจน้อยหรือมากจนทำให้เด็กป่วยรู้สึกกลืนลำบาก

1.รักษาตามอาการ 2.ให้ยาต้านเชื้อแบคที่เรียในรายที่คิด ว่าเกิดจากเชื้อแบคที่เรีย 3.ผ่าตัดทอนซิล (Tosillectomy) ใน กรณีที่รักษาดังกล่าวข้างต้นไม่ได้ผล



การพยาบาล 1.ประคบบริเวณลำคอด้วยน้ำอุ่นหรือน้ำเย็นเพื่อช่วยลดอาการเจ็บคอ 2.ให้ความร่วมมือ ในการกลั้วคอด้วยน้ำเกลือธรรมดาหรืออุ่นเล็กน้อยเพื่อลดการอักเสบและเจ็บคอ 3.ดูแลแนะนำให้เด็กได้รับประทานยาตามแผนการรักษาของแพทย์และติดตามประเมินผลข้างเคียง 4.รับประทานอาหารอ่อนดื่มน้ำมากๆเพื่อช่วยในการกลืนได้สะดวก ​ 5.วัดอุณหภูมิทุก 4 ชั่วโมง 6.เช็ดตัวเพื่อลดไข้วัดอุณหภูมิหลังเช็ดตัว 7.กระตุ้นให้ผู้ป่วยดื่มน้ำมากๆ

Influenza สาเหตุ



ไข้หวัดใหญ่ พยาธิสภาพ

อาการและอาการแสดง

เบื่ออาหาร

การรักษา

การพยาบาล

การป้องกัน

CROUP ครูป สาเหตุ พยาธิสภาพ อาการ

Croup (โรคครูป) หรือภาวะกล่องเสียงและหลอดลมอักเสบ (Laryngotracheobronchitis) เป็นโรคติดเชื้อไวรัสบริเวณทางเดินหายใจส่วนบน ที่พบมากในเด็ก และมักเกิดในช่วงปลายฝนต้นหนาว

เชื้อไวรัส Influenza ติดจากการหายใจ สูดเอาละอองที่มีไวรัส พยาธิสภาพ คือ การติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจส่วนต้นและกล่องเสียง ทำให้เกิด การอักเสบและบวมของทางเดินหายใจ มีสิ่งคัดหลั่ง มีการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ ทำให้ เกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจ ส่วนใหญ่พบบริเวณฝาปิดกล่องเสียง พบใน เด็กชายมากกว่าเด็กหญิง ช่วงอายุ 3 เดือน ถึง 4 ปี และพบมากที่สุดเมื่ออายุ 18 เดือน

ไอเสียงก้อง

การรักษา การพยาบาล

ผื่นขึ้น

หายใจเสียงดัง หายใจลำบาก

ตาแดง

* ใช้ยาสเตียรอยด์ทั้งชนิดรับประทานหรือชนิดพ่น เพื่อลดการอักเสบในทางเดินหายใจ * บางรายฉีดเดกซาเมทาโซน ซึ่งเป็นยาที่ออกฤทธิ์นานถึง 72 ชั่วโมง 1. ประเมินระดับความรู้สึกตัว ลักษณะการหายใจ ได้แก่ หายใจมีเสียง stridor หายใจลำบาก ไอเสียงก้อง สัญญาณชีพ วัดค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนในร่างกาย ทุก 2-4 ชั่วโมง เพื่อประเมินระดับออกซิเจนในร่างกาย 2. ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย 3. ดูแลรักษาพยาบาลตามอาการ ได้แก่ ดูแลให้ทางเดินหายใจโล่ง รักษาร่างกายให้อบอุ่น 4. สังเกตอาการแสดงของภาวะแทรกช้อนที่เป็นอันตราย ได้แก่ อาการ ไอ หอบ หายใจเร็วหรือ หายใจลำบาก อาการชัก และช็อก เป็นต้น

U

d n

s

Wa

sh

n a i s t i e z s

er

W

a s m k r a e

your Ha

การติดเชื้อ ทางเดินหายใจ

nfect

feet Wa

ur

D

is i

o t l hes c e g n

ily da

Cha

ส่วนล่าง o y sh

สาเหตุ

การระคายเคือง

จากสารเคมี

Bronchitis

โรคหลอดลมอักเสบ ระบบทางเดินหายใจ

ส่วนล่าง

โรคภูมิแพ้

virus



ย แ ม ล ด อ ล ห บุ อ ยื่ เ ที่ อ การติดเชื้ า

ม อ ต่ ง ซึ่ บ ส เ ก อั ร า ก ทำให้เกิด

ง ยั ป ไ ม า ล ก ลุ จ า อ ม า อาจลุกล

ด า น ข จ ใ ย า ห น ดิ เ ง า ท ส่วนของ ละ

แ ต โ ด า น ข มี ก มู ง า ร้ ส เล็ก ต่อม ล์

ล ซ เ ย า ล ทำ ร า ก มี น เพิ่มจำนว ม

ซึ ก ร ท แ ร า ก มี ) ia il c ซิเลีย ( ว ของเซลล์เม็ดเลือดขา

การติดเชื้อ

การรักษา

Respiratory Syncytial virus Parainfluenza Rrinovirus Adenovirus

การรักษาทั่วไป ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ให้ยาขยายหลอดเลือด ยาขับเสมหะ ทำกายภาพบำบัดทรวงอก

bacteria

การรักษา ะเฉพาะ โ ดยการ

ให้ยาปฏิชี วนะที่จำเพ าะต่อ

เชื้อ เช่น กลุ่มเพนนิ ซิลลิน

อะมอกซีซิ ลลินหรือค ล็อกซา

ซิลลิน(Cl oxacillin)

Hemophilus

influenza type B Streptococcus

pneumoniae

อาการและอาการแสดง อาการมักเกิดภายหลังมีการติดเชื้อทางเดินหายใจ ส่วนบน ได้แก่ ไข้ น้ำมูกไหล ไอ ต่อมา ไอแห้งๆ

บ่อยๆ รุนแรงขึ้น ไอมีเสมหะ อาจมีหลอดลมหด

เกร็งร่วมด้วย เด็กโตจะบ่นเจ็บที่หน้าอก เนื่องจาก การไอที่รุนแรงโดยทั่วไปอาการมักจะดีขึ้นในช่วง

เวลา10-14วัน ถ้าไม่ดีขึ้นเกิน2-3 สัปดาห์ อาจ

เนื่องมาจากมีการติดเชื้อแบคทีเรียซ้ำ

การพยาบาล

พยาธิสภาพ

การป้องกัน 1. ฉีดวัคซีนโรคหัด โรคไอกรน โรคไข้หวัดใหญ่ 2.ไม่ให้เด็กคลุกคลีกับผู้ที่ป่วยเป็นหวัด 3. หลีกเลี่ยงชุมชนคนเยอะ เช่น ห้างสรรพสินค้า

ตลาดนัดในช่วงที่มีการระบาดของเชื้อไวรัสต่างๆ

ดูแลให้ได้รับยาขับเสมหะหรือยาขยายหลอดลมตามแผนการรักษา

สังเกตและจดบันทึกสัญญาณชีพ ลักษณะการหายใจ อัตราการหายใจ ให้อยู่ในเกณฑ์ปกติตามวัย

ตลอดจนสังเกตอาการเขียวบริเวณริมฝีปาก ปลายมือ ปลายเท้า ซักประวัติ ควรซักประวัติเกี่ยวกับอายุ สาเหตุของการเจ็บป่วย การเลี้ยงดู และสิ่งแวดล้อมที่มีต่อการเจ็บป่วยครั้งนี้

โรค หอ บหื ด

As th ma

"โรคทางเดินหายใจส่วนล่าง" สารก่อภูมิแพ้ อาหาร ฝุ่น ตัวไร ขนสัตว์

อากาศเปลี่ยนแปลง ควันบุหรี่ และพันธุกรรม

สาเห ตุ

พ า ภ ส ธิ า ย พ สาร mediators กระตุ้นให้หลอดลมฝอยหดเกร็ง บวม ทางเดินหายใจแคบลง การแลกเปลี่ยนก๊าซ

น้อยลง นำไปสู่ภาวะเป็นกรดและภาวะหายใจล่มเหลว

อาการและอาการแสดง

หอบ หายใจมีเสียงหวี๊ด หายใจลำบาก

ไอแห้งไม่มีเสมหะ แน่นหน้าอก เหงื่อออก

การป้องกัน

ใส่หน้ากากอนามัย หลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้น

การพยาบาล ประเมินสภาพเด็ก จัดท่าศรีษะสูง วัดและติดตามสัญญาณชีพ กระตุ้นให้เด็กทำกิจกรรม ฝึกบริหารปอด ให้ความรู้เด็กและครอบครัว

การรักษา

1.จัดหาระดับความรุนแรง ตามอาการ 2.หลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้น

3.ยารักษาชนิดสูดพ่นและรับประทาน 4.ติดตามอาการอย่างต่อเนื่อง

สาเหตุ

เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย เข่น เชื้อนิวโมคอคคัส (Streptococcus pneumoniae), Gr.A Streptococcus, เชื้อฮิบ (Haemophilus influenzae type B) หรือเชื้อไมโครพลาสม่า (Mycoplasma pneumoniae) ส่วนเชื้อไวรัส ได้แก่ RSV, ไข้หวัดใหญ่ ,human metapneumovirus(hMPV), Adenovirus, Parainfluenza virus

Pneumonia

อาการและอาการแสดง 1.ให้ยาปฏิชีวนะ 2.ให้ออกซิเจนในกรณีที่มีระดับออกซิเจนใน เลือดต่ำ 3.ให้น้ำเกลือทางหลอดเลือดดำชดเชย ภาวะขาดสารน้ำ 4. การให้ยาลดไข้ 5.ยาละลายเสมหะในกรณีที่เสมหะเหนียว และ ยาพ่นขยายหลอดลมในกรณีที่ได้ยินเสียง หลอดลมตีบจากภาวะหลอดลมหดเกร็งร่วมด้วย 6. ภาวะหายใจลำบาก แพทย์ผู้ดูแลอาจ พิจารณาใช้เครื่องช่วยหายใจผ่านทางหน้ากาก หรือพิจารณาใส่ท่อหลอดลม

โรคปอดอักเสบหรือปอดบวม พยาธิสภาพ

เชื้อที่อยู่ในเสมหะหรือเมือกในทางเดินหายใจส่วนต้นจะแพร่เข้าสู่ถุงลม มี การโบกพัดของ cilia ภายในถุงลมเกิดการไอเพื่อขจัดเชื้อในเสมหะส่วนแมก โครฟาจจะทำลายเชื้อโรคในถุงลม ถ้าไม่มีกลไกดังกล่าวปอดจะอักเสบโดยมี การสร้างน้ำและน้ำเมือกเพิ่มขึ้นบริเวณถุงลม และไหลเข้าสู่หลอดลมฝอย เนื้อที่ในการแลกเปลี่ยนออกชิเจนลดลงมีเม็ดเลือดขาวและเม็ดเลือดแดง บริเวณที่อักเสบเพิ่มมากขึ้น น้ำเมือกที่ติดเชื้อจะแพร่ไปปอดส่วนอื่นทำให้ถุง ลมแคบลงและแข็งทำให้ผู้ป่วยมีไข้ ไอ และมีเสมหะ

การพยาบาล 1.ประเมินสัญญาณชีพทุก 1-4 ชั่วโมง ตามความรุนแรงของผู้ป่วย ร่วมกับสังเกตอาการภาวะพร่องออกซิเจน เช่น หายใจหอบมากขึ้น หายใจลำบาก หายใจเข้ามีเสียงดัง มีหายใจหน้าอกบุ๋มรุนแรงมากขึ้น ระดับความรู้สึกตัวลดลง กระสับกระส่าย ร้องกวน ซึม ให้รายงานแพทย์ 2.จัดท่านอนให้อยู่ในท่าศีรษะสูงประมาณ 30 องศา ใช้ผ้าหนุนให้คอแหงนเล็กน้อยในเด็กเล็ก 3.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจน ในรายที่มีเสมหะให้เคาะปอดและดูดเสมหะ 4.ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา 5.ควบคุมอุณหภูมิร่างกายโดยการเช็ดตัวลดไข้ หรือดูแลให้ยาลดไข้ตามแผนการรักษา 6.ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา 7.ให้การพยาบาลโดยยึดหลัก aseptic technique 8.ดูแลให้พักผ่อนโดยจัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ รบกวนผู้ป่วยเมื่อจำเป็น และพยายามทำการพยาบาลให้เสร็จสิ้นในช่วงเวลาเดียวกัน

สาเหตุ ส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อไวรัส RSV (respiratory syncytial virus)

การประเมินปัญหา การซักประวัติอาการแสดง และการตรวจร่างกายพบ หายใจเร็วอกบุ๋มมีเสียงวี๊ดใน ปอดภาพถ่ายรังสี ตรวจทาง ห้องปฏิบัติการพบWBCสูงขึ้น เล็กน้อย

โรคหลอดลมฝอยอักเสบ (Bronchiolitis)

พยาธิสภาพ พบเยื่อบุของหลอดลมฝอยบวม หนาขึ้น มีเสมหะเพิ่มขึ้นเกิดการอุด ตันในหลอดลม และมีการขยายของ ถุงลมมากเกินไป เด็กป่วยมักเกิด ภาวะพร่องออกซิเจน ซึ่งเกิดจากการ ที่อากาศและการไหลเวียนเลือดใน ปอดไม่สัมพันธ์กัน ทำให้เกิดภาวะ hypercapnia

การรักษา รักษาตามอาการไม่ใช้ยาต้าน แบคทีเรียเพราะส่วนใหญ่เกิด จากไวรัส

การป้องกัน 1.พักผ่อนให้เพียงพอ ดื่มน้ำอุ่นบ่อยๆ 2.หลีกเลี่ยง การสูบบุหรี่ ควัน ควันบุหรี่ สารเคมี 3.ควรพยายามหลีกเลี่ยงอากาศเย็นและแห้ง ซึ่งจะทำให้ไอมากขึ้น 4.ควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสอากาศจากเครื่องปรับอากาศหรือพัดลม โดยตรง 5.ควรให้ความอบอุ่นแก่ร่างกายให้เพียงพอ 6.ฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

อาการสำคัญ 1.มีไข้ไอจามและน้ำมูก 2.รับประทานอาหารได้น้อย ลง 3.หายใจหอบเหนื่อย อกบุ๋ม ได้ยินเสียงปอดผิดปกติ เสียงหายใจดังวี้ด

โรคติดเชื้อโคโรนา 2019 COVID-19

สาเหตุ : เชื้อไวรัส SARS-like coronaviruses ในค้างคาว เกิด การกลายพันธุ์เป็นเชื้อไวรัส SARSCoV-2 และแพร่กระจายมาสู่คน

พยาธิสภาพ : เมื่อสูดละอองเชื้อไวรัส SARS-COV-2 เข้าไป เชื้อไวรัสจะ แพร่กระจายไปตามเซลล์เยื่อบุคอ ท่อทางเดินหายใจและปอด ทำให้เกิด เสมหะและอาการปอดบวม เป็นเหตุ ทำให้ได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ

การรักษา COVID-19 การรักษาจะเน้นรักษาตามอาการ และให้ยาต้านไวรัส การให้ ออกซิเจนเมื่อเกิดอาการพร่อง ออกซิเจน หรือ การให้ยาต้านไวรัส Molnupiravir 200 mg.

อาการและอาการแสดง : มีไข้ ไอ เจ็บคอ มีเสมหะ มีผื่น ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดศีรษะ อาเจียน ถ่ายเหลว

อ้างอิงรูปภาพประกอบโปสเตอร์จากเว็บไซต์ canva.com วัคซีนในเด็ก 1. วัคซีนโควิด-19สำหรับเด็กอายุ 5-11 ปี ได้แก่ วัคซีนไฟเซอร์ฝาสีส้มสูตรสำหรับเด็ก ขนาด 10 ไมโครกรัม ปริมาณ 0.2 มิลลิลิตร ฉีด เข้ากล้ามเนื้อ 2 ครั้ง เว้นระยะห่าง 3-12 สัปดาห์

2. วัคซีนโควิด-19 สำหรับเด็กอายุตั้งแต่ 12 ปีขึ้น ไป ได้แก่ วัคซีนไฟเซอร์ฝาสีม่วงสำหรับผู้ใหญ่

ภาวะแทรกซ้อนในเด็ก ภาวะลองโควิด หรือ อาการหลงเหลือ หลังติดเชื้อโควิด-19 มีอาการดังนี้ - ไอเรื้อรัง รู้สึกเหมือนมีไข้ แน่นหน้าอก

- เหนื่อยง่าย หายใจไม่อิ่ม อ่อนเพลีย - ปวดเมื่อยตามตัว ปวดศีรษะ ไม่มีสมาธิ

การพยาบาล 1. วัดสัญญาณชีพและวัดออกซิเจนปลายนิ้วทุก 4 ชั่วโมง 2. ประเมินอาการและอาการแสดงของผู้ป่วย เช่น มีไข้ ไอ เจ็บคอ มีเสมหะ มีผื่น ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดศีรษะ อาเจียน ถ่ายเหลว พร่องออกซิเจนแบบไม่แสดง อาการ 3. ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนและการพักผ่อนที่เพียงพอ 4. ดูแลให้ยาต้านไวรัสและยาละลายเสมหะแก่ผู้ป่วยตามแผนการรักษาของแพทย์ 5. ประเมินและสอบถามอาการผู้ป่วยอย่างสม่ำเสมอและใกล้ชิด

การป้องกันในเด็ก 1. สวมใส่หน้ากากอนามัยทุกครั้งเมื่อออกไปข้างนอก 2. สอนให้เด็กล้างมือบ่อยๆ และหลีกเลี่ยง การใช้มือสัมผัสใบหน้า ตา จมูก ปาก 3. สอนเด็กไอจามโดยใช้กระดาษทิชชู่ปิดปากและจมูก 4. หลีกเลี่ยงการออกไปข้างนอกโดยไม่จำเป็น ควรอยู่แต่ในบ้านในช่วงที่มีการระบาดของเชื้อ ​5. หลีกเลี่ยงการใช้ของส่วนตัวร่วมกับผู้อื่น

ภาวะแทรกซ้อนในเด็ก ภาวะ MIS-C และ MIS-N คือ กลุ่มอาการอักเสบจากหลายระบบหลัง จากติดเชื้อโควิด-19 ในทารกแรกเกิดและในเด็ก อาการของภาวะ MIS-C และ MIS-N 1. มีไข้สูง ≥ 38 °C นานเกิน 24 ชั่วโมง ซึม ถ่ายเหลว อาเจียน 2. มีผื่น ตาแดง มือเท้าบวมแดง ปากแดงแห้งแตก 3. มีต่อมน้ำเหลืองโต ไตวายเฉียบพลัน หัวใจเต้นผิดจังหวะ 4. มีภาวะเลือดออกง่าย ความดันโลหิตต่ำ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ 5. มีอาการทางระบบหัวใจและหลอดเลือด ระบบทางเดินอาหาร ระบบทาง เดินหายใจและระบบประสาท การรักษาภาวะ MIS-C และ MIS-N จะเป็นการรักษาตามอาการและได้ยากลุ่มต้านการอักเสบ

บรรณานุกรม วสุ ศุภรัตนสิทธิ. (2565). ภาวะอักเสบหลายระบบในเด็ก (multisystem inflammatory syndrome in children; MIS-C) [Online]. จากเว็บไซต์ https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/knowledge/article/599/MIS-C/ ปารยะ อาศนะเสน. (2562). โรคหลอดลมอักเสบ(bronchitis) [online]. จากเว็บไซต์ https://www.si.mahidol.ac.th/ th/healthdetail.asp?aid=645 สุรเกียรติ อาชานานุภาพ. (2566). หูชั้นกลางอักเสบ [online].จากเว็บไซต์ https://doctorathome.com/diseaseconditions/7 ธนกร กาญจนประดับ. (2564). โรคหอบหืดในเด็ก [online]. จากเว็บไซต์ https://www.sikarin.com/doctorarticles/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%AB%E0%B8%B7%E0%B8%94%E0%B9%83% E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%81 ไกลตา ศรีสิงค์และคณะ. (2564). โรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจในเด็ก. (พิมพ์ครั้งที่ 1). สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. กรมควบคุมโรค. (2562). ไข้หวัดใหญ่ Influenza [online]. จากเว็บไซต์ https://ddc.moph.go.th/disease_detail .php?d=13 คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล. (2560). ทอนซิลอักเสบ [online]. จากเว็บไซต์ https://www.si.mahidol.ac.th/th/healthdetail.asp?aid=481. สมาคมโรคระบบหายใจและเวชบําบัดวิกฤตในเด็ก ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย. (2562). โรคติดเชื้อ เฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก. (พิมพ์ครั้งที่ 1). สำนักพิมพ์ บียอนด์ เอ็นเทอร์ไพรซ์.

ผู้จัดทำ

6402101001 กชพร ผิวอ่อน เลขที่1 6402101002 กนกรัตน์ ไตรสุวรรณ เลขที่2 6402101003 กนกวลี จันทร์สุข เลขที่3 6402101004 กมลรัตน์ บุญคำ เลขที่4 6402101005 กฤตยา จันทะสิงห์ เลขที่5 6402101006 กฤษฎาพร ปานสาคร เลขที่6 6402101007 กัญจนากร เวชการ เลขที่ 7 6402101008 กัญญาณัฐ ร่วมรักษ์ เลขที่8 6402101009 กัญญาภัก แก่นสาร เลขที่9 6402101010 กัญฐิฌา ชาวสวน เลขที่10 6402101011 กัญติชา วนวิชาเยนทร์ เลขที่11 6402101012 กานฤทัย ชัยศรี เลขที่12 6402101013 กิ่งดาว ขันสีลา เลขที่13 6402101014 ขนิษฐา นามพูล เลขที่14 6402101015 คฑา แสงผือก เลขที่15 6402101016 คนิษา พัดวี เลขที่16

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.