ilovepdf_merged (1) Flipbook PDF


13 downloads 122 Views 15MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

สารจากสหกรณ์จงั หวัดปราจีนบุรี สำนั ก งานสหกรณ์ จั ง หวั ด ปราจี น บุ รี เป็ น หน่ ว ยงานส่ ว นภู มิ ภ าคของกรมส่ งเสริม สหกรณ์ สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีหน้าที่รับผิดชอบดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการสหกรณ์และกฎหมายที่ เกี่ย วข้องส่ งเสริมและพัฒ นางานสหกรณ์ ทุกประเภทและกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดปราจีนบุรีให้มีความเข้มแข็ง ส่งเสริม เผยแพร่ และให้ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์แก่สมาชิกสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และประชาชนทั่วไป เพื่อให้สมาชิกมี ความเข้าใจและเห็นคุณค่าของระบบสหกรณ์ รักและศรัทธาในความเป็น เจ้าของสหกรณ์ อันจะส่งผลให้สหกรณ์สามารถดำเนินงานเพื่อประโยชน์ของสมาชิกให้สมาชิ กมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคม สำหรับปีงบประมาณ พ.ศ.2565 มีสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรในการแนะนำส่งเสริม พัฒ นา และกำกับดูแลที่มีสถานะดำเนินการ จำนวน 71 แห่ง สถานะชำระบัญชี จำนวน 8 แห่ง การปฏิบัติตามภารกิจ หลักและงานตามนโยบายที่สำคัญ โดยการขับเคลื่อนงาน 4 ด้าน ประกอบไปด้วย 1) ด้านการส่งเสริมและ พัฒนาองค์กร 2) ด้านการพัฒนาการดำเนินธุรกิจ 3) ด้านการกับกำดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร 4) ด้านแก้ไขปัญหาหนี้ โดยมีการนำหลักการบริหารงานคุณภาพมาประยุกต์ใช้ (PDCA) กับงาน ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร โดยเริ่มจาก Plan (วางแผน) ,Do (การปฏิบัติ) ,Check (การตรวจสอบ) ,Action (การดำเนินงานให้เหมาะสม) และในสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี ได้ ปฏิบัติตามมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID19) เพื่อพัฒ นาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรทุกระดับ และเพิ่มคุณภาพงานบริการให้มีมาตรฐาน รวมทั้งช่วยพัฒนาจิตสำนึกในการปฏิบัติงาน ซึ่งเป็นพื้นฐานของการพัฒนาไปสู่ระบบบริหารงานที่มีคุณภาพตาม มาตรฐานสากล ผลสำเร็ จ จากการปฏิ บั ติ งานได้ น ำเสนอไว้ ในรายงานประจำปี 2565 แล้ ว ต้ อ งขอขอบคุ ณ สหกรณ์ /กลุ่มเกษตรกรในจังหวัด ปราจีนบุรี บุคลากรสำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี รวมถึง หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องที่ได้ให้การสนับสนุนร่วมกัน การขับเคลื่อนภารกิจเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร ได้อย่างอย่ำงยั่งยืน

( นายเชาวลิต เจริญฤทธิ์ ) สหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี มกราคม 2566

ก WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

ข WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

ค WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

ง WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

จ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

ฉ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

ช WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

ซ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

ฌ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

ญ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

อัตรากาลังของสานักงานสหกรณ์จงั หวัดปราจีนบุรี

พนักงานจ้างเหมา 28%

ข้าราชการ 52%

ข้าราชการ ลูกจ้างประจา พนักงานราชการ พนักงานจ้างเหมา

พนักงานราชการ 8% ลูกจ้างประจา 12%

ชาย

หญิง

รวม

ข้าราชการ

13

13

26

ลูกจ้างประจำ

3

2

5

พนักงานราชการ

2

10

12

พนักงานจ้างเหมา

7

2

9

18

25

43

รวม

**** ข้อมูล ณ วันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๖5

ฎ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

บทสรุปสาหรับผูบ้ ริหาร Executive Summary สำนั ก งานสหกรณ์ จั งหวั ด ปราจี น บุ รี เป็ น หน่ ว ยงานส่ ว นภู มิ ภ าคของกรมส่ ง เสริ ม สหกรณ์ สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีหน้าที่รับผิดชอบดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการสหกรณ์และกฎหมายที่ เกี่ย วข้องส่ งเสริมและพัฒ นางานสหกรณ์ ทุกประเภทและกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดปราจีนบุรีให้มีความเข้มแข็ง ส่งเสริม เผยแพร่ และให้ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์แก่สมาชิกสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และประชาชนทั่วไป เพื่อให้สมาชิกมี ความเข้าใจและเห็นคุณค่าของระบบสหกรณ์ รักและศรัทธาในความเป็น เจ้าของสหกรณ์ อันจะส่งผลให้สหกรณ์สามารถดำเนินงานเพื่อประโยชน์ของสมาชิกให้สมาชิกมี คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคม บทสรุปนี้จัดทำขึ้นจากรายงานผลการดำเนินงาน สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี ประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2565 ซึ่งในปี งบประมาณ พ.ศ.2565 สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดปราจีน บุรี มีอัตรากำลั ง ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ และพนักงานราชการ ทั้งสิ้น 43 คน ประกอบด้วย ข้าราชการ 26 คน ลูกจ้างประจำ 5 คน และพนักงานราชการ 12 คน ภายใต้โครงสร้างสำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี ประกอบด้วย ฝ่ายบริหาร ทั่วไป กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ กลุ่มส่งเสริมและพัฒ นาธุรกิจสหกรณ์ กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาระบบการ บริห ารการจั ดการสหกรณ์ นิ คมสหกรณ์ กบินทร์บุรี กลุ่ มตรวจการสหกรณ์ และกลุ่ มส่งเสริมสหกรณ์ 2 กลุ่ ม รับผิดชอบในพื้นที่ 7 อำเภอของจังหวัดปราจีนบุรี ประกอบด้วย 1. อำเภอเมืองปราจีนบุรี 2. อำเภอบ้านสร้าง 3. อำเภอศรีมโหสถ 4.อำเภอศรีมหาโพธิ 5. อำเภอประจันตคาม 6.อำเภอกบินทร์บุรี 7.อำเภอนาดี

ง บ ป ร ะ ม า ณ ที่ ได้ รั บ จั ด ส ร ร ป ร ะ จ ำ ปี ง บ ป ร ะ ม า ณ พ .ศ . ๒ ๕ ๖ 5  ประเภทงบรายจ่าย รวมทั้งสิ้น งบบุคลากร งบดำเนินงาน งบลงทุน เงินอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น งบกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร

ปี 2565 29,933,344.72 3,159,900.00 3,497,780.58 125,400.00 1,419,039.14 11,225.00 16,200,000.00 5,520,000.00 ฏ

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

การจั ดทำรายงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ในรอบปี ที่ผ่ านมา บุคลากรของสำนั กงาน สหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี ได้ร่วมแรง ร่วมใจ และเสียสละในการปฏิบัติหน้าที่ตามภารกิจของกรมส่งเสริมสหกรณ์และ นโยบายต่างๆของรัฐบาล ในการส่งเสริมงานสหกรณ์ให้เกิดความเข้มแข็ง โดยมีความมุ่งมั่นพัฒนาให้สหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร สามารถเป็นที่พึ่งแก่สมาชิกสหกรณ์ได้อย่างยั่งยืนและมั่นคง การดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖5 ของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรีประกอบด้วย 6 แผนงาน และได้รับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 จำนวน 29,933,344.72 บาท ดังนี้ ๑) แผนงานบุคลากรภาครัฐ ค่าใช้จ่ายบุคลากรภาครัฐ พัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเข้มแข็ง ๒) แผนงานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิต : สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาตามศักยภาพ ➢กิจกรรมหลัก : ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1) ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2) ออกหนังสือรับรองการทำประโยชน์ในที่ดินของนิคมสหกรณ์ 3) ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง 4) กิจกรรมเพื่อสนับสนุนงานตามนโยบายสำคัญและตอบตัวชี้วัดการประเมิน ส่วนราชการ (แปลงใหญ่) 5) โครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกร เพื่อเข้าถึงแหล่งเงินทุน ในการผลิตและการตลาด 6) การจัดประชุมเชื่อมโยงเครือข่ายและพัฒนาธุรกิจร้านค้าซุปเปอร์มาร์เก็ต สหกรณ์ในระดับพื้นที่ 7) โครงการ "สหกรณ์ไทย ร่วมใจทำดี เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ" 9) โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาความเข้มแข็งกลุ่มเกษตรกร ➢กิจกรรมหลัก : การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รายจ่ายเพื่อการลงทุนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ๓) แผนงานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิต : ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินทำกินของเกษตรกร ➢กิจกรรมหลัก : ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพภายใต้โครงการจัดที่ดินตามนโยบายรัฐบาล ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพภายใต้โครงการจัดที่ดินตามนโยบายรัฐบาล ผลผลิต : ส่งเสริมการพัฒนาระบบตลาดภายในสำหรับสินค้าเกษตร ➢กิจกรรมหลัก : พัฒนากลไกการตลาดเพื่อเพิ่มช่องทางการจำหน่ายสินค้าของสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร 4) แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม ผลผลิต : ส่งเสริมการดําเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ➢กิจกรรมหลัก : พัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการเนื่องมาจาก พระราชดําริ ฐ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

1) คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯสยาม มกุฎราชกุมาร 2) อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรม สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ บรมราชกุมารี สยามบรมราชกุมารี รายจ่ายเพื่อการลงทุนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 3) ขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5) แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า ผลผลิต : โครงการส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ➢กิจกรรมหลัก : ส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1) ส่งเสริมเกษตรผสมผสานในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 2) พัฒนาคุณภาพการผลิตสินค้าเกษตรของสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสู่ มาตรฐาน GAP ผลผลิต : โครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และ ธุรกิจชุมชน ➢กิจกรรมหลัก : ส่งเสริมเกษตรแปรรูปในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1) พัฒนาศักยภาพสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้เข้าสู่ระบบการผลิตเกษตรแปรรูป เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม 6) แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ผลผลิต : โครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ➢กิจกรรมหลัก : ช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1) ลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกร ผลผลิต : พัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ ➢กิจกรรมหลัก : นำลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร 1) นำลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร สหกรณ์ และกลุ่ มเกษตรกรที่อยู่ในความรับผิ ดชอบที่ มีสถานะดำเนินการ โดยแยกเป็นสหกรณ์ จำนวน 52 แห่ง กลุ่มเกษตรกร จำนวน 19 แห่ง มีปริมาณธุรกิจของสหกรณ์ จำนวน 19,606 ล้านบาท ปริมาณธุรกิจ ของกลุ่ มเกษตรกร จำนวน 29.70 ล้ านบาท ผลการดำเนิ นงานของสหกรณ์ มี ผลกำไร จำนวน 47 แห่ ง กำไร 6,542 ล้านบาท สหกรณ์ขาดทุน จำนวน 6 แห่ง ขาดทุน 13.03 ล้านบาท ผลการดำเนินงานของกลุ่มเกษตรกร มีผลกำไร จำนวน 18 แห่ง กำไร 0.88 ล้านบาท ผลการจัดมาตรฐานสหกรณ์จำนวน 52 แห่ง สามารถผ่านเกณฑ์ มาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ จำนวน 33 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 63.50 ผลการจัดมาตรฐานกลุ่มเกษตรกรจำนวน 18 แห่ง สามารถผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ จำนวน 16 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 88.88 และผลการ จัดระดับความเข้มแข็งของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ดังนี้ 1) สหกรณ์ระดับชั้น 1 จำนวน 21 แห่ง 2) สหกรณ์ระดับชั้น 2 จำนวน 30 แห่ง 3) สหกรณ์ระดับชั้น 3 จำนวน 1 แห่ง ฑ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

4) สหกรณ์ระดับชั้น 4 จำนวน 6 แห่ง 5) กลุ่มเกษตรกรระดับชั้น 1 จำนวน 3 แห่ง 6) กลุ่มเกษตรกรระดับชั้น 2 จำนวน 16 แห่ง 7) กลุ่มเกษตรกรระดับชั้น 3 จำนวน แห่ง 8) กลุ่มเกษตรกรระดับชั้น 4 จำนวน 4 แห่ง ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1.ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ส่งผลกระทบในเชิงลบต่อ การดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เช่นสมาชิกเป็นลูกหนี้เงินกู้ค้างชำระหนี้เพิ่มขึ้น และส่งผลกระทบใน เชิงลบต่อการดำรงชีพของสมาชิก เช่น การจำหน่ายสินค้าเกษตรได้น้อยลง จำหน่ายได้ราคาต่ำ ทำให้สมาชิกมี รายได้ไม่เพียงพอกับค่าใช้จ่าย ความสามารถในการชำระหนี้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรลดลงและไม่เป็นไปตาม กำหนด 2.ปั ญ หาความเสี่ ย งทางการเงิน ด้านความเพี ยงพอของเงินทุ น และการทำกำไร จะเห็ น ว่า ความสามารถในการรับผลกระทบที่เกิดจากความผันผัวนของภาวะธุรกิจได้น้อย และต้องระมัดระวังความเสี่ยงที่ อาจส่งผลกระทบต่อการดำเนินงานและฐานะการเงิน ซึ่งอาจเป็นผลให้เกิดความเสียหายทางการเงินได้ 3.สหกรณ์ ขนาดเล็กและกลุ่ มเกษตรกร ยังประสบปัญ หาในการบริห ารจั ดการ เช่น มีทุนไม่ เพียงพอต่อการดำเนินงาน ไม่สามารถจ้างเจ้าหน้าที่ให้มาปฏิบัติงานด้านต่างๆ ได้ ที่สำคัญคือเจ้าหน้าที่บัญชี เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านธุรกิจ และกรรมการดำเนินการส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ กรรมการดำเนินการที่เป็นคนรุ่น ใหม่เข้ามาทดแทนน้อย ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา 1. การสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 สำนักงานสหกรณ์จังหวัด ปราจีนบุรี ร่วมกับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ศึกษา วิเคราะห์ ผลกระทบทั้งเชิงบวกและเชิงลบ เพื่อนำข้อมูลมา ประกอบการปรับปรุงการปฏิบัติงานและกระบวนการทำงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ นำเทคโนโลยีสมัยใหม่มา เสริมในการปฏิบัติงาน เช่น การประชุมออนไลน์ การจัดจำหน่ายสินค้าออนไลน์ และช่องทางอื่นๆ 2. สร้างความเข้าใจในอุดมการณ์ หลักการและวิธีการสหกรณ์ ให้ความรู้ด้านกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบต่างๆ ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เพิ่มศักยภาพในการบริหารงานและบริหารธุรกิจ ทบทวนบทบาท และหน้าที่ความรับผิดชอบของบุคลากรของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรอย่างต่อเนื่อง 3. สำนักงานสหกรณ์จังหวัด ชี้แนวทางให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ในการกำหนดแผนเพิ่ม และสะสมทุนภายในให้มีเป้าหมายชัดเจน เช่น การจัดสรรกำไรสิทธิเป็นทุนสำรองในอัตราที่ก้าวหน้าและจัดหา แหล่งเงินทุนต้นทุนต่ำ เช่น เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร

ฒ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

สารบัญ สารจากสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี ทำเนียบบุคลากร บทสรุปผู้บริหาร ส่วนที่ 1 ข้อมูลภาพรวมของหน่วยงาน 1) วิสัยทัศน์ พันธกิจ อำนาจหน้าที่ 2) แนวทางการขับเคลื่อนงาน/โครงการที่สอดคล้องกับแผนระดับ 3 ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ รวมถึงนโยบายและทิศทางการพัฒนาจังหวัดในระดับพื้นที่ 3) โครงสร้างและกรอบอัตรากำลัง ประจำปี 2565 4) งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 5) สรุปข้อมูลสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และกลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์ ส่วนที่ 2 ผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติงาน และผลการปฏิบัติงาน/โครงการภายใต้แผนปฏิบัติงานและ งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณและงานโครงการสำคัญหรืองานบูรณาการในพื้นที่ตาม นโยบายของกรมและกระทรวงจากการใช้จ่ายงบประมาณของหน่วยงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1) ผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจำปีที่หน่วยงานได้รับ ➢ ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นแผนแม่บท 3 การเกษตร ➢ ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ประเด็นแผนแม่บท 15 พลังทางสังคม ➢ ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ประเด็นแผนแม่บท 16 เศรษฐกิจฐานราก 2) ผลการดำเนินงาน/โครงการตามนโยบายสำคัญ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ➢ งานส่งเสริมและพัฒนา ➢ เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ (กพส.) ในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ➢ กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร และกองทุนอื่นๆ ที่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ได้รับการ สนับสนุนในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.2565

ก ข ฏ 1 2 3 7 8 13 19

25 25 63 72 76 76 80 83

ณ WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

สารบัญ (ต่อ) ส่วนที่ 3 กิจกรรมที่ประชาสัมพันธ์งานสหกรณ์ และสร้างภาพลักษณ์หรือวัฒนธรรมองค์กรของ หน่วยงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.2565 1) งานบูรณาการร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ ภายในจังหวัด 2) การจัดงาน/กิจกรรมต่าง ๆ ในวันสหกรณ์แห่งชาติ 3) การจัดงาน/กิจกรรมต่าง ๆ ในวันคล้ายวันสถาปนากรมส่งเสริมสหกรณ์ ครบรอบ 50 ปี 4) ภาพกิจกรรมของหน่วยงานร่วมกับจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 5) ภาพกิจกรรมของหน่วยงานร่วมกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ส่วนที่ 4 รายงานข้อมูลงบการเงิน ( ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 ) 1) งบแสดงฐานะการเงิน 2) งบแสดงผลการดำเนินงานทางการเงิน 3) หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส่วนที่ 5 ภาคผนวก สรุปผลสำเร็จตามตัวชี้วัดหลัก (เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ) ของงาน/โครงการ ตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 - 2565 ส่วนที่ 6 : บรรณานุกรม

86 87 90 92 94 98 105 107 108 110 114 122

ด WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

ส่วนที่ 1 ข้อมูลภาพรวม ของหน่วยงาน

หน้า 1 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

วิสัยทัศน์ “เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริมพัฒนาและคุ้มครองสหกรณ์กลุ่มเกษตรกร ให้มีความเข้มแข็งเป็นที่พึ่งของมวลสมาชิกได้อย่างยั่งยืน”

พันธกิจ 1. แนะนำ ส่งเสริม เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์งานสหกรณ์และงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 2. ส่งเสริมและคุ้มครองระบบสหกรณ์ กลุม่ เกษตรกร ตลอดจนกลุ่มในลักษณะอื่น ที่เกี่ยวข้องให้เข้มแข็ง เป็นไปตามกฎหมายสหกรณ์รวมถึงกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง 3. ส่งเสริม พัฒนาขีดความสามารถในการบริหารจัดการ การดำเนินธุรกิจและ เทคโนโลยีให้แก่สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกรรวมถึงกลุม่ ในลักษณะอื่นที่เกี่ยวข้อง 4. ดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ 5. ส่งเสริมและพัฒนาองค์กรโดยสนับสนุนประสานความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นที่ เกี่ยวข้อง ในการปฏิบัติงาน

อำนาจหน้าที่ 1. ดำเนินการเกี่ยวกับงานด้านกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ กฎหมายว่าด้วย การจัดที่ดิน เพื่อการครองชีพและกฎหมายอื่นที่เกีย่ วข้อง 2. ส่งเสริมและพัฒนางานสหกรณ์ทุกประเภทและกลุ่มเกษตรกร 3. ส่งเสริม เผยแพร่ และให้ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ ให้แก่บุคลากรสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และประชาชนทั่วไป 4. ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 5. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัตงิ านของหน่วยงานอื่น ที่เกี่ยวข้องหรือ ที่ได้รับมอบหมาย หน้า 2 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

แนวทางการขับเคลื่อนงาน แนะนำส่งเสริม พัฒนา กำกับดูแลสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร ประกอบด้วย 4 ด้าน

1.ด้านการพัฒนาองค์กร

2.ด้านการพัฒนาธุรกิจ

3.ด้านการกำกับ

4.ด้านการแก้ไขปัญหาหนี้

โดยเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานด้วยหลักการ PDCA

หน้า 3 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

โครงการที่สอดคล้องกับแผนระดับ 3 ของกรมส่งเสริมสหกรณ์/นโยบาย และทิศทางการพัฒนาจังหวัดในระดับพื้นที่ ยุทธศาสตร์ชาติด้านที่ 2 การสร้างความสามารถ ในการแข่งขัน (ประเด็น การเกษตร) - แผนงานพื้นฐาน ด้านการ สร้างความสามารถในการ แข่งขัน

กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เป้าหมาย สหกรณ์ 52 แห่ง กลุ่มเกษตรกร 19 แห่ง ตัวชี้วัด 1.สหกรณ์มีความเข้มแข็ง ระดับ 1 และ 2 อย่างน้อยร้อยละ 88 2.กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง ระดับ 1 อย่างน้อยร้อยละ 25

ผลสัมฤทธิ์ สหกรณ์มีความเข้มแข็งใน การดำเนินธุรกิจพัฒนาอาชีพ และ คุณภาพชีวิตของสมาชิกได้อย่างยัง่ ยืน

โครงการการออกหนังสือรับรองการทำประโยชน์ในที่ดินนิคมสหกรณ์ (กสน.3,5) ตัวชี้วัด 1.สมาชิกนิคมสหกรณ์ได้รบั หนังสือรับรอง การทำประโยชน์ที่ดินพื้นที่นิคมสหกรณ์ 1 นิคม สหกรณ์/300 ไร่ - แผนงานยุทธศาสตร์ การเกษตรสร้างมูลค่า

ผลสัมฤทธิ์ สมาชิกสหกรณ์นิคมได้รับ กรรมสิทธิ์ที่ดินในพื้นที่นิคมสหกรณ์ เพื่อทำการเกษตรกรในรูปแบบ กสน. 3 กสน.5 และโฉนด

โครงการส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ตัวชี้วัด 1.สหกรณ์มีความเข้มแข็ง ระดับ 1 และ 2 อย่างน้อยร้อยละ 88 2.กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง ระดับ 1 อย่างน้อยร้อยละ 25

ผลสัมฤทธิ์ สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ ทำการเกษตรกรแบบผสมผสานตาม แนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งลดการใช้สารเคมีส่งผลให้ สมาชิกมีรายได้จากการทำเกษตร ผสมผสานและเกษตรทฤษฎีใหม่ สามารถประกอบอาชีพในถิ่นฐานได้ อย่างมั่นคงและยั่งยืน

โครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน ตัวชี้วัด 1.สหกรณ์มีความเข้มแข็ง ระดับ 1 และ 2 อย่างน้อยร้อยละ 88 2.กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง ระดับ 1 อย่างน้อยร้อยละ 25

ผลสัมฤทธิ์ สหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุม่ เกษตรกรมีศักยภาพในการ ดำเนินธุรกิจด้านการผลิต การ รวบรวม การแปรรูป การบริหาร จัดการและการสร้างความหลากหลาย ของสินค้าและคุณภาพบรรจุภณ ั ฑ์ที่มี ผลสำเร็จสอดคล้องกับเป้าหมายด้าน เกษตรแปรรูป

หน้า 4 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

ยุทธศาสตร์ชาติด้านที่ 4 การสร้างโอกาสและความ เสมอภาคทางสังคม (พลังทางสังคม)

กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เป้าหมาย สหกรณ์ 52 แห่ง กลุ่มเกษตรกร 19 แห่ง

- แผนงานยุทธศาสตร์ เสริมสร้างพลังทางสังคม

โครงการส่งเสริมการดำเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ - อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนือ่ งมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารี - โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯสยาม มกุฎราชกุมาร - โครงการขับเคลื่อนการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร ตัวชี้วัด สหกรณ์ในพื้นที่โครงการส่งเสริมการ ดำเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ได้รับการ พัฒนาความเข้มแข็ง 1.สหกรณ์มีความเข้มแข็ง ระดับ 1 และ 2 อย่างน้อยร้อยละ 90 2.กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง ระดับ 1 อย่างน้อยร้อยละ 2

- แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อ สนับสนุนด้านการสร้าง โอกาสและความเสมอภาค ทางสังคม

ผลสัมฤทธิ์ สหกรณ์มีความเข้มแข็งใน การดำเนินธุรกิจพัฒนาอาชีพ และ คุณภาพชีวิตของสมาชิกได้อย่างยัง่ ยืน

โครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เป้าหมาย สหกรณ์ 11 แห่ง

ตัวชี้วัด สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีหนี้ เงินกู้เพื่อการเกษตรได้รับการลดภาระดอกเบีย้ 1,931 ราย และจำนวนสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร ที่มีอัตราส่วนเงินออมของสมาชิกต่อหนี้สินของ สมาชิกเพิ่มขึ้น ร้อยละ 62

ผลสัมฤทธิ์ สมาชิกสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกรได้รับการแก้ไขปัญหาหนี้สิน ตามนโยบายรัฐบาล

โครงการพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ (นำลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร) ตัวชี้วัด 1.สมาชิกสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร/ เกษตรกรได้รับการส่งเสริมและสร้างทักษะในการ ประกอบอาชีพ 2.สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีรายได้ เฉลี่ยต่อเดือนไม่น้อยกว่า 12,000 บาท 3.เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 3

ผลสัมฤทธิ์ ลูกหลานสมาชิกละบุคคล ทั่วไปที่เข้าร่วมโครงการมีอาชีพ การเกษตรที่มั่นคงและมีรายได้จาก การประกอบอาชีพการเกษตรที่ สามารถดำรงชีพได้อย่างยั่งยืนภายใน 3 ปี

หน้า 5 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินทำกินของเกษตรกร โครงการส่งเสริมการพัฒนาระบบตลาดภายในสำหรับสินค้าเกษตร การวางระบบการบริหารจัดการผลผลิตการเกษตรระดับจังหวัด

นโยบายและทิศทางการ พัฒนาจังหวัดในระดับพื้นที่

1.โครงการส่งเสริมเกษตรแปลงใหญ่ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 2.โครงการแก้ไขปัญหาหนี้คา้ งชำระของสมาชิกสหกรณ์

หน้า 6 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

แผนผังโครงสร้างของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

ฝ่ายบริหารทั่วไป

กลุ่มงานวิชาการ

กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจ สหกรณ์

กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1

กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริม สหกรณ์

กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหาร จัดการสหกรณ์

นิคมสหกรณ์กบินทร์บุรี

กลุ่มตรวจการสหกรณ์

หน้า 7 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

แผนการปฏิบตั ิ งานและงบประมาณที่ได้ร

 แผนการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕

แผนงาน / ผลผลิต/โครงการ / กิจกรรมหล แผนงานที่ 1 บุคลากรภาครัฐ

ผลผลิต : ค่าใช้จ่ายบุคลากรภาครัฐ พัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเข้มแข็ง กิจกรรมหลัก : ค่าใช้จ่ายบุคลากรภาครัฐกรมส่งเสริมสหกรณ์ กิจกรรมรอง : บุคลากรภาครัฐกรมส่งเสริมสหกรณ์ แผนงานที่ 2 แผนงานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิต : สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาตามศักยภาพ กิจกรรมหลัก : ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง : ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง : ออกหนังสือรับรองการทำประโยชน์ในที่ดินของนิคมสหกรณ์ กิจกรรมรอง : ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรให้มีความ กิจกรรมรอง : กิจกรรมเพื่อสนับสนุนงานตามนโยบายสำคัญและตอบตัวชี้วัดการประเ กิจกรรมรอง : โครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกร เพื่อ เข้าถึงแหล่งเงินท กิจกรรมรอง : การจัดประชุมเชื่อมโยงเครือข่ายและพัฒนาธุรกิจร้านค้าซุปเปอร์มาร์เก กิจกรรมรอง : โครงการ "สหกรณ์ไทย ร่วมใจทำดี เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้า กิจกรรมรอง : โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาความเข้มแข็งกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมหลัก : การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร กิจกรรมรอง : รายจ่ายเพื่อการลงทุนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ

WE ARE HOPE เรา ค

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

รับจัดสรร ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕

๕๖๕

ลัก / กิจกรรมรอง

มเข้มแข็ง เมินส่วนราชการ (แปลงใหญ่) ทุนในการผลิตและการตลาด ก็ตสหกรณ์ในระดับพื้นที่ าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ"

คือ ความหวังของเกษตรกร

งบประมาณ 3,159,900.00 บาท 3,159,900.00 3,159,900.00 3,159,900.00

2,519,870.00 2,519,870.00 2,519,870.00 2,345,590.00 11,225.00 18,100.00 1,000.00 7,400.00 3,800.00 10,000.00 8,580.00 125,400.00 125,400.00 หน้า 8

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

แผนงาน / ผลผลิต/โครงการ / กิจกรรมหล แผนงานที่ 3 แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก

ผลผลิต : ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินทำกินของเกษตรกร กิจกรรมหลัก : ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพภายใต้โครงการจัดที่ดินตามนโยบายรัฐบา กิจกรรมรอง : ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพภายใต้โครงการจัดที่ดินตามนโยบายรัฐบาล

ผลผลิต ส่งเสริมการพัฒนาระบบตลาดภายในสำหรับสินค้าเกษตร กิจกรรมหลัก : พัฒนากลไกการตลาดเพื่อเพิ่มช่องทางการจำหน่ายสินค้าของสหก กิจกรรมรอง : พัฒนากลไกการตลาดเพื่อเพิ่มช่องทางการจำหน่ายสินค้าของสหกรณ์แ

แผนงานที่ 4 แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม

ผลผลิต : ส่งเสริมการดําเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชดําริ กิจกรรมหลัก : พัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการเนื่องมาจากพระราช กิจกรรมรอง : คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิรา กิจกรรมรอง : อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิรา สยามบรมราชกุมารี กิจกรรมรอง : ขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

แผนงานที่ 5 แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า

ผลผลิต โครงการส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมหลัก : ส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง : ส่งเสริมเกษตรผสมผสานในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง : พัฒนาคุณภาพการผลิตสินค้าเกษตรของสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษต

WE ARE HOPE เรา ค

ลัก / กิจกรรมรอง

าล

กรณ์และกลุ่มเกษตรกร และกลุ่มเกษตรกร

ชดําริ าชฯสยามมกุฎราชกุมาร าชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ

ตรกรสู่มาตรฐาน GAP

คือ ความหวังของเกษตรกร

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

งบประมาณ 20,890.00 3,800.00 3,800.00 3,800.00 17,090.00 17,090.00 17,090.00

17,300.00 17,300.00 17,300.00 9,100.00 6,300.00 1,900.00 210,640.00 62,840.00 62,840.00 44,920.00 17,920.00 หน้า 9

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

แผนงาน / ผลผลิต/โครงการ / กิจกรรมหล

ผลผลิต โครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร แล กิจกรรมหลัก : ส่งเสริมเกษตรแปรรูปในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง : พัฒนาศักยภาพสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้เข้าสู่ระบบการผลิตเกษต

แผนงานที่ 6 แผนงาน ยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการสร้างโอกาสและ ผลผลิต : โครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร กิจกรรมหลัก : ช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง : ลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกร ผลผลิต : พัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ กิจกรรมหลัก : นำลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร กิจกรรมรอง : นำลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร

เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ที่มาของข้อมูล : รายงานสถานการณ์ใช้จ่ายงบประมาณในระบบ GFMIS

WE ARE HOPE เรา ค

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

ลัก / กิจกรรมรอง

งบประมาณ

ละธุรกิจชุมชน

147,800.00 147,800.00 147,800.00

ตรแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม

ะความเสมอภาคทางสังคม

คือ ความหวังของเกษตรกร

1,444,089.14 1,419,039.14 1,419,039.14 1,419,039.14 25,050.00 25,050.00 25,050.00

16,200,000.00 5,520,000.00

หน้า 10

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

งบประมาณทีไ่ ด้รบั จัดสรร ประจำปีงบ จำแนกตามที่มาของแหล่ง ประเภทงบรายจ่าย รวมทั้งสิ้น

ปี 2563

41,952,800.

งบบุคลากร

2,857,292.

งบดำเนินงาน

3,750,383.

งบลงทุน เงินอุดหนุน

94,200.

5,340,240.

งบรายจ่ายอื่น

17,785.

งบพัฒนาจังหวัดปราจีนบุรี เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร

23,381,500.

6,511,400.

ที่มาของข้อมูล : รายงานสถานการณ์ใช้จ่ายงบประมาณในระบบ GFMIS

WE ARE HOPE เรา ค

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖3 - พ.ศ. ๒๕๖5 งงบประมาณและงบรายจ่าย หน่วย : บาท

ปี 2564

ปี 2565

.27

30,169,722.72

29,933,344.72

.04

3,044,720.00

3,159,900.00

.00

3,674,051.40

3,497,780.58

.00

85,000.00

125,400.00

.23

2,019,011.32

1,419,039.14

.00

6,940.00

11,225.00

-

470,000.00

-

.00

15,350,000.00

16,200,000.00

.00

5,520,000.00

5,520,000.00

คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 11

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

แผนภูมิงบประมาณรายจ่ายประจาปี ง ล้านบาท

30 27 24 21 18 15 12 9 6 3 0

2563

2

ที่มาของข้อมูล : รายงานสถานการณ์ใช้จ่ายงบประมาณในระบบ GFMIS

WE ARE HOPE เรา ค

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ - พ.ศ. ๒๕๖๕

2564

2565

คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 12

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

สรุปข้อมูลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร/กลุ่มอาชีพในสังกัดสหกรณ์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ข้อมูลสถิติของสหกรณ์ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565  จำนวนสหกรณ์และจำนวนสมาชิกสหกรณ์ จำนวนสมาชิก ประเภทสหกรณ์

จำนวน รวมสมาชิก สหกรณ์ ทั้งหมด (แห่ง) (คน)

จำนวนสมาชิกที่มี

สมาชิก สามัญ (คน)

สมาชิก สมทบ (คน)

ส่วนร่วมในการ ดำเนินธุรกิจ (คน)

ร้อยละ

1. สหกรณ์การเกษตร

16

38,624

37,118

1,506

30,969

80.18

2. สหกรณ์ประมง

2

562

535

27

199

35.41

3. สหกรณ์นิคม

1

5,024

4,467

557

2,850

56.73

4. สหกรณ์ออมทรัพย์

21

18,828

16,776

2,052

14,831

78.77

5. สหกรณ์ร้านค้า

2

524

524

0

46

8.78

6. สหกรณ์บริการ

9

3,062

3,004

58

2,210

72.18

7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน

1

1,000

785

215

727

72.70

52

67,624

63,209

4,415

52,102

77.05

รวม

ที่มา : รายงานประจำปีของสหกรณ์  สถานะสหกรณ์ จำนวนสหกรณ์ (แห่ง) ประเภทสหกรณ์

1. สหกรณ์การเกษตร 2. สหกรณ์ประมง 3. สหกรณ์นิคม 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 5. สหกรณ์ร้านค้า 6. สหกรณ์บริการ 7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน รวม

ดำเนินงาน/ ธุรกิจ (1) 16 2 1 21 2 9 1 52

หยุดดำเนินงาน/ ธุรกิจ (2) 0 0 0 0 0 0 0 0

เลิก /ชำระบัญชี (3) 2 0 1 0 0 3 0 6

จัดตั้งใหม่ (4) 0 0 0 0 0 0 0 0

จำนวนสหกรณ์ ทั้งหมด (1) + (2) + (3) + (4) 18 2 2 21 2 12 1 58

ที่มา : ระบบประเมินมาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร หน้า 13 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

ประเภทสหกรณ์

1. สหกรณ์การเกษตร 2. สหกรณ์ประมง 3. สหกรณ์นิคม 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 5. สหกรณ์ร้านค้า 6. สหกรณ์บริการ 7. สหกรณ์เครดิต ยูเนียน รวมทั้งสิ้น

ปริมาณ ธุรกิจ ของ สหกรณ์ (แห่ง) 16 2 1 21 2 9

รับฝากเงิน 374 2,283 39 3,715 0.00 2

ปริมาณธุรกิจ แยกตามประเภทการให้บริการ (ล้านบาท) รวบรวม จัดหา บริการ ผลผลิต ให้เงินกู้ สินค้ามา และอืน่ รวมทั้งสิ้น และแปร จำหน่าย ๆ รูป 284 340 524 0.06 1,522.06 25 6 5.1 0.04 2,319.14 46 121 0.00 0.00 206 11,333 0.00 0.00 0.00 15,048 0.00 17 0.00 0.00 17 101 21 0.00 0.09 124.09

1

29

20

0.4

0.00

0.00

494

52

3,785

11,809

505.4

529.10

0.19

19606.2

ที่มา : (ระบุหน่วยงานที่นำข้อมูลมาอ้างอิง)

ผลการดำเนินงานของสหกรณ์ ผลการดำเนินงานปีลา่ สุดที่มีการปิดบัญชีในปีงบประมาณ พ.ศ.2565

ประเภทสหกรณ์

1. สหกรณ์การเกษตร 2. สหกรณ์ประมง 3. สหกรณ์นิคม 4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 5. สหกรณ์ร้านค้า 6. สหกรณ์บริการ 7. สหกรณ์เครดิต ยูเนี่ยน รวมทั้งสิ้น

ผลการดำเนินงานในภาพรวม (1) (2) (3) จำนวน รายได้ ค่าใช้จ่าย สหกรณ์ (ล้านบาท) (ล้านบาท) (แห่ง)

การดำเนินงานมีผลกำไร - ขาดทุน สหกรณ์ที่มีผลกำไร สหกรณ์ที่ขาดทุน (4) (5) (6) (7) จำนวน กำไร จำนวน ขาดทุน สหกรณ์ (ล้านบาท) สหกรณ์ (ล้านบาท) (แห่ง) (แห่ง)

กำไร (ขาดทุน) สุทธิ ในภาพรวม (ล้านบาท) (5) – (7)

16 2 1 21 2 9

1,123 16 136 734 16.6 33

1,112 16 150 33 16.6 25

14 1 1 21 1 8

6,027 0.40 504 0.02 8

2 1 1 0 1 1

-1 -14 0 -.03 -

6,026 0.40 -14 504 -.01 8

1

7

3

1

3

0

0

3

52

2,065.6

1,355.6

47

6,542.42

6

-15.03

6,527.39

ที่มา : (ใช้ข้อมูลผลการดำเนินงานจากงบการเงินของสหกรณ์ที่ได้รับการตรวจสอบบัญชีแล้วเท่านั้น) หมายเหตุ ผลรวมของสหกรณ์ในช่อง (1) จะต้องเท่ากับผลรวมของช่อง (4) + (6) หน้า 14 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

 ผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ จำแนกตามประเภทของสหกรณ์ ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 ประเภทสหกรณ์ สหกรณ์ภาคการเกษตร

1. สหกรณ์การเกษตร 2. สหกรณ์นิคม 3. สหกรณ์ประมง สหกรณ์นอกภาคการเกษตร

สหกรณ์ ชั้น 1

สหกรณ์ ชั้น 2

สหกรณ์ ชั้น 3

สหกรณ์ ชั้น 4

รวม

3 0 0

13 1 1

0 0 1

2 1 0

18 2 2

4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 14 7 0 0 5. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 1 0 0 0 6. สหกรณ์บริการ 3 6 0 3 7. สหกรณ์ร้านค้า 0 2 0 0 21 30 1 6 รวม ที่มา : รายงานสรุปผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กองแผนงาน

21 1 12 2 58

 ผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ เปรียบเทียบ 3 ปี (ปี พ.ศ. 2563 – 2565) ระดับชั้น ระดับชั้น ระดับชั้น ระดับชั้น ณ วันที่ 30 กันยายน 2563 ณ วันที่ 30 กันยายน 2564 ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 (แห่ง/ร้อยละ) (แห่ง/ร้อยละ) (แห่ง/ร้อยละ) 22 แห่ง ร้อยละ 36.67 21 แห่ง ร้อยละ 36.21 ชั้น 1 22 แห่ง ร้อยละ 36.67 ชั้น 2 29 แห่ง ร้อยละ 48.33 27 แห่ง ร้อยละ 45 30 แห่ง ร้อยละ 51.72 ชั้น 3 3 แห่ง ร้อยละ 5 3 แห่ง ร้อยละ 5 1 แห่ง ร้อยละ 1.72 ชั้น 4 6 แห่ง ร้อยละ 10 8 แห่ง ร้อยละ 13.33 6 แห่ง ร้อยละ 13.34 รวม 21 20 21 ที่มา : รายงานสรุปผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กองแผนงาน สรุปผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ 35 30 25 20 15 10

5 0 ชั้น 1

ชั้น 2 ปี 2563

ปี 2564

ชั้น 3

ชั้น 4

ปี 2565

หน้า 15 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

ข้อมูลสถิติของกลุม่ เกษตรกร ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 ➢ จำนวนกลุ่มเกษตรกรและจำนวนสมาชิกกลุ่มเกษตรกรสหกรณ์ จำนวนสมาชิก ประเภทกลุ่มเกษตรกร

จำนวนกลุ่ม เกษตรกร (แห่ง)

รวมสมาชิก ทั้งหมด (คน)

สมาชิก สามัญ (คน)

สมาชิก สมทบ (คน)

จำนวนสมาชิกที่มี ส่วนร่วมในการ ดำเนินธุรกิจ (คน)

ร้อยละ

1. กลุ่มเกษตรกรทำนา

7

659

659

0

271

41.12

2. กลุ่มเกษตรกรทำสวน

6

421

421

0

295

70.07

3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์

2

132

132

0

25

18.94

4. กลุ่มเกษตรกรทำไร่

3

167

167

0

31

18.56

5. กลุ่มเกษตรกรทำประมง

0

0

0

0

0

0

6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ (ระบุ)

1

65

65

0

2

3.08

รวม

19

1,444

1,444

0

624

43.21

ที่มา : รายงานประจำปีของกลุ่มเกษตรกร ➢ สถานะกลุ่มเกษตรกร จำนวนกลุ่มเกษตรกร (แห่ง) ประเภทกลุ่มเกษตรกร

ดำเนินงาน/ ธุรกิจ (1)

จำนวนกลุ่มเกษตรกร หยุดดำเนินงาน/ เลิก จัดตั้งใหม่ ทั้งหมด (1) + (2) + ธุรกิจ /ชำระบัญชี (3) + (4) (4) (2) (3)

1. กลุ่มเกษตรกรทำนา

7

0

0

0

7

2. กลุ่มเกษตรกรทำสวน

6

0

1

0

7

3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์

2

0

3

0

5

4. กลุ่มเกษตรกรทำไร่

2

0

1

0

3

5. กลุ่มเกษตรกรทำประมง

0

0

0

0

0

6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ (ระบุ)

1

0

0

0

1

18

0

25

0

23

รวม

ที่มา : ระบบประเมินมาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร หน้า 16 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

➢ ปริมาณธุรกิจของกลุ่มเกษตรกรในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖5 ปริมาณ ธุรกิจของ กลุ่ม เกษตรกร (แห่ง)

1. กลุ่มเกษตรกรทำนา

7

ปริมาณธุรกิจ แยกตามประเภทการให้บริการ (ล้านบาท) รวบรวม จัดหา บริการ รับฝาก ผลผลิต ให้เงินกู้ สินค้ามา และอื่น รวมทั้งสิ้น เงิน และแปร จำหน่าย ๆ รูป 0.17 5.40 5.50 0 0.06 11.13

2. กลุ่มเกษตรกรทำสวน 3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยง สัตว์ 4. กลุ่มเกษตรกรทำไร่ 5. กลุ่มเกษตรกรทำ ประมง 6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ (ระบุ)……… รวมทั้งสิ้น

6

1.20

13.10

1.20

0

0

15.50

2

0.00

0.64

0.00

0

0

0.64

2

0.002

1.43

0.0001

0

0

1.433

0

0

0

0

0

0

0.00

1

0

0.01

0

0

0.00

1.01

18

1.372

20.58

6.7

0

0.06

29.713

ประเภทกลุ่มเกษตรกร

ที่มา : งบการเงินปีบัญชีล่าสุดของกลุ่มเกษตรกร ➢ ผลการดำเนินงานของกลุ่มเกษตรกร ผลการดำเนินงานปีลา่ สุดที่มีการปิดบัญชีในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ผลการดำเนินงานในภาพรวม ประเภทกลุม่ เกษตรกร

การดำเนินงานมีผลกำไร (ขาดทุน) กลุ่มเกษตรกรที่มีผลกำไร

จำนวน กลุ่ม เกษตรกร (แห่ง)

รายได้ (ล้าน บาท)

ค่าใช้จ่าย (ล้าน บาท)

1. กลุ่มเกษตรกรทำนา

7

6.00

2. กลุ่มเกษตรกรทำสวน

6

3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์

กลุ่มเกษตรกรทีข่ าดทุน

กำไร (ขาดทุน) สุทธิ ในภาพรวม

จำนวนกลุ่ม เกษตรกร (แห่ง)

กำไร (ล้านบาท)

จำนวนกลุ่ม เกษตรกร (แห่ง)

ขาดทุน (ล้านบาท)

5.60

7

0.40

0

0

0.40

2.40

2.00

6

0.42

0

0

0.42

2

0.03

0.012

2

0.016

0

0

0.016

4. กลุ่มเกษตรกรทำไร่

2

0.60

0.010

2

0.047

0

0

0.047

5. กลุ่มเกษตรกรทำประมง 6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ (ระบุ)

0

0

0

0

-

0

0

-

1

0.006

0.005

1

0.001

0

0

0.001

รวมทั้งสิ้น

18

9.036

7.627

18

0.884

0

0

0.884

ที่มา : งบการเงินปีบัญชีล่าสุดของกลุ่มเกษตรกร

หน้า 17 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

ข้อมูลกลุ่มอาชีพในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ➢ จำนวนกลุ่มอาชีพและจำนวนสมาชิกกลุ่มอาชีพ แยกตามประเภทผลิตภัณฑ์ ประเภทกลุ่มอาชีพ แยกตามผลิตภัณฑ์

จำนวนกลุ่มอาชีพ (แห่ง)

คิดเป็น ร้อยละ

จำนวนสมาชิก (คน)

คิดเป็น ร้อยละ

อาหารแปรรูป

6

50

87

37.82

ผ้าและเครื่องแต่งกาย

1

8.33

20

8.70

ของใช้/ของตกแต่ง/ของที่ ระลึก/เครื่องประดับ

5

41.67

123

53.48

เลี้ยงสัตว์

-

-

-

-

บริการ

-

-

-

-

เครื่องดื่มแอลกอฮอล์

-

-

-

-

เครื่องดื่มทีไม่มีแอลกอฮอล์

-

-

-

-

สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร/ยา

-

-

-

-

เพาะปลูก

-

-

-

-

12

0

230

100

รวม

อาหารแปรรูป 0%

ผ้าและเครื่องแต่งกาย

0%

ของใช้/ของตกแต่ง/ของที่ระลึก/เครืองดับ

37.82% 53.48%

คน

แห่ง

42%

เลี้ยงสัตว์ 50%

บริการ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์

8.70%

8%

เครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร/ยา เพาะปลูก

หน้า 18 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖4

สำนักงำนสหกรณ์จงั หวัดปรำจีนบุรี

ส่วนที่ 2 ผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติงานและผลปฏิบัติงาน/ โครงการภายใต้แผนปฏิบัติงานและ งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณและ งานโครงการที่สำคัญหรืองานบูรณาการในพื้นที่ ตามนโยบายของกรมและของกระทรวงจาก การใช้จ่ายงบประมาณของหน่วยงาน ในปีงบประมาณ พ.ศ.2565

หน้า 19 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สรุปผลการปฏิบตั ิ งานและผลการเบิกจ งบประมาณรายจ่าย ประจาปี งบประมาณ พ แผนงาน / ผลผลิต / โครงการ / กิจกรรม แผนงานที่ 1 บุคลากรภาครัฐ ผลผลิต : ค่าใช้จ่ายบุคลากรภาครัฐ พัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและ ชุมชนเข้มแข็ง กิจกรรมหลัก : ค่าใช้จ่ายบุคลากรภาครัฐกรมส่งเสริมสหกรณ์ กิจกรรมรอง : บุคลากรภาครัฐกรมส่งเสริมสหกรณ์ แผนงานที่ 2 แผนงานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิต : สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาตาม ศักยภาพ กิจกรรมหลัก : ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง : ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง : ออกหนังสือรับรองการทำประโยชน์ในที่ดินของนิคม สหกรณ์ กิจกรรมรอง : ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่ม เกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง กิจกรรมรอง : กิจกรรมเพื่อสนับสนุนงานตามนโยบายสำคัญและ ตอบตัวชี้วัดการประเมินส่วนราชการ (แปลงใหญ่)

เป้าหมาย ผลก (หน่วย นับ) หน่วย 12 ราย

-

12 ร

-

-

-

-

76 แห่ง

76 แ

150 ไร่

150

2 ครั้ง

2ค

6 ครั้ง

6ค

WE ARE HOPE เรา ค

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

จ่ายงบประมาณ ตามแผนปฏิบตั ิ งาน และ พ.ศ. ๒๕๖๕ (ข้อมูล ณ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๕)

การดำเนินงาน

ยนับ ร้อยละ

-

งบประมาณที่ได้รับ จัดสรร + โอนเพิ่ม

บาท 3,989,330.58

-

ราย 100.00

หมาย เหตุ บาท ร้อยละ ประกอบ 3,989,330.58 100.00 ผลการเบิกจ่าย

3,989,330.58

3,989,330.58

100.00

3,989,330.58 3,989,330.58

3,989,330.58 3,989,330.58

100.00 100.00

-

-

-

2,519,870.00

2,519,870.00 100.00

-

-

2,519,870.00

2,519,870.00 100.00

-

แห่ง 100.00

2,519,870.00 2,345,590.00

2,519,870.00 2,345,590.00

100.00 100.00

-

0 ไร่ 100.00

11,225.00

11,225.00

100.00

-

ครั้ง

100.00

18,100.00

18,100.00

100.00

-

ครั้ง

100.00

1,000.00

1,000.00

100.00

-

คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 20

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

ผลผลิต/โครงการ/กิจกรรมหลัก

เป้าหมาย ผลก (หน่วย นับ)

หน่วย

กิจกรรมรอง : โครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกร เพื่อ เข้าถึงแหล่งเงินทุนในการผลิตและการตลาด กิจกรรมรอง : การจัดประชุมเชื่อมโยงเครือข่ายและพัฒนาธุรกิจ ร้านค้าซุปเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ในระดับพื้นที่ กิจกรรมรอง : โครงการ "สหกรณ์ไทย ร่วมใจทำดี เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถฯ" กิจกรรมรอง : โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาความเข้มแข็ง กลุ่มเกษตรกร กิจกรรมหลัก : การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร กิจกรรมรอง : รายจ่ายเพื่อการลงทุนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ

แผนงานที่ 3 แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสริม เศรษฐกิจฐานราก ผลผลิต : ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินทำกิน ของเกษตรกร กิจกรรมหลัก : ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพภายใต้โครงการจัดที่ดิน ตามนโยบายรัฐบาล กิจกรรมรอง : ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพภายใต้โครงการจัดที่ดิน ตามนโยบายรัฐบาล

1 ครั้ง

1ค

1 ครั้ง

1ค

1 ครั้ง

1ค

1 ครั้ง

1ค

2 ชุด

2ช

-

-

-

-

-

-

1 แห่ง

1 แห

WE ARE HOPE เรา ค

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

งบประมาณ การดำเนินงาน ที่ได้รับ จัดสรร + โอนเพิ่ม ยนับ ร้อยละ บาท

ผลการเบิกจ่าย บาท

ร้อยละ

หมาย เหตุ ประกอบ

ครั้ง

100.00

7,400.00

7,400.00

100.00

-

ครั้ง

100.00

3,800.00

3,800.00

100.00

-

ครั้ง

100.00

10,000.00

10,000.00

100.00

-

ครั้ง

100.00

8,580.00

8,580.00

100.00

-

ชุด

100.00

125,400.00 125,400.00

125,400.00 125,400.00

100.00 100.00

-

-

20,890.00

20,890.00 100.00

-

-

3,800.00

3,800.00

100.00

-

-

3,800.00

3,800.00

100.00

-

100.00

3,800.00

3,800.00

100.00

-

ห่ง

คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 21

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

ผลผลิต/โครงการ/กิจกรรมหลัก

เป้าหมาย (หน่วยนับ)

ผลก

หน่วย ผลผลิต ส่งเสริมการพัฒนาระบบตลาดภายในสำหรับสินค้า เกษตร กิจกรรมหลัก : พัฒนากลไกการตลาดเพื่อเพิ่มช่องทางการ จำหน่ายสินค้าของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง : พัฒนากลไกการตลาดเพื่อเพิ่มช่องทางการจำหน่าย สินค้าของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร

แผนงานที่ 4 แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทาง สังคม ผลผลิต : ส่งเสริมการดําเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชดําริ กิจกรรมหลัก : พัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการ อันเนื่องมาจากพระราชดําริ กิจกรรมรอง : คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จ พระบรมโอรสาธิราชฯสยามมกุฎราชกุมาร กิจกรรมรอง : อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี กิจกรรมรอง : ขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

-

-

-

-

1 แห่ง

1 แห

-

-

-

-

-

-

3 ครั้ง

3ค

1 แห่ง

1 แห

5 แห่ง

5 แห

WE ARE HOPE เรา ค

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

การดำเนินงาน

ยนับ

ร้อยละ

งบประมาณ ที่ได้รับ จัดสรร + โอนเพิ่ม บาท

ผลการเบิกจ่าย

หมายเหตุ ประกอบ

บาท

ร้อยละ

-

17,090.00

17,090.00

100.00

-

-

17,090.00

17,090.00 100.00

-

100.00

17,090.00

17,090.00 100.00

-

-

17,300.00

17,300.00 100.00

-

-

17,300.00

17,300.00

100.00

-

-

17,300.00

17,300.00

100.00

-

ครั้ง

100.00

9,100.00

9,100.00

100.00

-

ห่ง

100.00

6,300.00

6,300.00

100.00

-

ห่ง

100.00

1,900.00

1,900.00

100.00

-

ห่ง

คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 22

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

ผลผลิต/โครงการ/กิจกรรมหลัก

เป้าหมาย (หน่วยนับ)

ผลก

หน่วย

แผนงานที่ 5 แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า ผลผลิต โครงการส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร กิจกรรมหลัก : ส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร กิจกรรมรอง : ส่งเสริมเกษตรผสมผสานในสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร กิจกรรมรอง : พัฒนาคุณภาพการผลิตสินค้าเกษตรของสมาชิก สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสู่มาตรฐาน GAP ผลผลิต โครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน กิจกรรมหลัก : ส่งเสริมเกษตรแปรรูปในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง : พัฒนาศักยภาพสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้เข้าสู่ ระบบการผลิตเกษตรแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม

-

-

-

-

-

-

1 แห่ง

1 แห

1 แห่ง

1 แห

-

-

-

-

1 แห่ง

1 แห

WE ARE HOPE เรา ค

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

-

งบประมาณ ที่ได้รับ จัดสรร + โอนเพิ่ม บาท 210,640.00

-

62,840.00

62,840.00

100.00

-

-

62,840.00

62,840.00 100.00

-

ห่ง

100.00

44,920.00

44,920.00 100.00

-

ห่ง

100.00

17,920.00

17,920.00 100.00

-

147,800.00

147,800.00

100.00

-

-

147,800.00

147,800.00 100.00

-

100.00

147,800.00

147,800.00 100.00

-

การดำเนินงาน

ยนับ

ห่ง

ร้อยละ

คือ ความหวังของเกษตรกร

ผลการเบิกจ่าย

หมายเหตุ ประกอบ

บาท ร้อยละ 210,640.00 100.00

-

หน้า 23

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

ผลผลิต/โครงการ/กิจกรรมหลัก

แผนงานที่ 6 แผนงาน ยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการ สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ผลผลิต : โครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร กิจกรรมหลัก : ช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง : ลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกร ผลผลิต : พัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ กิจกรรมหลัก : นำลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพ การเกษตร กิจกรรมรอง : นำลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพ การเกษตร

เป้าหมาย (หน่วย นับ)

ผลก

หน่วย

-

-

-

-

-

-

11 แห่ง

11 แ

-

-

-

-

29 ราย

29 ร

เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์

7 แห่ง

7 แห

เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร

12 แห่ง 12 แ

รวมงบประมาณทั้งสิ้น

-

-

ที่มาของข้อมูล : รายงานสถานะการเบิกจ่ายงบประมาณประจำปี พ.ศ. 2565 จากระบบ

WE ARE HOPE เรา ค

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

การดำเนินงาน

ยนับ

งบประมาณ ที่ได้รับ จัดสรร + โอนเพิ่ม

ร้อยละ

บาท

ผลการเบิกจ่าย บาท

หมายเหตุ ประกอบ ร้อยละ

-

1,444,089.14

-

1,419,039.14

1,419,039.14

100.00

-

-

1,419,039.14

1,419,039.14

100.00

-

100.00

1,419,039.14

1,419,039.14

100.00

-

-

25,050.00

25,050.00

100.00

-

-

25,050.00

25,050.00

100.00

-

ราย

100.00

25,050.00

25,050.00

100.00

-

ห่ง

100.00 16,200,000.00 16,200,000.00 100.00

-

แห่ง

แห่ง 100.00

1,444,089.14 100.00

-

5,520,000.00 5,520,000.00 100.00

-

100.00 29,933,344.72 29,933,344.72 100.00

-

GFMIS

คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 24

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

1) ผลการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และงบประมาณอื่นที่หน่วยงานได้รับ ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นแผนแม่บท 3 การเกษตร แผนงานพื้นฐาน แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน

ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 1. กลุ่มเป้าหมาย / พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ (อำเภอเมืองปราจีนบุรี , อำเภอศรีมหาโพธิ , อำเภอศรีมโหสถ , อำเภอบ้านสร้าง) จำนวน 45 แห่ง ประกอบด้วยสหกรณ์ จำนวน 33 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร จำนวน 12 แห่ง 2. ผลการดำเนินงานแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแลสหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกร ตัวชี้วัด / กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ ตัวชี้วัด 1. สหกรณ์มีความเข้มแข็ง ระดับ 1 และ 2 อย่างน้อยร้อย แห่ง 34 34 100 ละ 90 2. กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็งระดับ 1 อย่างน้อย แห่ง 5 3 60 ร้อยละ 25 3. สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน แห่ง 33 27 81.81 4. กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐาน แห่ง 12 10 83.33 5. อัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจสหกรณ์ ร้อยละ 3 0.49 16.33 6. อัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจของกลุ่มเกษตรกร ร้อยละ 3 17.20 573.33 7. จำนวนสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เพิ่มขึ้น ราย 1,036 กิจกรรมที่ดำเนินการ ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรพื้นฐาน 1. แนะนำ ส่งเสริม สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามแผน แห่ง 45 45 100 แนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแลสหกรณ์ / กลุ่ม เกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีวันสิ้นปีทางบัญชี สามารถ แห่ง 45 45 100 ปิดบัญชีได้ภายใน 30 วัน นับแต่วันสิ้นปีทางบัญชี 3. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีวันสิ้นปีทางบัญชี สามารถ แห่ง 45 45 100 จัดประชุมใหญ่สามัญได้ ภายใน 150 วัน นับแต่วันสิ้นปีทาง บัญชี หน้า 25 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

กิจกรรมกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ 1. เข้าแนะนำ ป้องกันการเกิดข้อบกพร่องในสหกรณ์ แห่ง 45 45 100 2. การตรวจการสหกรณ์ และ กลุ่มเกษตรกร แห่ง 45 45 100 การพัฒนาความเข้มแข็งของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1. ส่งเสริมด้านความสามารถในการให้บริการสมาชิก แห่ง 33 27 81.81 2. ส่งเสริมด้านประสิทธิภาพการดำเนินธุรกิจ แห่ง 45 45 100 3. ส่งเสริมด้านประสิทธิภาพการจัดการองค์กร (การควบคุมภายใน) แห่ง 40 44 110 4. ส่งเสริมด้านประสิทธิภาพของการบริหารงาน แก้ไข แห่ง 45 45 100 ข้อบกพร่องของสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร 3. ผลสัมฤทธิ์ / ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการดำเนินงาน การเข้าแนะนำส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่รับผิดชอบ โดยมีกิจกรรม 3 ด้านประกอบด้วย (1) การส่งเสริมและพัฒนาองค์กร ประกอบด้วยการพัฒนาความเข้มแข็งขององค์กร , การรักษาและผลักดัน ให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐาน (2) แผนด้านการพัฒนาการดำเนินธุรกิจ โดยการเข้าแนะนำส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการดำเนินธุรกิจ เพื่อ เพิ่มปริมาณธุรกิจ และเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานให้สหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร (3) แผนด้านการกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ โดยการเข้าตรวจการณ์ เพื่อป้องกัน การเกิดข้อบกพร่องในสหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกร ผลสำเร็จด้านการส่งเสริมและพัฒนาองค์กร (1) ผลการจัดมาตรฐานสหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกร ในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 จำนวนสหกรณ์ 33 แห่ง ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 27 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 81.81 และไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 6แห่ง และ กลุ่มเกษตรกร จำนวน 12 แห่ง ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 10 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 83.33 (2) ผลการจัดชั้นความเข้มแข็งของสหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกร ในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 จำนวน สหกรณ์ 33 แห่ง อยู่ในระดับชั้นที่ 1 และอยู่ในระดับชั้นที่ 2 จำนวน 33 แห่ง กลุ่มเกษตรกร 12 แห่ง อยู่ในระดับชั้นที่ 1 อย่างน้อยร้อยละ 25 พบว่ากลุ่มเกษตรกรอยู่ในระดับชั้น 1 จำนวน 5 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 60 สูงกว่าแผนที่ตั้งไว้ และอยู่ในระดับชั้นที่ 2 จำนวน 7 แห่ง ผลสำเร็จด้านการพัฒนาการดำเนินธุรกิจ (1) สหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นอย่างน้อย ร้อยละ 3 จากข้อมูลพบว่า ปริมาณธุรกิจ รวมของสหกรณ์ 45 แห่ง ปริมาณธุรกิจ จากปีก่อน ร้อยละ 0.49 ซึ่งมาจากการบริหารของสหกรณ์ฯ ที่รัดกุมเพื่อ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการสหกรณ์ และผลกระทบจากโควิค ทำให้เกิดการชะลอตัว ปริมาณธุรกิจรวมของกลุ่มเกษตรกรมีจำนวน 12 แห่ง ปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น จากปีก่อน ร้อยละ 17.20 ซึ่ง มาจากเงินทุนที่ได้รับจากกรมส่งเสริมสหกรณ์ มาเป็นทุนหมุนเวียนในการดำเนินธุรกิจ ผลสำเร็จด้านการกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ สหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกร ในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 ได้รับการตรวจการณ์ครบทั้ง 45 แห่ง คิดเป็นร้อย ละ 100 ในระหว่างปีไม่พบการทุจริต และไม่มีข้อบกพร่อง

หน้า 26 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

4. ปัญหา / อุปสรรคในการดำเนินงานของสหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกร - สหกรณ์ อ อมทรั พ ย์ และสหกรณ์ เ ครดิ ต ยู เ นี ่ ย น เจ้ า หน้ า ที ่ ส ่ ง เสริ ม สหกรณ์ ต ้ อ งศึ ก ษาข้ อ มู ล คู่มือการปฏิบัติตามกฎกระทรวง เพื่อกำกับ ดูแลสหกรณ์กลุ่มเป้าหมาย ในเรื่องการปฏิบัติตามกฎกระทรวง การ ดำเนินงานและการกำกับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน พ.ศ. 2564 ซึ่งพบว่า สหกรณ์ที่มีขนาด เล็กบางแห่งยังไม่มีความพร้อมในการปฏิบัติ เช่น สหกรณ์ขนาดเล็กต้องมีกรรมการซึ่งเป็นผู้มีคุณวุฒิด้านการเงิน การ บัญชี การบริหารจัดการ เศรษฐศาสตร์ หรือผ่านการฝึกอบรมตามหลักสูตร อย่างน้อย 1 คน , ให้สหกรณ์จัดเก็บและ รายงานข้อมูลทางการเงินของสหกรณ์ต่อนายทะเบียนสหกรณ์ เป็นต้น - สหกรณ์ ก ารเกษตร ในเรื ่ อ งการแก้ ไ ขปั ญ หาหนี ้ ค ้ า งชำระเป็ น เวลานาน พบว่ า สหกรณ์ บ างแห่ ง ไม่สามารถเรียกเก็บหนี้สินจากสมาชิกที่เป็นหนี้ค้างนานและในทางบัญชีตั้งเป็นหนี้สูญไว้เต็มจำนวนแล้ว , ปัญหาใน เรื่องเอกสารสัญญาการขอกู้ไม่ครบถ้วน หรือไม่สมบูรณ์ จึงไม่สามารถดำเนินคดีได้ตามกฎหมาย หรือลูกหนี้บางส่วน ที่ขาดอายุความ จึงไม่สามารถติดตามหนี้ดังกล่าวได้ - การส่งเสริมให้สหกรณ์ฯ มีการใช้ Application เพื่อใช้ในการตรวจสอบข้อมูลทางการเงินของสมาชิก เพื่อให้สมาชิกสามารถตรวจสอบข้อมูลทางการเงินของตนเองกับสหกรณ์ได้เป็นปัจจุบัน และป้องกันการทุจริตที่อาจ เกิดขึ้นได้ พบว่า สหกรณ์ฯบางแห่งยังไม่มีความพร้อมหรือแผนรองรับการนำ Application มาใช้ในสหกรณ์ เนื่องจาก สหกรณ์บางแห่งไม่มีความพร้อมด้านอุปกรณ์สำนักงาน , ไม่มีงบประมาณ หรือ ในภาคเกษตรพบว่าสมาชิกส่วนใหญ่ เป็นผู้สูงวัยไม่มีความพร้อมในการใช้เทคโนโลยี - กลุ่มเกษตรกรบางแห่งยังขาดแคลนแหล่งเงินทุนดำเนินงาน หรือมีเงินทุนไม่เพียงพอต่อการดำเนินงาน จึง จำเป็นต้องพึ่งพาเงินทุนจากหน่วยงานภาครัฐ โดยเฉพาะเงินกู้ปลอดดอกเบี้ยจากรมส่งเสริมสหกรณ์ ในรูปของ เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรอย่างต่อเนื่อง เพื่อใช้เป็นทุนหมุนเวียนในการดำเนินธุรกิจให้กับสมาชิก ตลอดจน การช่วยเหลือให้คำแนะนำ ในเรื่องการจัดทำบัญชีของกลุ่มเกษตรกรโดยส่วนใหญ่เป็นการมอบหมายหน้าที่ให้กับ คณะกรรมการดำเนินการ ซึ่งพบว่ายังต้องขอความช่วยเหลือจากเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ในการปิดบัญชีประจำปี และการจัดทำงบการเงินเพื่อรอรับการตรวจสอบบัญชีจากผู้สอบบัญชี 5. ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไขปัญหา - สหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน ควรส่งเสริมในเรื่องของการพัฒนาบุคลากรในองค์กร ให้ได้รับการฝีกอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพการดำเนินงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน ลดข้อผิดพลาดจากการ ดำเนินงาน ของเจ้าหน้าที่สหกรณ์ คณะกรรมการดำเนินการควรมีความรู้ในเรื่องการบริหารธุรกิจและกฎหมายอื่นที่ เกี่ยวข้อง และเรื่องการนำเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมมาใช้ในการตรวจสอบข้อมูลทางการเงิน ระหว่างสมาชิกและ สหกรณ์ โดยการส่งเสริมให้มีการใช้ Application สำหรับให้สมาชิกตรวจสอบข้อมูล ในส่วนคณะกรรมการมีการใช้ ข้อมูลทางการเงินเพื่อการวางแผนการดำเนินงาน ทั้งนี้สหกรณ์ฯควรมีความพร้อมในเรื่องของบุคลากรและอุปกรณ์ สำนักงานเพื่ออำนวยความสะดวกในการดำเนินงานของสหกรณ์ - สหกรณ์ภาคเกษตร การบริหารจัดการลูกหนี้เป็นแนวทางหนึ่งของกระบวนการบริหารสินเชื่อ เริ่มตั้งแ ต่ การกำหนด หลักเกณฑ์ ขั้นตอนการให้สินเชื่อ การตรวจสอบ การพิจารณาสินเชื่อ การอนุมัติสินเชื่อ และการอนุมัติ จ่ายเงิน รวมถึงการบริหาร จัดการลูกหนี้ ซึ่งกิจการที่ปล่อยสินเชื่อออกไปแล้ว จะต้องมีการบริหารจัดการ ลูกหนี้ เพื่อ เป็นการเตรียมความพร้อม ในการแก้ไขปัญหาของลูกหนี้หรือหนี้ที่อาจเกิดปัญหาในอนาคตและ หากเกิดปัญหาขึ้น จะ กำหนดขั้นตอนการจัดการอย่างไร ที่ไม่ให้เกิดเป็นปัญหาหนี้ NPL (Non Profit Loan) หรือหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ และเมื่อเกิดเป็นหนี้ NPL หรือหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิด รายได้ จะต้องกำหนด มาตรการอย่างไร รวมทั้งหนี้ที่ต้องดำเนินคดีใน ขั้นสุดท้าย หน้า 27 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

- กลุ่มเกษตรกรที่ขาดแคลนเงินทุนดำเนินงาน ในส่วนของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี ได้สนับสนุน เงินกู้ปลอดดอกเบี้ย จากเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรให้กับกลุ่มเกษตรกรกู้ยืมไปใช้ในการดำเนินธุรกิจของกลุ่ม เกษตรกร แต่ทั้งนี้กลุ่มเกษตรกรควรให้ความสำคัญในเรื่องการระดมเงินทุนภายในเพิ่มขึ้น เช่นการเพิ่มหุ้นจากส่วน แบ่งเงินให้กู้ที่กำหนดในข้อบังคับของกลุ่มเกษตรกร , การจัดสรรกำไรสุทธิประจำปีเป็นทุนสำรองเพิ่มขึ้น และการ ระดมเงินทุนจากการรับฝากเงินของสมาชิก เป็นต้น 6. สหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกรที่ใช้เป็นตัวอย่างหรือต้นแบบของการใช้แผนแนะนำส่งเสริมฯ ปี 2565 มาใช้ใน การดำเนินงานปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สหกรณ์ออมทรัพย์ ร.2 พัน 3 รอ.จำกัด ปัจจุบันมีสมาชิก จำนวน 258 คน ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 สหกรณ์ฯมีทุนดำเนินงานทั้งสิ้น จำนวน 42,436,586.23 บาท มีกำไรสุทธิจากการดำเนินงาน จำนวน 2,024,224.41 บาท ผลสำเร็จด้านการส่งเสริมและพัฒนาองค์กร 1) จากผลการจัดชั้นความเข้มแข็งของสหกรณ์ สหกรณ์ฯ อยู่ในระดับชั้นที่ 1 โดยมีองค์ประกอบทั้ง 4 ด้าน ประกอบด้วย (1) ความสามารถในการให้บริการสมาชิก มากกว่าร้อยละ 70 (2) ประสิทธิภาพในการดำเนิน ธุรกิจของสหกรณ์ อยู่ในระดับมั่นคงดีมาก (3) ประสิทธิภาพในการจัดการองค์กร ควบคุมภายในอยู่ในระดับ ดีมาก (4) ประสิทธิภาพของการบริหารงานสหกรณ์ไม่มีข้อบกพร่อง 2) จากผลการประเมินมาตรฐานสหกรณ์ จากตัวชี้วัดระดับมาตรฐาน 7 ข้อ คือ “ระดับผ่านมาตรฐาน สหกรณ์” 3) สหกรณ์ได้นำระบบควบคุมภายในของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์มาใช้ในการบริหารงานสหกรณ์ โดย มีองค์ประกอบสำคัญ 4 ประการเป็นตัวชี้วัด ได้แก่ 1) ด้านสภาพแวดล้อมการควบคุม 2) ด้านประเมินความเสี่ยงและ กิจกรรมควบคุม 3) ด้านประเมินข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร 4) ด้านการประเมินติดตามและประเมินผล ตามแบบ RQ 2 โดยปีบัญชีสิ้นสุด 30 กันยายน 2565 รายงานผลการประเมินชั้นคุณภาพการควบคุมภายในสหกรณ์ฯ อยู่ในระดับ ดีมาก ผลสำเร็จด้านการพัฒนาการดำเนินธุรกิจ สหกรณ์ดำเนิน ธุรกิจสินเชื่อ และ ธุรกิจรับฝากเงินจากสมาชิก 1) ธุรกิจสินเชื่อ ประกอบด้วยเงินกู้ฉุกเฉิน เงินกู้สามัญ จากข้อมูลในงบการเงินประจำปีบัญชีสิ้ นสุด 30 กันยายน 2565 มีลูกหนี้เงินกู้ระยะสั้น จำนวน 8,198,000 บาท ลูกหนี้เงินกู้ระยะยาว จำนวน 31,993,000 บาท รวมลูกหนี้เงินกู้ทั้งสิ้น จำนวน 40,191,000 บาท 2) ธุรกิจรับฝากเงิน ได้แก่ เงินรับฝากออมทรัพย์พิเศษ – สมาชิก จำนวน 6,688,418.23 บาท ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2565 สมาชิกมีส่วนร่วมในการดำเนินธุรกิจ ร้อยละ 93.80 จากสมาชิกทั้งหมด ภาพกิจกรรรมวันประชุมใหญ่สหกรณ์

หน้า 28 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

ภาพกิจกรรมเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ

ภาพกิจกรรมการจ่ายทุนเพื่อการศึกษาบุตรสมาชิก

หน้า 29 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 1. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 อำเภอประจันตคาม อำเภอกบินทร์บุรี และ อำเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี จำนวนสหกรณ์ 22 แห่ง (สหกรณ์ 16 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร 6 แห่ง) 2. ผลการดำเนินงานแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ตัวชี้วัด/กิจกรรมที่ดำเนินการ หน่วย แผน ผล ร้อยละ นับ ตัวชี้วัด 1. สหกรณ์มีความเข้มแข็ง ระดับ 1 และ 2 อย่างน้อยร้อยละ 90 2. กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง ระดับ 1 อย่างน้อยร้อยละ 25 3. สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 4. กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 81 5. อัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจสหกรณ์ 6. อัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจกลุ่มเกษตรกร 7. จำนวนสมาชิกสหกรณ์และเกษตรกรเพิ่มขึ้น

แห่ง แห่ง แห่ง แห่ง ร้อยละ ร้อยละ ราย

16 6 16 6 3 3

15 93.75 0 0 5 31.25 6 100 3.97 132.33 103.97 3,465.66 127

ไม่ทราบแผน

แห่ง

22

22

100

แห่ง

22

19

86.33

แห่ง

22

22

100

แห่ง แห่ง

16 16

16 16

100 100

แห่ง แห่ง แห่ง แห่ง

12 6 14 1

3 4 2 0

25 66.66 14.2 0

กิจกรรมทีด่ ำเนินการ

ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกรพื้นฐาน 1. แนะนำ ส่งเสริม สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามแผนการแนะนำ ส่ งเสริ ม พั ฒ นา และกำกั บ ดู แ ลสหกรณ์ /กลุ ่ ม เกษตรกรประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีวันสิ้นปีทางบัญชีเดือน ส.ค. 64 - ก.ค. 65 ปิดบัญชีได้ภายใน 30 วัน นับแต่วันสิ้นปีทาง บัญชี 3. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีวันสิ้นปีทางบัญชี ระหว่าง เดือน มี.ค. 64 - ก.พ. 65 ประชุมใหญ่สามัญ ภายใน 150 วัน กิจกรรมกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ 1. เข้าแนะนำ ป้องกันการเกิดข้อบกพร่องในสหกรณ์ 2. การตรวจการสหกรณ์ งานพัฒนาความเข้มแข็งของสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร 1. ส่งเสริมด้านความสามารถในการให้บริการสมาชิก 2. ส่งเสริมด้านประสิทธิภาพการดำเนินธุรกิจ 3. ส่งเสริมด้านประสิทธิภาพการจัดการองค์กร (การควบคุมภายใน) 4. ส่งเสริมด้านประสิทธิภาพของการบริหารงาน แก้ไขข้อบกพร่อง ของสหกรณ์

หน้า 30 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

3. ผลสัมฤทธิ์/ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการดำเนินงาน การเข้าแนะนำส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่รับผิดชอบโดยมีกิจกรรม 3 ด้านประกอบด้วย (1) การส่งเสริมและพัฒนาองค์กรประกอบด้วยการพัฒนาความเข้มแข็งขององค์กรการรักษาและผลักดัน สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน (2) แผนด้านการพัฒนาการดำเนินธุรกิจ โดยการเข้าแนะนำส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการดำเนินธุรกิจเพื่อเพิ่ม ปริมาณธุรกิจ และเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร (3) แผนด้านการกำกับดูแลตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์โดยการเข้าตรวจการสหกรณ์เพื่อป้องกัน การเกิดข้อบกพร่องในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ผลสำเร็จด้านการส่งเสริมและพัฒนาองค์กร (1) ผลการจัดมาตรฐานสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 (อำเภอประจันตคาม อำเภอ กบินทร์บุรี และอำเภอนาดี) มีสหกรณ์จำนวน 16 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร จำนวน 6 แห่ง รวม 22 แห่งมีสหกรณ์ผ่าน เกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 5 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 31.25 กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 6 แห่ง หรือ คิดเป็นร้อยละ 100 (2) ผลการจัดระดับชั้นความเข้มแข็งของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 มี สหกรณ์อยู่ในระดับชั้น 1 และ 2 จำนวน 15 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 93.75 กลุ่มเกษตรกรอยู่ในระดับชั้น 1 และ 2 จำนวน 6 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 100 (3) ผลการมีส่วนร่วมของสมาชิก สหกรณ์ จำนวน 16 แห่ง มีสมาชิกทั้งหมด จำนวน 7,523 คน โดยมี สมาชิกมีส่วนร่วมในการทำธุรกิจกับสหกรณ์ จำนวน 5,808 คนหรือคิดเป็นร้อยละ 77.20 กลุ่มเกษตรกร จำนวน 6 แห่ง สมาชิกทั้งหมด จำนวน 476 คน โดยมีสมาชิกมีส่วนร่วมในการทำธุรกิจกับกลุ่มเกษตรกร จำนวน 133 คนหรือ คิดเป็นร้อยละ 27.94 (4) ผลการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายใน สหกรณ์ จำนวน 16 แห่ง มีผลการจัดชั้นคุณภาพการควบคุม ภายในระดับพอใช้ขึ้นไป จำนวน 12 แห่ง กลุ่มเกษตรกร จำนวน 6 แห่ง ผลการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายในระดับ พอใช้ขึ้นไป จำนวน 6 แห่ง (5) ประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจ สหกรณ์ จำนวน 16 แห่ง มีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจอยู่ใน ระดับมาตรฐานขึ้นไป จำนวน 9 แห่ง กลุ่มเกษตรกร จำนวน 6 แห่ง ประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจอยู่ในระดับ มาตรฐานขึ้นไป จำนวน 6 แห่ง ผลสำเร็จด้านการพัฒนาการดำเนินธุรกิจ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นอย่างน้อย ร้อยละ 3 จาก ข้อมูล พบว่า ปริมาณธุร กิจ รวมของสหกรณ์มีจ ำนวน 561,854,157.22 บาท เพิ่มขึ้น จากปีก่อน จำนวน 21,477,614.34 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 3.97 ปริมาณธุรกิจรวมของกลุ่มเกษตรกรมีจำนวน 4,196,480 บาท เพิ่มขึ้น จากปีก่อน จำนวน 2,129,920 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 103.97 ผลสำเร็จด้านการกำกับดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ในพื้นที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 ได้รับการตรวจการณ์ ครบทั้ง 22 แห่ง คิดเป็น ร้อยละ 100 ในระหว่างปีไม่พบการทุจริตและไม่มีข้อบกพร่อง มีสหกรณ์ จำนวน 1 แห่ง อยู่ในระหว่างแก้ ไข ข้อบกพร่องและต้องติดตาม จำนวน 1 แห่ง มูลค่าความเสียหายที่แก้ไขได้ จำนวน 549,487.45 บาท 4. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร -สหกรณ์ในภาคการเกษตร จากผลการดำเนินงานที่ผ่านมา สหกรณ์ในภาคการเกษตรขนาดใหญ่ประสบ ปัญหาการขาดทุน อันเนื่องมาจากไม่สามารถจัดเก็บหนี้ค้างชำระได้ตามแผนงาน และตั้งเป็นหนี้สูญไว้เต็มจำนวน และ การบริหารสินเชื่อที่ไม่มีคุณภาพ เช่น ให้วงเงินสินเชื่อเกินกว่าหลักทรัพย์ค้ำประกัน หรือเกินกว่ารายได้ของสมาชิกที่ หน้า 31 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

ขอกู้ การปรับโครงสร้างหนี้ที่ต้องรวมดอกเบี้ยค้างเข้าไปอีกทำให้ มียอดเงินกู้ที่สูงเกินกว่าที่สมาชิกขายผลผลิตแล้วจะ นำมาชำระหนี้ให้กับสหกรณ์ได้ การฟ้องร้องดำเนินคดีกับสมาชิก ซึ่งมีค่าใช้จ่ายในการดำเนินคดีค่าใช้จ่ายในการ ติดตามหนี้ ปัจจัยการผลิตต่างๆมีราคาสูงขึ้น ความสามารถในการซื้อสินค้าของสมาชิกลดลง ค่าใช้จ่ายในดำเนินงาน ของสหกรณ์เป็นค่าใช้จ่ายที่ต้องจ่ายประจำและมีแนวโน้มสูงขึ้น ในขณะที่ร ายได้ลดลง เก็บหนี้ค้างและหนี้ปกติไม่ได้ ย่อมส่งผลให้มีผลการดำเนินงานขาดทุน และอาจเป็นปัญหาต่อเนื่องระยาว ในส่วนสหกรณ์การเกษตรขนาดเล็ก พบว่ายังขาดแคลนเงินทุน ขาดการบริหารจัดการที่ดี ขาดความพร้อมเรื่องวัสดุอุปกรณ์สำนักงาน ต้องมอบหมายให้ คณะกรรมการปฏิบัติหน้าที่ต่างๆ คณะกรรมการขาดความรู้ความเข้าใจ และปัญหาของการจัดทำบัญชี การลงบัญชีไม่ เป็นปัจจุบัน ขาดเอกสารประกอบการลงบัญชี สหกรณ์ยังไม่สามารถจัดทำเองได้ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ยังต้องให้ การช่วยเหลือเพื่อให้สหกรณ์จัดทำงบการเงิน และปิดบัญชีประจำปี เพื่อขอรับการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชี ให้ทัน ภายในกำหนด ผู้ตรวจสอบกิจการที่ตั้งไว้ ส่วนใหญ่ไม่ผ่านการอบรมและไม่เข้าตรวจสอบ เมื่อเกิดปัญหาจึงไม่อาจ แก้ไขได้ทันเวลา ส่งผลให้สหกรณ์มีข้อสังเกต และข้อบกพร่องตามมาได้ ในส่วนของสมาชิกก็มาร่วมดำเนินธุรกิจกับ สหกรณ์น้อยมาก อาจเพราะสหกรณ์ยังไม่สามารถอำนวยประโยชน์ให้กับสมาชิกได้ครบทุกด้าน -สหกรณ์นอกภาคการเกษตร สหกรณ์ออมทรัพย์ จำนวน 2 แห่ง เป็นสหกรณ์ที่อยู่ในสถานประกอบการ ปัญหาที่พบจะเป็นเรื่องของการมีส่วนร่วมของสมาชิกที่ต้องเข้าประชุมและร่วมกิจกรรมต่างๆของสหกรณ์ เนื่องจาก สถานประกอบการจะจำกัดเวลาทำงานของพนักงาน และในส่วนของสหกรณ์บริการ มีสหกรณ์บ้านมั่นคง จำนวน 5 สหกรณ์ ซึ่งปัญหาจะแตกต่างกันออกไป ส่วนใหญ่ขาดการบริหารจัดการที่ดี กรรมการ และเจ้าหน้าที่ขาดความรู้ความ เข้าใจในการดำเนินงานในรูปแบบของสหกรณ์อย่างแท้จริง เป็นสหกรณ์ที่ตั้งขึ้นมาเพื่อให้เป็นไปตามเงื่อนไขของ พอช. จึงทำให้เกิดปัญหาต่างๆมากมาย การทุจริต ความขัดแย้ง การไม่ปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมาย สมาชิกที่ กู้เงินเพื่อสร้างบ้านมีผิดนัดชำระ มีหนี้ค้างและมีการเปลี่ยนให้ผู้อื่นมาเข้าอยู่แทน ขายสิทธิให้กัน ปิดบัญชีไม่ได้ ติดต่อกันหลายปี -กลุ่มเกษตรกร กลุ่มเกษตรกรส่วนใหญ่ดำเนินธุรกิจ เพียง2 อย่าง คือธุร กิจสินเชื่อ ให้สินเชื่อ ปีละ 1 ครั้ง เท่านั้น และ ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่ายให้สมาชิก ทั้ง 2 ธุรกิจนี้ สมาชิกมีส่วนร่วมทางธุรกิจน้อยมากไม่ถึงร้อยละ 60 จึงทำให้ไม่ผ่านเกณฑ์การมีส่วนร่วม และระดับชั้นความเข้มแข็ง กลุ่มเกษตรกรบางแห่งมีเงินทุนไม่เพียงพอต่อการ ดำเนินงานจึงจำเป็นต้องกู้ยืมเงินจากกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร เพื่อใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนในการดำเนินธุรกิจให้กับ สมาชิก สมาชิกส่วนใหญ่จะเป็นผู้สูงวัย และไม่ได้ทำการเกษตรแล้วการบริหารงานกลุ่มโดยคณะกรรมการจึงไม่ คล่องตัว การติดตามหนี้ค้างนาน การเดินทางมาประชุม การจัดทำรายงานการประชุม การจัดทำบัญชี หรือการ วางแผนในการดำเนินธุรกิจ การปิดบัญชีประจำปี การจัดทำรายละเอียดประกอบงบการเงิน เจ้าหน้าที่ส่งเสริม สหกรณ์จึงยังต้องช่วยเหลือให้การดำเนินงานของกลุ่มดำเนินงานเป็นไปตามแผนงาน ปิดบัญชีได้ และผ่านเกณฑ์ มาตรฐานกลุ่มเกษตรกร 5. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา -สหกรณ์ในภาคการเกษตร สหกรณ์ควรแก้ไขปัญหาในเรื่องกระบวนการบริหารสินเชื่อ วางแผนการติดตาม หนี้ การ ตรวจสอบยืนยันยอดหนี้กับสมาชิก ไม่ปล่อยให้หนี้ค้างนาน ควรติดตามทุกปี เพราะสินเชื่อคือธุรกิจหลักของ สหกรณ์การเกษตร กรรมการและเจ้าหน้าที่สินเชื่อ ควรออกประชุมกลุ่มย่อยและเยี่ยมเยียนสมาชิกในพื้นที่ เพื่อสำรวจ ข้อมูลการประกอบอาชีพรายได้และหนี้สินครัวเรือน ออกสอบทานหนี้สิน รับชำระหนี้ รับเงินฝาก นำสินค้าอุปโภค บริโภค ไปจำหน่ายให้ถึงกลุ่มสมาชิก และสหกรณ์ควรวางแผนการดำเนินงานที่สอดคล้องกั บสภาวเศรษฐกิจสภาพ คล่องของสหกรณ์ และความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการวางแผนและควบคุมการบริหารงาน ของสหกรณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และควบคุมค่าใช้จ่าย ไม่ใช้จ่ายเงินเกินงบประมาณที่ตั้งไว้ เพื่อไม่ให้มีผลการ ดำเนินงานขาดทุน สหกรณ์ควรวางแผนในการช่วยเหลือสมาชิกที่เป็นเกษตรกรที่ประสบปัญหาผลผลิตราคาตกต่ำ ใน หน้า 32 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

ธุรกิจรวบรวม การจัดหาปัจจัยการผลิตราคาที่ถูกกว่าท้องตลาด มาจำหน่ายเพื่อให้ต้นทุนในการผลิตของสมาชิกต่ำลง มีรายได้มากขึ้นและสามารถชำระหนี้ให้กับสหกรณ์ได้ -สหกรณ์นอกภาคการเกษตร ควรจัดให้มีการประชุมเชิงปฏิบัติการ สหกรณ์ที่มีปัญหาในการดำเนินงานด้าน ต่างๆ เช่นแนวทางการแก้ปัญหาหนี้ค้างนาน คณะกรรมการและฝ่ายจัดการมีความรู้และเข้าใจด้านการสหกรณ์ การ เพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน สมาชิกมีความรู้ในหน้าที่ของสมาชิก ระเบียบ ข้อบังคับ กฎหมายสหกรณ์ แนว ทางการเพิ่มปริมาณธุรกิจ และส่งเสริมการมีส่วนร่วม และมีการติดตามผลเพื่อทราบปัญหาอุปสรรคต่างๆ จาก สถานการณ์การแพร่เชื้อของโควิด 19 ทำให้มีผลกระทบต่อรายได้ของสมาชิกที่ประกอบอาชีพ ค้าขาย และรับจ้าง ทั่วไปซึ่งมีรายได้ไม่แน่นอน จากสภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบันค่าครองชีพที่สูงขึ้น อาจส่งผลต่อกำลังความสามารถในการ ชำระหนี้ของสมาชิกได้ สหกรณ์ควรหามาตรการช่วยเหลือสมาชิกและหาแนวทางในการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ให้ สอดคล้องกับสถานการณ์ -สหกรณ์ที่ปิดบัญชีไม่ได้หลายปี ควรตั้งคณะทำงานเพื่อแก้ไขปัญหา เพื่อให้ปิดบัญชีได้และดำเนินงานได้ตาม วัตถุประสงค์ของสหกรณ์ต่อไป สหกรณ์บ้านมั่นคงหากจะมีการตั้งขึ้นใหม่ ก่อนการจัดตั้งสหกรณ์ควรให้ทดลองการ ดำเนินงานในรูปแบบสหกรณ์ ก่อนที่จะจดทะเบียนจัดตั้ง ถ้าหากว่าสามารถดำเนินงานได้ คณะกรรมการมีความพร้อม มีความรู้ความเข้าใจในกฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆแล้ว จึงจดทะเบียนจัดตั้งเป็นสหกรณ์ -สหกรณ์ออมทรัพย์ เจ้าหน้าที่สหกรณ์และคณะกรรมการดำเนินการ ต้องมีความรู้เรื่องการบริหารธุรกิจและ กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง และสหกรณ์ต้องมีความพร้อมของเจ้าหน้าที่และเครื่องใช้สำนักงาน ในการรายงานข้อมูลทาง การเงินของสหกรณ์ต่อนายทะเบียนสหกรณ์ -กลุ่มเกษตรกร ควรได้รับการพัฒนาศักยภาพในการดำเนินธุรกิจและได้รับการสนับสนุนเงินทุนหมุนเวียน จากกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรให้กับกลุ่มเกษตรกรกู้ยืมไปใช้ในการดำเนินธุรกิจของกลุ่มเกษตรกร ในการให้ สมาชิก กู้ยืมไปประกอบอาชีพ และจัดหาปัจจัยการผลิตมาจำหน่ายให้แก่สมาชิก และกลุ่มควรมีการระดมทุนภายใน จากการ เพิ่มหุ้นและระดมเงินฝาก เปิดรับสมาชิกใหม่ เกษตรกรรุ่นใหม่ให้เข้ามาเป็นสมาชิกและบริหารงาน คัดสมาชิกที่ไม่มี ส่วนร่วมกับกลุ่มหรือไม่ได้ทำการเกษตรออก วางแผนแก้ไขปัญหาหนี้ค้างนาน ผู้ที่ได้รับมอบหมายในการจัดทำบัญชี ได้รับความรู้และมีความเข้าใจสามารถจัดทำบัญชี และปิดบัญชีประจำปีเองได้ 6. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ใช้เป็นตัวอย่างหรือต้นแบบของการใช้แผนแนะนำส่งเสริมฯ ปี 2565 มาใช้ในการ ดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ผลงานความสำเร็จของสหกรณ์ สหกรณ์ออมทรัพย์สหภาพแรงงานฮิตาชิแห่งประเทศไทย จำกัด ได้รับจดทะเบียน เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 เลขที่ทะเบียน 2500000125528 ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์ ปัจจุบันมีสมาชิก 686 คน มีทุน ดำเนินงาน จำนวน 89,083,462.84 บาท มีกำไรสุทธิ จำนวน 3,646,263.69 บาท มีมูลค่าธุรกิจรวมทั้งสิ้น จำนวน 89,840,213.81 บาท โดยมีธุรกิจให้บริการแก่สมาชิก ดังนี้ 1. ธุรกิจสินเชื่อ จากข้อมูลในงบการเงินประจำปีสิ้นสุด วันที่ 31 มกราคม 2565 ธุรกิจสินเชื่อให้บริการ เงินกู้แก่สมาชิก 3 ประเภท ได้แก่ เงินกู้ฉุกเฉิน เงินกู้สามัญ และ เงินกู้พิเศษ จำนวน 471 ราย โดยมีลูกหนี้เงินให้ กูย้ ืมระยะสั้น จำนวน 19,030,972.00 บาท และ ลูกหนี้เงินให้กู้ยืมระยะยาว จำนวน 70,809,241.81 บาท 2. ธุรกิจการรับฝากเงิน ได้แก่ เงินฝากออมทรัพย์พิเศษ จำนวน 61 ราย จำนวน 3,590,133.74 บาท ซึ่งนอกจากการให้บริการด้านธุรกิจกับสมาชิก สหกรณ์ออมทรัพย์สหภาพแรงงานฮิตาชิแห่งประเทศไทย จำกัด ยังมีการจัดสวัสดิการ ดังนี้

หน้า 33 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

1. สวัสดิการสงเคราะห์สมาชิก

2. สวัสดิการเยี่ยมป่วยสมาชิก

3. ทุนเพื่อการศึกษาสมาชิกและบุตรสมาชิกสหกรณ์

4. การจ่ายรางวัลตอบแทนกรณีเกษียณอายุงาน หรือ ลาออกจากงาน

หน้า 34 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

นิคมสหกรณ์กบินทร์บุรี 1. กลุ่มเป้าหมาย / พื้นที่เป้าหมายดำเนินการ สหกรณ์ จำนวน 2 แห่ง 2. ผลการดำเนินงานแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแลสหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกร ตัวชี้วัด / กิจกรรมที่ดำเนินการ

หน่วย นับ

แผน

ผล

ร้อยละ

ตัวชี้วัด 1. สหกรณ์มีความเข้มแข็ง ระดับ 1 และ 2 แห่ง 2 2 100 2. กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง ระดับ 1 อย่างน้อยร้อยละ 3. สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน แห่ง 2 0 0 4. กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 5. อัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจสหกรณ์ ร้อยละ 3 28.59 953 6. อัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจของกลุ่มเกษตรกร 7. จำนวนสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เพิ่มขึ้น ราย 50 3 6 กิจกรรมที่ดำเนินการ ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรพื้นฐาน 1. แนะนำ ส่งเสริม สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรตามแผน แห่ง 2 2 100 แนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแลสหกรณ์ / กลุ่ม เกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 2. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีวันสิ้นปีทางบัญชี สามารถ แห่ง 2 2 100 ปิดบัญชีได้ภายใน 30 วัน นับแต่วันสิ้นปีทางบัญชี 3. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีวันสิ้นปีทางบัญชี สามารถจัด แห่ง 2 2 100 ประชุมใหญ่สามัญได้ ภายใน 150 วัน นับแต่วันสิ้นปีทางบัญชี กิจกรรมกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ 1. เข้าแนะนำ ป้องกันการเกิดข้อบกพร่องในสหกรณ์ แห่ง 2 2 100 2. การตรวจการสหกรณ์ และ กลุ่มเกษตรกร แห่ง 2 2 100 การพัฒนาความเข้มแข็งของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1. ส่งเสริมด้านความสามารถในการให้บริการสมาชิก แห่ง 2 2 100 2. ส่งเสริมด้านประสิทธิภาพการดำเนินธุรกิจ แห่ง 2 2 100 3. ส่งเสริมด้านประสิทธิภาพการจัดการองค์กร (การควบคุมภายใน) แห่ง 2 2 100 4. ส่งเสริมด้านประสิทธิภาพของการบริหารงาน แก้ไข แห่ง 2 2 100 ข้อบกพร่องของสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร 3. ผลสัมฤทธิ์ / ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการดำเนินงาน การเข้าแนะนำส่งเสริมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่รับผิดชอบ โดยมีกิจกรรม 3 ด้านประกอบด้วย (1) การส่งเสริมและพัฒนาองค์กร ประกอบด้วยการพัฒนาความเข้มแข็งขององค์กร , การรักษาและผลักดัน ให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐาน หน้า 35 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

(2) แผนด้านการพัฒนาการดำเนินธุรกิจ โดยการเข้าแนะนำส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการดำเนินธุรกิจ เพื่อ เพิ่มปริมาณธุรกิจ และเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานให้สหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร (3) แผนด้านการกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ โดยการเข้าตรวจการณ์ เพื่อป้องกัน การเกิดข้อบกพร่องในสหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกร ผลสำเร็จด้านการส่งเสริมและพัฒนาองค์กร (1) ผลการจัดมาตรฐานสหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกร ในพื้นที่นิคมสหกรณ์กบินทร์บุรี จำนวนสหกรณ์ 2 แห่ง ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน - แห่ง ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 2 แห่ง (2) ผลการจัดชั้นความเข้มแข็งของสหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกร ในพื้นที่นิคมสหกรณ์กบินทร์บุรี จำนวน สหกรณ์ 2 แห่ง อยู่ในระดับชั้นที่ 1 จำนวน - แห่ง อยู่ในระดับชั้นที่ 2 จำนวน 2 แห่ง ผลสำเร็จด้านการพัฒนาการดำเนินธุรกิจ (1) สหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกร มีปริมาณธุรกิจเพิ่มขึ้นอย่างน้อย ร้อยละ 3 จากข้อมูลพบว่า ปริมาณธุรกิจ รวมของสหกรณ์ มีจำนวน 218,986,697.86 บาท เพิ่มขึ้น จากปีก่อน ร้อยละ 24.42 ผลสำเร็จด้านการกำกับ ดูแล ตรวจสอบและคุ้มครองระบบสหกรณ์ (1) สหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกร ในพื้นที่นิคมสหกรณ์กบินทร์บุรี ได้รับการตรวจการณ์ครบทั้ง 2 แห่ง คิด เป็นร้อยละ 100 ในระหว่างปีไม่พบการทุจริต และไม่มีข้อบกพร่อง 4. ปัญหา / อุปสรรคในการดำเนินงานของสหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกร - สหกรณ์นิคมกบินทร์บุรี จำกัด ประสบปัญหาหนี้ค้างนาน ซึ่งมีการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเป็นจำนวนเงิน 25,461,767.13 บาท หากสหกรณ์มีอัตราการค้างชำระเพิ่มขึ้นย่อมส่งผลกระทบต่อผลประกอบการและสภาพ คล่องทางการเงินของสหกรณ์ - สหกรณ์ปศุสัตว์กบินทร์บุรี จำกัด คณะกรรมการดำเนินการยังขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องสหกรณ์ ตลอดจนหลักการ อุดมการณ์และวิธีการสหกรณ์ - การส่งเสริมให้สหกรณ์ฯ มีการใช้ Appication เพื่อใช้ในการตรวจสอบข้อมูลทางการเงินของสมาชิก เพื่อให้สมาชิกสามารถตรวจสอบข้อมูลทางการเงินของตนเองกับสหกรณ์ได้เป็นปัจจุบัน และป้องกันการทุจริตที่อาจ เกิดขึ้นได้ พบว่า สหกรณ์ฯยังไม่มีความพร้อมหรือแผนรองรับการนำ Appicationมาใช้ในสหกรณ์ และสมาชิกส่วน ใหญ่เป็นผู้สูงวัยไม่มีความพร้อมในการใช้เทคโนโลยี 5. ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไขปัญหา - สหกรณ์นิคมกบินทร์บุรี จำกัด ควรบริหารจัดการสินเชื่อให้มีประสิทธิภาพ โดยเริ่มตั้งแต่หลักเกณฑ์การให้ สินเชื่อ โดยมุ่งเน้นในด้านความสามารถในการชำระหนี้ของสมาชิก มากกว่าการกำหนดหลักประกัน การบริหารลูกหนี้ อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีการตรวจสอบการใช้เงินตามวัตถุประสงค์ของการขอกู้ และการออกตรวจเยี่ยมบ้านสมาชิก เพื่อรับทราบถึงปัญหาการชำระหนี้ หรือปัญหาด้านการประกอบอาชีพของสมาชิก - สหกรณ์ปศุสัตว์กบินทร์บุรี จำกัด คณะกรรมการดำเนินการควรมีการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร และให้ ความรู้กับสมาชิกโดยร่วมกับเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ในการให้ความรู้เกี่ยวกับสหกรณ์ เพื่อให้สมาชิกทราบถึงบทบาท หน้าที่ตลอดจนสิทธิหน้าที่ในการเป็นสมาชิกสหกรณ์

หน้า 36 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

◼ งานส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อยกระดับความเข้มแข็งของสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกร 2. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง กลุ่มเป้าหมาย 1. กิจกรรมส่งเสริมพัฒนาเพื่อยกระดับชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรจากระดับชั้น 2 สู่ชั้น 1 ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรชาวสวนไม้เค็ด จำกัด, สหกรณ์บ้านโนนฝาวพัฒนาเกษตร (คทช.) จำกัด และ กลุ่มเกษตรกร ทำนาบ้านต้นตาล 2. กิจกรรมส่งเสริมพัฒนาเพื่อผลักดันระดับชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์ภาคการเกษตร ชั้น 3 สู่ชั้น ๒ ได้แก่ สหกรณ์ประมงอ่างเก็บน้ำห้วยโสมง จำกัด 2. ผลการดำเนินงาน กิจกรรมส่งเสริมพัฒนาเพื่อยกระดับชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรจากระดับชั้น ๒ สู่ชั้น ๑ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรีมีสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรในความส่งเสริมอยู่ใน ระดับชั้น 2 จำนวน 14 สหกรณ์ 16 กลุ่มเกษตรกร และมีสหกรณ์ภาคการเกษตรอยู่ในระดับชั้น 3 จำนวน 1 สหกรณ์ โดยได้คัดเลือกสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกร เข้าสู่การส่งเสริมพัฒนาเพื่อยกระดับชั้นและผลักดัน ดังนี้ 2.1 ยกระดับสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกร จากชั้น 2 สู่ชั้น 1 ได้แก่ 2.1.1 สหกรณ์การเกษตรชาวสวนไม้เค็ด จำกัด 2.1.2 สหกรณ์บ้านโนนฝาวพัฒนาเกษตร (คทช.) จำกัด 2.1.3 กลุ่มเกษตรกรทำนาบ้านต้นตาล 2.2 ผลักดันสหกรณ์ภาคการเกษตร จากระดับชั้น 3 สู่ชั้น 2 ได้แก่ 2.2.1 สหกรณ์ประมงอ่างเก็บน้ำห้วยโสมง จำกัด 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : 1. สหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรได้รับการพัฒนาศักยภาพให้มีความเข้มแข็งในระดับชั้น 1 จำนวน 3 แห่ง 2. สหกรณ์ภาคการเกษตรได้รับการผลักดันระดับชั้นความเข้มแข็งจากชั้น ๓ สู่ชั้น ๒ จำนวน ๑ แห่ง ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. สหกรณ์ภาคการเกษตรมีความเข้มแข็งในระดับ 1 และ ๒ ร้อยละ 92 2. กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็งในระดับชั้น 1 ร้อยละ 100 3. สหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรมีส่วนร่วมดำเนินธุรกิจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60

หน้า 37 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

4. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ

หน้า 38 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5 ◼

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

โครงการออกหนังสือรับรองการทำประโยชน์ในที่ดินของนิคมสหกรณ์

1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ : เพื่อดำเนินการเกี่ยวกับการจัดที่ดินให้แก่ราษฎรในเขตจัดนิคมสหกรณ์ ให้คำปรึกษา คำแนะนำ ตอบข้อหารือ และดำเนินการแก้ไขปัญหาข้อพิพาท เป้าหมาย : ให้สมาชิกนิคมสหกรณ์มีเอกสารสิทธิที่ดินทุกราย และมีคุณภาพชีวิตที่ดี พื้นที่ดำเนินงาน : ในเขตนิคมสหกรณ์กบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี 2. ผลการดำเนินงาน : 1. เรื่องการดำเนินงานการจัดที่ดิน การออกเอกสารสิทธิที่ดิน การกระจายกรรมสิทธิ์ การใช้ที่ดินให้เกิด ประโยชน์สูงสุด ตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ พ.ศ. 2511 และระเบียบกรมส่งเสริม สหกรณ์ ว่าด้วยการบริหารจัดการนิคมสหกรณ์ พ.ศ. 2561 รวมถึงบทบาทหน้าที่และสิทธิพึงได้ของสมาชิก เพื่อ ยกระดับคุณภาพชีวิต ลดค่าใช้จ่ายและเพิ่มรายได้ 2. ตรวจสอบข้อมูลของสมาชิกที่ได้รับหนังสืออนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินของนิคมสหกรณ์ (กสน.3) และหนังสือแสดงการทำประโยชน์ (กสน.5) 3. ปัจจุบันนิคมสหกรณ์กบินทร์บุรี มีสมาชิกนิคม ฯ ทั้งหมด 7,029 คน พื้นที่สามารถจัดสรรได้ประมาณ 90,000 ไร่ ดำเนินการออกเอกสารสิทธิ์หนังสืออนุญาตเข้าทำประโยชน์ในที่ดินนิคมสหกรณ์ (กสน.3) ประมาณ 86,718 ไร่ และเอกสารสิทธิ์หนังสือแสดงการทำประโยชน์ในที่ดินนิคมสหกรณ์ (กสน.5) ประมาณ 76,138 ไร่ 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ พื้นที่ดำเนินงานนิคมสหกรณ์กบินทร์บุรี ทั้งหมด 90,000 ไร่ 1. ออกหนังสืออนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินของนิคมสหกรณ์ (กสน.3) แล้วประมาณ 86,718 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 96.35 2. ออกหนังสือแสดงการทำประโยชน์ (กสน.5) แล้วประมาณ 76,138 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 84.60 3. เหลือพื้นที่ยังไม่ได้รังวัด – วงรอบรายแปลง ประมาณ 4,000 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 4.44 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สมาชิกได้รับหนังสืออนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในที่ดินนิคมสหกรณ์ (กสน.3) และหนังสือแสดงการทำ ประโยชน์ในที่ดินนิคมสหกรณ์ (กสน.5) ได้อย่างถูกต้องครบถ้วน และสามารถดำเนินการ ขอออกโฉนดที่ดินตาม มาตรา 40 แห่งพระราชบัญญัติจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ พ.ศ.2511 ได้ 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหาอุปสรรค : - สมาชิกบางรายไม่สามารถติดต่อได้ บางรายเปลี่ยนแปลงชื่อ-สกุล เบอร์โทรศัพท์ - บางพื้นที่เกิดการทับซ้อนของเอกสารสิทธิ์ เนื่องจากสมาชิกบางรายมีเอกสารสิทธิ์ ครอบครองที่ดินเดิมแล้ว แต่ได้มายื่นขอออกเอกสารสิทธิ์การใช้ประโยชน์ในที่ดินจัดสรรของนิคมสหกรณ์ซ้ำซ้อน ครอบครองที่ดินเดิม แนวทางแก้ไข : ประชาสัมพันธ์ เพื่อแจ้งให้สมาชิกเข้ามาดำเนินการตามขั้นตอนให้ ถูกต้อง โดยการติด ประกาศบริเวณสถานที่ราชการในพื้นที่ และประสานงานขอความร่วมมือให้ผู้น ำของแต่ละหมู่บ้านที่อยู่ในเขตจัดนิคม สหกรณ์กบินทร์บุรี

หน้า 39 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

5. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ

หน้า 40 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

◼ โครงการประชุมคณะกรรมการคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นระดับจังหวัด ประจำปี

งบประมาณ พ.ศ. 2565 1. วัตถุประสงค์ 1.1 พิจารณาคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีผลงานดีเด่นในพื้นที่รับผิดชอบ 1.2 รายงานผลการคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีผลงานดีเด่น ถึงกรมส่งเสริมสหกรณ์ภายในเวลาที่ กำหนด 2. ผลการดำเนินงาน จัดประชุมคณะกรรมการระดับจังหวัดเพื่อพิจารณาคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ ในวันที่ 13 กันยายน 2565 ณ ห้องประชุมสำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี มีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่งผลการดำเนินงาน เข้ารับการคัดเลือก จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ 1. สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขปราจีนบุรี จำกัด ได้คะแนนรวม 903.17 จากคะแนนทั้งหมด 1,000 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 90.32 คณะกรรมการร่วมกันพิจารณาคัดเลือกให้เป็นสหกรณ์ที่มีผลงานดีเด่นระดับจังหวัด ใน ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์ และเห็นควรส่งผลการคัดเลือกของสหกรณ์ฯ เข้ารับการคัดเลือกในระดับภาคต่อไป 2. สหกรณ์ออมทรัพย์สหภาพแรงงานฮิตาชิแห่งประเทศไทย จำกัด ได้คะแนนรวม 786.67 จากคะแนนทั้งหมด 1,000 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 78.67 คณะกรรมการร่วมกันพิจารณาแล้วว่าสหกรณ์ฯ มีผลคะแนนต่ำกว่าเกณฑ์ที่ กรมส่งเสริมกำหนด จึงไม่สามารถส่งเข้ารับการคัดเลือกระดับภาคได้ สรุปที่ประชุมเป็นเอกฉันท์ให้ส่งผลงานสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขปราจีนบุรี จำกัด เข้าร่วมประกวดสหกรณ์ ดีเด่น ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์ ระดับภาคต่อไป 3. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ มีสหกรณ์ส่งผลการดำเนินงานเข้ารับการคัดเลือกตามโครงการฯ จำนวน ๒ สหกรณ์ ผ่าน การคัดเลือก จำนวน ๑ สหกรณ์ ไม่ผ่านคุณสมบัติ จำนวน ๑ สหกรณ์ ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขปราจีนบุรี จำกัด สามารถส่งผลงานเข้าร่วมประกวด สหกรณ์ดีเด่นระดับภาค ประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์ ต่อไป

หน้า 41 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

ชื่องานการกำกับดูแล การแก้ไขข้อบกพร่องสหกรณ์และงานตรวจการ กิจกรรมการจัดประชุมซักซ้อมตรวจการ



1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : เพื่อซักซ้อมความเข้าใจแนวทางการตรวจการสหกรณ์ เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์สูงสุด ในเรื่องการนำผลการวิ เคราะความเสี่ยง วิเคราะห์สภานภาพสหกรณ์รายงานของผู้สอบบัญชี ข้อมูลการวิเคราะห์สหกรณ์จากนักการเงิน ประจำจังหวัดมาพิจารณากำหนดแนวทางการตรวจการสหกรณ์ร่วมกัน รวมถึงระยะเวลาการที่เข้าตรวจการแต่ละแห่ง โดยไม่เป็นการรบกวนสหกรณ์มากเกินความจำเป็น และประเด็นสำคัญที่ต้องเน้นตรวจย้ำเป็นพิเศษ เป้าหมาย ผู้ตรวจการสหกรณ์ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ และเจ้าหน้าที่จากกลุ่มตรวจการสหกรณ์ 2. ผลการดำเนินงาน : 1. ผู้ตรวจการสหกรณ์มีความรู้ความเข้าใจในระบบการตรวจการสหกรณ์ 2. ผู้ตรวจการสหกรณ์มีความรู้ความเข้าใจในแนวทางการตรวจการสหกรณ์ (ตามคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ ที่ 8/2559 สั่ง ณ วันที่ 28 มีนาคม 2559) 3. ผลลัพธ์ : (ระบุทั้งผลลัพธ์เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ) ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ในปีงบประมาณ 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี ได้จัดประชุมซักซ้อมตรวจการสหกรณ์ จำนวน 2 ครั้ง 1. ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2564 - ผู้ตรวจการสหกรณ์เข้าร่วมการอบรม จำนวน 20 คน - ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 6 คน 2. ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2565 - ผู้ตรวจการสหกรณ์เข้าร่วมการอบรม จำนวน 17 คน - ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 7 คน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ - ผู้ตรวจการสหกรณ์มีความรู้ความเข้าใจแนวทางการตรวจการสหกรณ์ (ตามคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ ที่ 8/2559 สั่ง ณ วันที่ 28 มีนาคม 2559) - ผู้ตรวจการสหกรณ์มีความรู้ความเข้าใจแนวทางการกำกับและตรวจสอบสหกรณ์ การตรวจสอบธุรกิจรับ ฝากเงินฝากสมาชิกสหกรณ์ 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข 5. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ

หน้า 42 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

การประชุมซักซ้อมการตรวจการ ครั้งที่ 1 วันอังคารที่ 23 พฤศจิกายน 2564 ณ ห้องประชุมสำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

การประชุมซักซ้อมการตรวจการ ครั้งที่ 2 วันจันทร์ที่ 23 พฤษภาคม 2565 ณ ห้องประชุมสำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

หน้า 43 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5 ◼

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

การตรวจการสหกรณ์โดยทีมตรวจสอบสหกรณ์

1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : - เพิ่มประสิทธิภาพของการตรวจการสูงสุด และให้สหกรณ์ได้ทราบถึงความเสียหายของสหกรณ์ อันนำไป สู ่ ข ้ อ บกพร่ อ งของสหกรณ์ ข้ อ ร้ อ งเรี ย น และเน้ น ย้ ำ ให้ ส หกรณ์ ป ฏิ บั ติ ใ ห้ เ ป็ น ไปตามกฎหมายสหกรณ์ ร วมถึง วัตถุประสงค์และอำนาจกระทำการของสหกรณ์ด้วย - คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ประจำจังหวัดร่วมกันจัดทำแผนปฏิบัติการตรวจสอบสหกรณ์ เป้าหมายตามที่นาย ทะเบียนสหกรณ์กำหนด โดยตรวจสอบทุกประเด็นตามรายการที่กำหนดในแนวทางการตรวจการสหกรณ์ (ตามคำสั่ง นายทะเบียนสหกรณ์ ที่ 8/2559 สั่ง ณ วันที่ 28 มีนาคม 2559) ใช้ระยะเวลาในการตรวจสอบเฉลี่ยสหกรณ์ละ 3 วัน - สรุป ข้อเท็จ จริ ง และรายงานผลการตรวจสอบสหกรณ์ (ตามแบบท้ ายคำสั่ งนายทะเบีย นสหกรณ์ ที่ 8/2559 สั่ง ณ วันที่ 28 มีนาคม 2559) ต่อนายทะเบียนสหกรณ์ ผ่านกลุ่มตรวจการสหกรณ์ เพื่อวิเคราะห์รายงาน การตรวจสอบสหกรณ์ก่อนนำเสนอนายทะเบียนสหกรณ์พิจารณา - เป้าหมายเข้าตรวจการสหกรณ์โดยทีมระดับจังหวัด ร้อยละ 25 ของสหกรณ์ทั้งหมด - เป้าหมายเข้าตรวจการสหกรณ์โดยทีมระดับจังหวัดตามบัญชาอธิบดี สหกรณ์ที่มีสินทรัพย์ 10 ล้านบาทขึ้น ไปทุกแห่ง 2. ผลการดำเนินงาน : คณะผู้ตรวจการสหกรณ์เข้าตรวจสอบและเน้นย้ำให้สหกรณ์ปฏิบั ติให้เป็นไปตามกฎหมายสหกรณ์รวมถึง วัตถุประสงค์และอำนาจกระทำการของสหกรณ์ โดยตรวจสอบทุกประเด็นตามรายการที่กำหนดในแนวทางการตรวจ การสหกรณ์ สรุปข้อเท็จจริงและรายงานผลการตรวจสอบสหกรณ์ต่อนายทะเบียนสหกรณ์ ผ่านกลุ่มตรวจการสหกรณ์ เพื่อวิเคราะห์รายงานการตรวจสอบสหกรณ์ก่อนนำเสนอนายทะเบียนสหกรณ์พิจารณา (ตามคำสั่งนายทะเบียน สหกรณ์ ที่ 8/2559 สั่ง ณ วันที่ 28 มีนาคม 2559) ใช้ระยะเวลาในการตรวจสอบเฉลี่ยสหกรณ์ละ 3 วัน 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ - เข้าตรวจการตรวจการสหกรณ์โดยทีมตรวจสอบระดับจังหวัด โดยตรวจสอบจำนวนร้อยละ 25 ของสหกรณ์ทั้ง สหกรณ์ทั้งหมด (โดยให้ตรวจสอบสอ. และ สค.ที่มีทุนดำเนินงานเรียงลำดับจากมากไปน้อยก่อน ถ้าไม่ครบเป้าหมาย ร้อย ละ 25 จึงตรวจสอบประเภทอื่นตามลำดับ) จำนวนทั้งสิ้น 13 แห่ง - เข้าตรวจการตรวจการสหกรณ์โดยทีมตรวจสอบระดับจังหวัด สหกรณ์ที่มีสินทรัพย์ 10 ล้านบาทขึ้นไปทุกแห่ง จำนวน 33 แห่ง ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ - สหกรณ์ได้ทราบถึงปัญหาที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายของสหกรณ์ อันนำไปสู่ข้อบกพร่องของสหกรณ์ ข้อ ร้องเรียน และแนวทางการแก้ไขปัญหา เพื่อป้องกั นการทุจริต รวมถึงเน้นย้ำให้สหกรณ์ปฏิบั ติให้เป็นไปตามกฎหมาย สหกรณ์รวมถึงวัตถุประสงค์และอำนาจกระทำการของสหกรณ์ 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข -

หน้า 44 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

5. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ

เข้าตรวจการโดยทีมตรวจการระดับจังหวัด

หน้า 45 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5 ◼

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

การตรวจการตามคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์

1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : 1. เพื่อยับยั้งความเสียของของสหกรณ์ซึ่งอาจทำให้สหกรณ์มีความเสี่ยงจะเกิดการทุจริต ความเสี่ยงอาจจะ เกิดข้อบกพร่อง หรือสหกรณ์ตามประเด็นข้อร้องเรียน ข้อสังเกตที่ตรวจพบจากผู้สอบบัญชี หรืออาจสร้างความเข้าใจ ต่อสมาชิกสหกรณ์ 2. เป้าหมายที่จะตรวจการสหกรณ์ตามคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ ร้อยละ 15 ของสหกรณ์ทั้งหมด 2. ผลการดำเนินงาน : (สรุปกิจกรรมที่ดำเนินงานและระบุผลสำเร็จจากการดำเนินงานโครงการ) - ผู้ตรวจการสหกรณ์/คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ เข้าตรวจสอบสหกรณ์เป้าหมายตามที่นายทะเบียนสหกรณ์ กำหนด และสรุปข้อเท็จจริงและรายงานผลการตรวจสอบสหกรณ์ (ตามแบบท้ายคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ ที่ 8/2559 สั่ง ณ วันที่ 28 มีนาคม 2559) ต่อนายทะเบียนสหกรณ์ผ่านกลุ่มตรวจการสหกรณ์ เพื่อวิเคราะห์รายงาน การตรวจสอบสหกรณ์ก่อนนำเสนอนายทะเบียนสหกรณ์พิจารณา 3. ผลลัพธ์ : (ระบุทั้งผลลัพธ์เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ) ผลลัพธ์เชิงปริมาณ - ตรวจการสหกรณ์ตามคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ ร้อยละ 15 ของสหกรณ์ทั้งหมด จำนวน 8 สหกรณ์ ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ - สหกรณ์ได้ทราบถึงปัญหาที่อาจเกิดความเสียหายของสหกรณ์ รวมถึง ยับยั้งความเสียของของสหกรณ์ซึ่ง อาจทำให้สหกรณ์มีความเสี่ยงจะเกิดการทุจริต ความเสี่ยงอาจจะเกิดข้อบกพร่อง ข้อร้องเรียน รวมถึงข้อสังเกตที่ อาจตรวจพบจากการสอบบัญชีจากผู้สอบบัญชีสหกรณ์ 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข 5. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ

เข้าตรวจการตามคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์

หน้า 46 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5 ◼

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

ชื่องาน ตรวจการสหกรณ์ตามบัญชาอธิบดี

1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : - อธิบดีมีบัญชาให้สำนักงานสหกรณ์จังหวัดทุกจังหวัดและสำนักงานส่งเสริมสหกรณ์กรุงเทพมหานคร พื้นที่ 1 2 ดำเนินการตรวจสอบสหกรณ์ที่มีความเสี่ยงจะเกิดการทุจริตข้อบกพร่องร้ายแรง โดยดำเนินการระหว่างวันที่ 1 กันยายน - 31 ธันวาคม 2564 โดยมอบหมายให้ผู้ตรวจการสหกรณ์เข้าตรวจสอบสหกรณ์ทุกแห่งที่อยู่ในความรับผิดชอบ - กรณีสหกรณ์ที่มีการใช้แอปพลิเคชั่น ให้สมาชิกตรวจสอบยอดเงินฝากของตนเองได้ สหกรณ์กลุ่มนี้มีระบบ การตรวจสอบที่น่าเชื่อถือได้ในระดับหนึ่ง การสุ่มสอบทานเงินฝากจึงไม่จำเป็นต้องสอบทานซ้ ำอีกโดยผู้ตรวจการ สหกรณ์ - กรณีสหกรณ์ที่ไม่มีแอปพลิเคชั่น ให้สุ่มสอบทานเงินฝาก และให้ตรวจสอบเกี่ยวกับบัญชีเงินฝาก ของสมาชิก รายใหญ่ 100 รายแรก ซึ่งอาจมีแบบสอบถามยอดเงินฝากคงเหลือถึงสมาชิก และให้สมาชิกยืนยันมาเป็นต้น ทั้งนี้จะสอบ ทานกี่รายนั้น ให้ผู้ตรวจการพิจารณาตามความเหมาะสม อาจจะไม่ถึง 100 รายก็ได้ และในกรณีเจ้าหนี้เงินฝากรายใหญ่ 100 รายแรก ถ้าพิจารณาแล้วเห็นว่าไม่มีความผิดปกติว่ายอดเงินฝาก ของสมาชิกจะถูกทุจริตไปก็ไม่จำเป็นต้องส่งแบบ สอบทานเงินฝากให้แก่สมาชิก หากพบสหกรณ์ที่มีความเสี่ยง จะเกิดการทุจริตหรือข้อบกพร่องร้ายแรง ให้รายงานข้อเท็จจริง พร้อมเอกสาร ประกอบในเบื้องต้น เสนอสหกรณ์จังหวัด ผ่านกลุ่มตรวจการสหกรณ์เพื่อพิจารณาสั่งการ - เป้าหมายเข้าตรวจการสหกรณ์โดยทีมระดับจังหวัด สหกรณ์ที่มีสินทรัพย์ ตั้งแต่ 10 ล้านบาทขึ้นไปทุกแห่ง จำนวนทั้งสิ้น 39 สหกรณ์ 2. ผลการดำเนินงาน : - คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ประจำจังหวัดร่วมกันจัดทำแผนปฏิบัติการ และเครื่องมือในการสอบทานยืนยัน ยอด ทุนเรือนหุ้น ลูกหนี้เงินกู้ และเงินรับฝาก สหกรณ์เป้าหมายตามที่นายทะเบียนสหกรณ์กำหนด - คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ประจำจังหวัดเข้าตรวจสอบสหกรณ์ตามแผนที่กำหนด - คณะผู้ตรวจการสหกรณ์เข้าตรวจสอบการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับเงินฝากทุกขั้นตอน และสอบทานยืนยันยอด ทุนเรือนหุ้น ลูกหนี้เงินกู้ และเงินรับฝาก ตามแบบที่คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ประจำจังหวัดกำหนด ทั้งสอบถามตัวต่อตัว และตามแบบสอบทานยืนยันยอดตามที่คณะผู้ตรวจการสหกรณ์กำหนด โดยการตรวจสอบถือปฏิบั ติตามหนังสือกรม ส่งเสริมสหกรณ์ ที่ กษ 1115/9167 ลงวันที่ 3 กันยายน 2562 เรื่อง ซักซ้อมการตรวจสอบธุรกิจเงินรับฝากจาก สมาชิกสหกรณ์ - สรุป ข้อเท็จ จริง และรายงานผลการตรวจสอบสหกรณ์ (ตามแบบท้า ยคำสั่ งนายทะเบี ยนสหกรณ์ ที่ 8/2559 สั่ง ณ วันที่ 28 มีนาคม 2559) ต่อนายทะเบียนสหกรณ์ ผ่านกลุ่มตรวจการสหกรณ์ เพื่อวิเคราะห์ รายงานการตรวจสอบสหกรณ์ก่อนนำเสนอนายทะเบียนสหกรณ์พิจารณา 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ - เข้าตรวจการตรวจการสหกรณ์โดยทีมตรวจสอบระดับจังหวัด สหกรณ์ที่มีสินทรัพย์ ตั้งแต่ 10 ล้านบาทขึ้น ไปทุกแห่ง จำนวน 32 แห่ง - สหกรณ์ที่มีการใช้แอปพลิเคชั่น จำนวน 6 สหกรณ์ - มี 1 สหกรณ์ไม่สามารถเข้าตรวจได้ เนื่องจากผู้บริหารบริษัทที่สหกรณ์ตั้งอยู่ไม่อนุญาติให้เข้าตรวจเนื่องจาก สถานการโควิด หน้า 47 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ - สหกรณ์ได้ทราบถึงปัญหาที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายของสหกรณ์ อันนำไปสู่ข้อบกพร่องของสหกรณ์ ข้อ ร้องเรียน และแนวทางการแก้ไขปัญหา เพื่อป้องกันการทุจริต รวมถึงเน้นย้ำให้สหกรณ์ปฏิบั ติให้เป็นไปตามกฎหมาย สหกรณ์รวมถึงวัตถุประสงค์และอำนาจกระทำการของสหกรณ์ - สมาชิกทราบถึงความมีอยู่จริงและความถูกต้องระหว่างยอดเงินฝากของสมาชิกตามสมุดคู่บัญชีกับข้อมูล ทางบัญชี ทุนเรือนหุ้น หนี้เงินกู้คงเหลือ 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข - สมาชิกบางรายไม่ได้ปรับสมุดบัญชีเงินฝากให้เป็นปัจจุบัน จึงทำให้อาจเข้าใจคลาดเคลื่อน 5. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ

หน้า 48 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5 ◼

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

การติดตามความก้าวหน้าการแก้ไขข้อบกพร่อง

1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : - เพื่อติดตามประเมินผลความก้าวหน้าการแก้ไขข้อบกพร่องเดิม สะถานะดำเนินการของสหกรณ์ ปัญหาใน การแก้ไขข้อบกกพร่องของสหกรณ์ซึ่งอาจมีปัญหา/อุปสรรค ทั้งภายในและภายนอก ทำให้ไม่มีความก้าวหน้าในการ แก้ไขข้อบกพร่อง - เป้าหมาย สหกรณ์ที่มีข้อบกพร่องในจังหวัดปราจีนบุรี 2. ผลการดำเนินงาน : - สหกรณ์ที่มีข้อบกพร่อง มีการติดตามในการประชุมคระกรรมการทุกเดือน และรายงานผลการติดตามการ แก้ไขข้อบกพร่องให้ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดทราบทุกเดือน 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ - สหกรณ์รายงานผลการติดตามการแก้ไขข้อบกพร่องให้สำนักงานสหกรณ์จังหวัดทราบทุกเดือน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ - สหกรณ์มีการติดตามการแก้ไขข้อบกพร่อง ผ่านการประชุมคณะกรรมการทุกเดือน 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข 5. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ

ติดตามความก้าวหน้าการแก้ไขข้อบกพร่อง

หน้า 49 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

◼การชำระบัญชีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

1. การดำเนินการชำระบัญชีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร : ขั้นตอนการดำเนินงานชำระบัญชีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร การดำเนินการหลังจากเลิกสหกรณ์หรือกลุ่มเกษตรกร 1. การดำเนินการก่อนการปฏิบัติงานชำระบัญชี 1.1 เมื่อผู้ชำระบัญชีได้ร ับ การแต่งตั้งและจดทะเบียนเป็นผู้ชำระบัญชีจากนายทะเบียนสหกรณ์แล้ว ดำเนินการจัดทำหนังสือแจ้งสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เพื่อติดต่อรับมอบทรัพย์สินพร้อมสมุดบัญชีและเอกสาร (มาตรา ๗๘) และคำแนะนำนายทะเบียนสหกรณ์ ภายใน ๓๐ วัน นับแต่นายทะเบียนจดทะเบียนผู้ชำระบัญชี และ ดำเนินการออกประกาศ โฆษณาหนังสือพิมพ์หรือประกาศโฆษณาทางอื่นว่าสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร เพื่อให้เจ้าหนี้ ทราบว่าสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้เลิกกิจการ และแจ้งเป็นหนังสือให้เจ้าหนี้ทุกคนที่มีชื่อในบัญชี ยื่นคำทวงหนี้แก่ผู้ ชำระบัญชี (มาตรา ๗๙) ภายใน ๓๐ วัน นับแต่นายทะเบียนสหกรณ์จดทะเบียนผู้ชำระบัญชี 1.2 เมื่อได้รับมอบเอกสารและหลักฐานต่าง ๆ จากสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรแล้ว ผู้ชำระบัญชีดำเนินการ จัดทำงบการเงิน ณ วันที่เลิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร (มาตรา ๘๐) โดยใช้ข้อมูลจากงบการเงินที่ผู้สอบบัญชีให้ความ เป็นปีล่าสุด เป็นข้อมูลในการจัดทำในการจัดทำงบการเงิน 1.3 เมื่อผู้ชำระบัญชีได้จัดทำงบการเงินตามมาตรา ๘๐ เสร็จแล้ว นำเสนองบการเงินนั้นต่อผู้สอบบัญชี ณ สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ เพื่อตรวจสอบและให้การรับรองงบการเงินของผู้ชำระบัญชี ๑.๔ เมื่องบการเงินตามมาตรา ๘๐ ได้รับรองความถูกต้องจากผู้สอบบัญชี สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์แล้ว ผู้ชำระบัญชีต้องเรียกประชุมใหญ่เพื่อนำเสนองบการเงินดังกล่าว เพื่อให้ที่ประชุมใหญ่พิจารณาอนุมัติ หากไม่สามารถ เรียกประชุมใหญ่เพื่อพิจารณาอนุมัติงบการเงินได้ ให้เสนองบการเงินต่อนายทะเบียนสหกรณ์ เป็นผู้พิจารณาอนุมัติงบ การเงินดังกล่าวแทน 2. การดำเนินการระหว่างชำระบัญชี 2.1 การจัดการเกี่ยวกับทรัพย์สิน (มาตรา ๘๑) 2.1.1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร ผู้ชำระบัญชีดำเนินการถอนเงินและปิดบัญชีเงินฝากทุกธนาคารที่มี เงินฝากคงเหลือ 2.1.2 การดำเนินการกับลูกหนี้ต่าง ๆ ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ผู้ชำระบัญชีต้องดำเนินการ ติดตามหนี้จากลูกหนี้ทุกราย โดยประกาศไว้ ณ สถานที่ต่าง ๆ หรือส่งหนังสือแจ้งการชำระหนี้ เพื่อให้ลูกหนี้ได้ทราบ หรือดำเนินการตามกระบวนการทางกฎหมาย 2.1.3 การดำเนินการตัดจำหน่ายสินค้าคงเหลือ ต้องกระทำการอย่างเปิดเผย ตามความเหมาะสมกับ สภาพสินค้า 2.1.4 การดำเนินการจำหน่ายสินทรัพย์ถาวร ราคาต้องตามราคาที่เหมาะสม หากเป็นที่ดิน อาคาร ก็ ดำเนินการตามราคาประเมินจากทางราชการ โดยปิดประกาศเพื่อทราบและจัดจำหน่ายอย่างเปิดเผยเช่นกัน 2.1.5 การจ่ายค่าใช้จ่ายในการดำเนินการชำระบัญชี เช่น จ่ายค่าพาหนะให้กรรมการสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกร กรณีที่มีกรรมการเข้ามาดำเนินการเกี่ยวกับการถอนเงินและปิดบัญชีเงินฝาก หรือช่วยเหลือติดตาม ลูกหนี้และเบิกเป็นค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ตามที่ผู้ชำระบัญชีเห็นสมควร 2.2 การจัดการเกี่ยวกับหนี้สิน (มาตรา ๘๓) 2.2.1 ให้ผู้ชำระบัญชีจัดการค่าธรรมเนียม ค่าภาระติดพัน และค่าใช้จ่ายที่ต้อ งเสียตามสมควรในการ ชำระบัญชี โดยต้องจัดการชำระก่อนหนี้รายอื่น

หน้า 50 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

2.3 เจ้าหนี้ 2.3.1 จัดทำหนังสือแจ้งไปยังเจ้าหนี้ให้ยื่นคำทวงหนี้ 2.3.2 ตรวจสอบเอกสารการทวงหนี้ 2.3.3 ดำเนินการชำระหนี้แก่เจ้าหนี้ต่าง ๆ ตามลำดับข้อผูกพัน 2.3.4 ถ้าผู้ชำระบัญชีขายทรัพย์สินครบถ้วนแล้ว แต่จำนวนเงินไม่พอชำระหนี้ให้ขอประนีประนอมกับ เจ้าหนี้ หากมีเงินไม่เพียงพอแก่การชำระหนี้อยู่อีก ให้ร้องขอต่อศาลเพื่อสั่งให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ล้มละลาย 2.3.5 กรณีติดต่อเจ้าหนี้ไม่ได้หรือเจ้าหนี้ไม่ยอมทวงถามหนี้ ผู้ชำระบัญชีต้องวางเงินสำหรับจำนวน หนี้นั้นไว้ต่อนายทะเบียนสหกรณ์เพื่อประโยชน์แก่เจ้าหนี้ และผู้ชำระบัญชีต้องทำหนังสือแจ้งไปยังเจ้าหนี้โดยเร็ว (มาตรา ๘๔) 2.4 ค่าบำรุงสันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทยค้างจ่าย ให้ผู้ชำระบัญชีดำเนินการชำระให้แก่สันนิบาติ สหกรณ์แห่งประเทศไทย และหนี้สินอื่น ให้ดำเนินตามข้อ ๒.๒ 2.5 ทุนเรือนหุ้น เมื่อชำระบัญชีเสร็จสิ้นแล้ว หากมีเงินจำนวนเพียงพอกับค่าหุ้นสมาชิกก็ให้นำเงินมาจ่าย คืนค่าหุ้นให้กับสมาชิก (มาตรา ๘๖) แต่ถ้าหากไม่สามารถจ่ายคื นค่าหุ้นได้ครบภายในเวลาที่ชำระบัญชีอยู่ ให้ผู้ชำระ บัญชีวางเงินเท่าจำนวนค่าหุ้นที่ยังไม่จ่ายคืนไว้ต่อนายทะเบียนสหกรณ์ หรือรองนายทะเบียนสหกรณ์ที่นายทะเบียน สหกรณ์มอบหมาย เพื่อจ่ายคืนให้แก่สมาชิกภายหลัง ทั้งนี้ ผู้ชำระบัญชีต้องจัดทำบัญชีทุนเรือนหุ้นในช่วงระยะเวลาที่ ดำเนินการชำระบัญชีเพื่อทราบความเคลื่อนไหวของเงินค่าหุ้น 2.6 การรายงานความเคลื่อนไหวระหว่างชำระบัญชี ตามมาตรา ๘๕ แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม บัญญัติว่า “ให้ผู้ชำระบัญชีเสนอรายงานต่อนายทะเบียนสหกรณ์ทุกระยะหกเดือนว่าได้ จัดการไปอย่างใดบ้างและแสดงให้เห็นความเป็นไปของบัญชีที่ชำระอยู่นั้น รายงานดังกล่าวนี้ให้ทำตามแบบที่นาย ทะเบียนสหกรณ์กำหนด รายงานตาม ข้อ 2.6 ให้สมาชิก ทายาทของสมาชิกผู้ตาย และเจ้าหนี้ทั้งหลายของสหกรณ์ ตรวจดูได้โดยไม่ ต้องเสียค่าธรรมเนียม และถ้าปรากฏข้อบกพร่องในการชำระบัญชี นายทะเบียนสหกรณ์มีอำนาจสั่งให้ผู้ชำระบัญชี แก้ไขข้อบกพร่อง และรายงานต่อนายทะเบียนสหกรณ์ภายในระยะเวลาที่กำหนด” 2.7 การดำเนิ น การเมื ่ อ ทรั พ ย์ ส ิ น ของสหกรณ์ ค งเหลื อ จากการชำระบั ญ ชี ตามมาตรา 86 แห่ ง พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม บั ญญัติไว้ว่า “เมื่อได้ชำระหนี้ของสหกรณ์แล้ว ถ้ามี ทรัพย์สินเหลืออยู่เท่าใดให้ผู้ชำระบัญชีจ่ายตามลำดับ” ดังต่อไปนี้ 2.7.1 จ่ายตามมติที่กฎหมายกำหนด 2.7.2 โอนให้แก่สหกรณ์อื่นหรือสันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทยตามมติของที่ประชุมใหญ่ 2.7.3 ในกรณีประชุมใหญ่ไม่ ได้ การที่จะโอนทรัพย์สินให้สหกรณ์อื่น ต้องขอความเห็นชอบจากนาย ทะเบียนสหกรณ์ภายใน ๓ เดือน นับแต่วันชำระบัญชีเสร็จ 2.8 การร้องขอให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรล้มละลาย ในการปฏิบัติการชำระบัญชีเมื่อผู้ชำระบัญชีได้ ดำเนินการมาถึงขั้นตอนการจัดการทรัพย์สินแล้วเสร็จปรากฏว่า สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรนั้นไม่มีเงินและไม่มี รายการทรัพย์สินใดใดที่จะชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้ได้ ผู้ชำระบัญชีของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรนั้นอาจต้องอาศัย อำนาจตามความในมาตรา 81 (๗) แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ร้องขอต่อศาล ล้มละลายกลาง ตามพระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช 2483 เพื่อให้ศาลล้มละลายกลางมีคำสั่งให้สหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกรดังกล่าวนั้นล้มละลาย 3. การดำเนินการหลังเสร็จสิ้นการชำระบัญชี ตามมาตรา 87 แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ได้บัญญัติไว้ว่า “เมื่อได้ชำระ บัญชีกิจการของสหกรณ์เสร็จแล้ว ให้ผู้ชำระบัญชีทำรายงานการชำระบัญชีพร้อมทั้งรายการย่อของบัญชีที่ชำระนั้น แสดง หน้า 51 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

ว่าได้ดำเนินการชำระบัญชีและจัดการทรัพย์สินของสหกรณ์ไปอย่างใด รวมทั้งค่าใช้จ่ายในการชำระบัญชีและจำนวน ทรัพย์สินที่จ่ายตามมาตรา 86 เสนอต่อผู้ชำระบัญชี เมื่อผู้สอบบัญชีตรวจสอบและรับรองบัญชีที่ชำระนั้นแล้ว ให้ผู้ชำระบัญชีเสนอต่อนายทะเบียนสหกรณ์ภายใน สามสิบวันนับแต่วันที่ผู้สอบบัญชีรับรองบัญชีที่ชำระนั้น เมื่อนายทะเบียนสหกรณ์เห็นชอบแล้วให้ถือว่าเป็นที่สุดแห่งการ ชำระบัญชี และให้นายทะเบียนสหกรณ์ถอนชื่อสหกรณ์ออกจากทะเบียน” โดยมีวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับกรณีดังกล่าว ดังนี้ 3.1 จัดทำรายงานย่อของบัญชีที่ชำระเสร็จสิ้น ประกอบด้วย บัญชีรับ – จ่าย บัญชีเงินฝากธนาคาร บัญชีทุน เรือนหุ้น บัญชีเลิกกิจการ นับตั้งแต่วันที่เริ่มต้นการชำระบัญชีจนถึงวันที่ชำระบัญชีเสร็จสิ้น 3.2 จัดทำรายงานการชำระบัญชี รายงานกระบวนการดำเนินการชำระบัญชีและการจัดการทรัพย์สินของ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเป็นไปอย่างไร รวมทั้งค่าใช้จ่ายในการชำระบัญชีเสนอผู้สอบบัญชีตรวจสอบพร้อมรายการย่อของ บัญชีที่ชำระ 3.3 เมื่อผู้สอบบัญชีตรวจสอบและรับรองบัญชีที่ชำระแล้ว ผู้ชำระบัญชีต้องเสนอรายงานการชำระบัญชีต่อ นายทะเบียนสหกรณ์ ภายใน 30 วัน นับจากวันที่ผู้สอบบัญชีรับรองบัญชีที่ชำระนั้น เมื่อนายทะเบียนสหกรณ์เห็นชอบ ด้วยแล้ว ถือว่าเป็นที่สุดแห่งการชำระบัญชี และให้นายทะเบียนสหกรณ์ถอนชื่อสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกร ออกจาก ทะเบียน 3.4 การส่งมอบเอกสารต่อนายทะเบียนสหกรณ์ ตามมาตรา 88 แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม บัญญัติไว้ว่า “เมื่อนายทะเบียนสหกรณ์ให้ความเห็นชอบในการชำระบัญชีตามมาตรา 87 แล้ว ให้ผู้ ชำระบัญชีมอบบรรดาสมุดบัญชีและเอกสารทั้งหลายของสหกรณ์ที่ได้ชำระบัญชีเสร็จแล้วนั้นแก่นายทะเบียนสหกรณ์ ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่นายทะเบียนสหกรณ์ให้ความเห็นชอบ โดยให้นายทะเบียนสหกรณ์รักษาสมุดบัญชีและ เอกสารเหล่านี้ไว้อีกสองปีนับแต่วันที่ถอนชื่อสหกรณ์นั้นออกจากทะเบียน สมุดบัญชีและเอกสารที่เก็บรักษาไว้ ให้ผู้มีส่วน ได้เสียตรวจดูได้โดยไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียม” กรมส่งเสริมสหกรณ์ได้กำหนดขั้นตอนในการปฏิบ ัติเกี่ยวกับการชำระบัญชี สามารถจำแนกขั้นตอนในการ ปฏิบัติการชำระบัญชี ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้ชำระบัญชีได้ปฏิบัติการชำระบัญชีตามขั้นตอนที่กำหนดไว้ และหน่วยงานใช้ในการ ติดตามผลการปฏิบัติงานของผู้ชำระบัญชีได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยมีขั้นตอนต่าง ๆ จำนวน 10 ขั้นตอน ดังต่อไปนี้ ขั้นตอนที่ 1 ประกาศผู้ชำระบัญชี ขั้นตอนที่ 2 รับมอบทรัพย์สิน และจัดทำงบการเงิน ณ วันที่เลิกสหกรณ์ ขั้นตอนที่ 3 ส่งงบการเงิน ณ วันที่เลิกสหกรณ์ (งบการเงินตามมาตรา 80) ให้ผู้สอบบัญชีพิจารณารับรอง ขั้นตอนที่ 4 ผู้สอบบัญชีรับรองงบการเงิน ณ วันที่เลิกสหกรณ์ ขั้นตอนที่ 5 ผู้ชำระบัญชีประชุมใหญ่เพื่อพิจารณาอนุมัติงบการเงิน ณ วันที่เลิกสหกรณ์ หากไม่สามารถเรียก ประชุมใหญ่ได้ ให้ผู้ชำระบัญชีเสนอขออนุมัติงบการเงินนั้นต่อนายทะเบียนสหกรณ์ ขั้นตอนที่ 6 การจัดการทรัพย์สิน, หนี้สิน ได้แล้วเสร็จ ขั้นตอนที่ 7 ส่งรายงานย่อหรือรายงานการชำระบัญชีให้ผู้สอบบัญชีพิจารณารับรอง (มาตรา 87) ขั้นตอนที่ 8 ผู้สอบบัญชีให้การรับรองรายงานย่อ หรือรายงานการชำระบัญชีของผู้ชำระบัญชี ขั้นตอนที่ 9 ถอนชื่อออกจากทะเบียน ขั้นตอนที่ 10 ส่งมอบบรรดาเอกสาร หลักฐานการชำระบัญชีให้นายทะเบียนสหกรณ์เพื่อจัดเก็บรักษาไว้เป็น ระยะเวลา 2 ปี 2. รายชื่อสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่อยู่ระหว่างการชำระบัญชี ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 : ผลการชำระบัญชีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จำนวน 13 แห่ง ถอนชื่อได้ระหว่างปี จำนวน 3 แห่ง คงเหลือ จำนวน 10 แห่ง หน้า 52 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1. สหกรณ์ผู้เลี้ยงสุกรปราจีนบุรี จำกัด 2. สหกรณ์บ้านมั่นคงประจันตคาม จำกัด 3. สหกรณ์การเกษตรทฤษฎีใหม่(ปราจีนบุรี) จำกัด 4. สหกรณ์สวนป่าเอกชนปราจีนบุรี จำกัด 5. สหกรณ์ชาวไร่มันสำปะหลังจังหวัดปราจีนบุรี จำกัด 6. สหกรณ์บริการชุมชนประจันตคาม จำกัด 7. สหกรณ์การเช่าซื้อที่ดินบ้านสร้าง จำกัด 8. สหกรณ์บริการผลิตภัณฑ์หัตถกรรมประจันตคาม จำกัด 9. กลุ่มเกษตรกรผุ้เลี้ยงสัตว์ย่านรี 10. กลุ่มเกษตรกรชาวสวนยางพาราวังท่าช้าง 11. กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ลาดตะเคียน 12. กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์นาแขม 13. กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงโค – กระบือ ตำบลประจันตคาม

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี ขั้นตอนการชำระ บัญชี ณ วันที่ 1 ต.ค. 2564

ความก้าวหน้า/ ขั้นตอน ณ วันที่ 30 ก.ย. 2565

ขั้นที่ 3 ขั้นที่ 3 ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 6 ขั้นที่ 3 ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 7 ขั้นที่ 6 (คดี) ขั้นที่ 3 ขั้นที่ 3 ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 2

ขั้นที่ 5 ขั้นที่ 3 ขั้นที่ 10 ขั้นที่ 10 ขั้นที่ 3 ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 7 ขั้นที่ 6 (คดี) ขั้นที่ 3 ขั้นที่ 7 ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 10 ขั้นที่ 5

◼ การประชุมคณะทำงานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาการดำเนินงานการดำเนินงานสหกรณ์และ

กลุ่มเกษตรกรทีม่ ีข้อบกพร่อง (จกบ.) 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : - เพื่อพิจารณาข้อบกพร่องและข้อร้องเรียนในการดำเนินงานของสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ในวาม รับผิดชอบของจังหวัด และตรวจสอบตามข้อร้องเรียน เพื่อพิจารณาหาแนวทางในการแก้ไข และติดตามผลการแก้ไข ข้อบกพร่องและข้อร้องเรียนเพื่อให้ได้ข้อยุติ - แผนจัดประชุม คณะทำงานระดับ จังหวั ดแก้ไขปัญหาการดำเนินงานการดำเนินงานสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง (จกบ.) จำนวน 4 ครั้ง 2. ผลการดำเนินงาน : (สรุปกิจกรรมที่ดำเนินงานและระบุผลสำเร็จจากการดำเนินงานโครงการ) - ติดตาม และกำหนดแนวทางในการดำเนินการแก้ไขปัญหาข้อบกพร่องของสหกรณ์ ให้เป็นไปหรือสอดคล้องตามข้อกำหนดกรมส่งเสริมสหกรณ์ 3. ผลลัพธ์ : (ระบุทั้งผลลัพธ์เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ) ผลลัพธ์เชิงปริมาณ - จัดประชุมคณะทำงานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาการดำเนินงานการดำเนินงานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ มีข้อบกพร่อง (จกบ.) จำนวน 4 ครั้ง ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ - เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์มีแนวทางในการติดตามและแก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์ 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข หน้า 53 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

5. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ

ประชุมคณะทำงานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาการดำเนินงานการดำเนินงาน สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง (จกบ.) ◼

โครงการจัดประชุมเชื่อมโยงเครือข่ายและพัฒนาธุรกิจร้านค้าซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ในระดับพื้นที่

1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ : 1.เพื่อส่งเสริมและพัฒนาการดำเนินธุรกิจร้านค้าสหกรณ์ในรูปแบบซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ 2. เพื่อส่งเสริมการเชื่อมโยงธุรกิจระหว่างสหกรณ์และเครือข่ายสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตสินค้า เป้าหมาย : คณะกรรมการดำเนินการ เจ้าหน้าที่สหกรณ์ สมาชิก สหกรณ์การเกษตรเมืองปราจีนบุรี จำกัด ตัวแทนเครือข่ายร้านค้าสมาชิกสหกรณ์ ตัวเครือข่ายร้านค้าสหกรณ์ พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : ณ ห้องประชุมสหกรณ์การเกษตรเมืองปราจีนบุรี จำกัด 2. ผลการดำเนินงาน : 2.1 จัดประชุมเชื่อมโยงเครือข่ายและการพัฒนาธุรกิจร้านค้าซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ จำนวน 1 ครั้ง เพื่อนำ โมเดลธุรกิจสำหรับ ซูเปอร์มาร์เก็ตไปส่งเสริมพัฒนาร้านค้าสหกรณ์ และส่งเสริมการเชื่อมโย งเครือข่าย โดยใช้ งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถใน การแข่งขัน ผลผลิต สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมพัฒนาให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ กิจกรรมหลักส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร จำนวน 3,800 บาท (สามพันแปดร้อยบาทถ้วน) 2.2 ติดตามผลการดำเนินงาน และรายงานผล 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 3.1 ร้านค้าสหกรณ์ในจังหวัดปราจีนบุรี ที่เข้าร่วมโครงการฯ มีการเชื่อมโยงระหว่างสหกรณ์และเครือข่ายสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตสินค้า จำนวน 1 แห่ง 3.2 มูลค่าธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่ายของสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มขึ้น 31.78 % ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการฯ สามารถเชื่อมโยงธุรกิจระหว่างสมาชิกสหกรณ์ เครือข่าย สหกรณ์ระหว่างจังหวัดได้ หน้า 54 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข 5. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ

◼ โครงการ “สหกรณ์ไทย ร่วมใจทำดี เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 90 พรรษา 12 สิงหาคม 2565” 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินโครงการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เนื่องใน โอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 90 พรรษา 12 สิงหาคม 2565 2. เพื่อเสริมสร้างความสามัคคี ความร่วมมือ ร่วมใจในขบวนการสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรในจั งหวัด ปราจีนบุรี เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม ได้แก่ นักเรียนและครูโรงเรียนสหกรณ์นิคมบ้านคลองปลาดุกลาย บุคลากร ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดปราจีนบุรี ข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานราชการของสำนักงานสหกรณ์จังหวัด ปราจีนบุรี พื้นที่ดำเนินโครงการ โรงเรียนสหกรณ์นิคมบ้านคลองปลาดุกลาย ตำบลทุ่งโพธิ์ อำเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี 2. งบประมาณที่ได้รับ - งบดำเนินงาน จำนวน 10,000 บาท เบิกจ่าย 10,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 100 3. ผลการดำเนินงาน สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรีร่วมกับขบวนการสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดปราจีนบุรี จัดเลี้ยง อาหารกลางวัน มอบอุปกรณ์การศึกษา อุปกรณ์กีฬา ทุนการศึกษา แก่เด็กนักเรียนโรงเรียนสหกรณ์นิคมบ้านคลอง ปลาดุกลาย ต.ทุ่งโพธิ์ อ.นาดี จ.ปราจีนบุรี หน้า 55 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ - นักเรียนและครูโรงเรียนสหกรณ์นิคมบ้านคลองปลาดุกลาย บุคลากรของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรใน จังหวัดปราจีนบุรี ข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานราชการของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี เข้าร่วมกิจกรรมทั้งสิ้น 130 คน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ ขบวนการสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดปราจีนบุรีมีความสามัคคี ความร่วมมือ ร่วมใจจัดกิจกรรรม “ 1 จังหวัด 1 ความดี เพื่อแม่” 5. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข 6. ภาพกิจกรรม “1 จังหวัด 1 ความดี เพื่อแม่”

หน้า 56 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า โครงการพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ (นำลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร) ◼

1.วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : - ติดตามและสนับสนุนการดำเนินงาน/โครงการต่อเนื่องของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ของสมาชิกเครือข่ายทั้ง 29 ราย - เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกเครือข่ายมีการจัดทำแผนการผลิตเป็นของตนเองรวมถึงการจัดทำแผนการตลาดเพื่อ จำหน่ายผลิตภัณฑ์และส่งเสริมการเรียนรู้ระหว่างสมาชิกด้วยกันเอง กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 29 คน - สมาชิกในโครงการนำลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพเกษตรกร จำนวน 29 คน ระยะเวลาดำเนินโครงการ/สถานที่ - 1 ตุลาคม พ.ศ. 2564 ถึง 30 กันยายน พ.ศ. 2565 2. ผลการดำเนินงาน : - เพื่อติดตามการดำเนิน โครงการลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร ของสมาชิกใน เครือข่าย จำนวนสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 29 คน - จัดประชุมคณะกรรมการของเครือข่ายลูกเกษตรคืนถิ่นปราจีนบุรี เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องและผลสัมฤทธิ์ อย่างสูงสุดต่อลูกหลานเกษตรกร - กิจกรรมโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ระหว่างวันที่ 20 – 21 เมษายน 2565 ณ ห้องประชุม สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี และ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรปราจีนบุรี ตำบลวังตะเคียน อำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี - ส่งเสริมและแนะนำการจัดทำแผนการผลิตของสมาชิก รวมถึงการวางแผนการหาช่องทางการจำหน่าย ผลิตภัณฑ์ของสมาชิกในเครือข่าย - เพื่อสนับสนุนให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพการเกษตรได้เข้าถึงองค์ ความรู้ด้านการผลิต สามารถสร้างอาชีพการเกษตรอย่างยั่งยืน ให้เกิดความมั่นคงในการประกอบอาชีพการเกษตร 3. ผลลัพธ์ : (ระบุทั้งผลลัพธ์เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ) ผลลัพธ์เชิงปริมาณ - เกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการได้รับองค์ความรู้ ปัจจัยการผลิต มีทักษะด้านการตลาด เพื่อการแข่งขัน ในตลาดได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถประกอบอาชีพทางการเกษตรได้ อย่างยั่งยืน - การขับเคลื่อนโครงการนำลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น - เพิ่มจำนวนเกษตรกรรุ่นใหม่ในภาคเกษตรกรรม บรรเทาปัญหาเกษตรกรสูงอายุ และเสริมสร้าง ความเข้มแข็งของภาคการเกษตรและสถาบันเกษตรกร

หน้า 57 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28

รายการผลิตสินค้าของเกษตรกร ทุเรียน มังคุด เงาะ ลองกอง ข้าวโพดหมุนเวียน เห็ด กระท้อน มะยงชิด มะพร้าวน้ำหอม อ้อยคั้นน้ำ ผักสลัด มะม่วง มะม่วงหิมพานต์ (ขายเม็ดมะม่วงหิมพานต์) ม่อนเบอร์รี่ อินทผาลัม มะนาวแป้นพิจิตร (ขายกิ่งพันธุ์)(ขายผล) มะนาวพันธุ์ทูลเกล้า มะละกอฮอลแลนด์ นาผักบุ้ง (เพิ่งเริ่มปลูก) กล้วยหอมทอง (เพิ่งเริ่มปลูก) เมล่อน มะเขือเทศราชินี พริก (เพิ่งปลูก) ปลูกข่า ทำนาปี (ข้าวนาปี) เลี้ยงเป็ดไข่ (ขายไข่)

เลี้ยงไก่ไข่ ไก่พันธุ์/เลี้ยงไก่เนื้อ เลี้ยงกบใบบ่อซีเมนต์ (จำหน่าย3เดือน/1 29 ครั้ง) 30 เลี้ยงเป็ดเทศ/เลี้ยงเป็ดเนื้อพันธุ์บาบารี่ 31 เลี้ยงปลาเบญพรรณ (เพิ่งเริ่มเลี้ยง)

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

จำนวนสมาชิกที่ ผลิต (ราย)

รวมปริมาณผลผลิต (กิโลกรัม)/ฯลฯ

3 3 3 2 2 1 2 1 1 1 1 1 1 1 1 2 1 2 2 1 1 1 1 1 2 2 1 3

3,830 กก. 900 กก. 2,580 กก. 900 กก. 6,300 กก. 1,000 กก. 850 กก. 40 กก. เดือนละ 300 ลูก 1,200 CC/1 กก. 50 กก. 10 กก. 4,000 กก. 15 กก. 100 กก. 20 กก. 10 กก. 50 ต้น 8 กก. 40 ต้น 198 กก. 500 กก. 400 ต้น 40 กก. 600 กก./ไร่ ปีละ 124 แผง ปีละ 100 แผง 10,180 ตัว

1

500 กก.

2 3

100 ตัว/167 ตัว 6,000 กก.

หน้า 58 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5 32 เลี้ยงแพะเนื้อ (ส่งออกเวียดนาม) 33 หมู (5 เดือนจำหน่าย)

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี 1 1

50 ตัว 150 ตัว

ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ - สมาชิกในโครงการนำลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพเกษตรกร จำนวน 29 คน สามารถทำแผนการ ผลิตและมีแผนการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของตนเองได้ - การขับเคลื่อนโครงการนำลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพเกษตรกร ในปี 2564 – 2565 เป็นไปอย่างมีประสิทธิผลมากขึ้น 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข - ไม่ม-ี 5. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ

โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ระหว่างวันที่ 20 – 21 เมษายน 2565 ณ ห้องประชุมสำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรีและ ศูนย์วิจัยและ พัฒนาการเกษตรปราจีนบุรี ตำบลวังตะเคียน อำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี ◼

ชื่องาน/โครงการ โครงการเกษตรผสมผสานในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ปี พ.ศ.2565

1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ : - เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีทางเลือกในการประกอบอาชีพ การเกษตรแบบผสมผสาน สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตร ส่งผลให้สมาชิกมีรายได้เพิ่มขึ้น - เพื่อสนับสนุนให้สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรนำแนวทางการทางเกษตรผสมผสานในลักษณะเกษตร ปลอดภัยมาปรับใช้ในการด าเนินกิจกรรมทางการเกษตรในพื้นที่ของตนเองตามความเหมาะสม มีแนวทางการ ประกอบอาชีพการเกษตรที่หลากหลายและมีประสิทธิภาพ หน้า 59 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

เป้าหมาย : - สมาชิกสหกรณ์นิคมกบินทร์บุรี จำกัด จำนวน 25 ราย พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : - พื้นที่ได้รับการส่งเสริมเกษตรผสมผสาน จำนวน 125 ไร่ 2. ผลการดำเนินงาน : 1. ประสานงานร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.)/โรงเรียนสวนพฤกษศาสตร์/โรงเรียนในพื้นที่นิคม สหกรณ์ เพื่อสำรวจและจดบันทึกลักษณะตามพันธุกรรมของพืชท้องถิ่นตามรูปแบบของโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ฯ ในพื้นที่ จำนวน 3 แห่ง และรายงานให้กองประสานงาน โครงการพระราชดำริ เพื่อจัดทำฐานข้อมูลพันธุกรรมพืช 2. นิคมสหกรณ์กบินทร์บุรี ดำเนินการจัดทำแปลงสาธิตพันธุกรรมพืช ปลูกพันธุกรรมพืชท้องถิ่นที่หาได้ยาก ในพื้นที่ และจัดภูมิทัศน์แปลงสาธิตและพื้นที่โดยรอบ เพื่อให้อยู่ในสภาพที่เหมาะสม มีความสะดวกในการศึกษา เข้า เยี่ยมชมพร้อมเป็นแหล่งศึกษา เรียนรู้แก่สมาชิก นักเรียนและประชาชนทั่วไป 3. แนะนำ ส่งเสริมสหกรณ์นิคมเข้าร่วมดำเนินกิจกรรมอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยดำเนินกิจกรรมให้สอดคล้องกับแนวทางโครงการ 3. ผลลัพธ์ : (ระบุทั้งผลลัพธ์เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ) ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. ควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณตามรายจ่ายและกิจกรรมหลักเบิกจ่ายให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์โครงการ ร้อยละ 100 2. สมาชิกสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้นเฉลี่ย ร้อยละ 3 3. สมาชิกที่ผ่านการอบรมมีการปรับเปลี่ยนไปทำเกษตรปลอดภัย 25 ราย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ เกษตรกรทำการผลิตแบบเกษตรผสมผสานลักษณะเกษตรปลอดภัย สามารถประกอบอาชีพ ในถิ่นฐานได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข (ไม่มี)

หน้า 60 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

5. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ



โครงการส่งเสริมการเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อส่งเสริมองค์ความรู้ด้านการสร้างระบบการรับรองมาตรฐาน การสร้างความเชื่อมั่นในการผลิตสินค้าเกษตร ปลอดภัย และเพื่อส่งเสริมการจัดทำฐานข้อมูลด้านการเกษตรปลอดภัยร่วมกับสมาชิกของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 2. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีความรู้ในการผลิตผักและผลไม้ให้มีคุณภาพได้ มาตรฐาน GAP ตามหลักวิธีการที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ และได้มาตรฐานตามที่ต้องการของตลาด เป้าหมาย : สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการเพื่อยกระดับการผลิตผักและผลไม้คุณภาพของสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรสู่มาตรฐาน GAP ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 และสมาชิกสหกรณ์การเกษตรชาวสวนไม้เค็ด จำกัด ที่ได้รับการรับรอง GAP ในปี 2564 จำนวน 5 ราย พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : ณ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรปราจีนบุรี ตำบลวังตะเคียน อำเภอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี 2. ผลการดำเนินงาน : 2.1 จัดทำโครงส่งเสริมการเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณพ.ศ.2565 โดยใช้ งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่าโครงการส่งเสริมเกษตร ปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมหลักส่ งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตร (พัฒนาคุณภาพ หน้า 61 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

สินค้าเกษตรของสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสู่มาตรฐาน GAP) จำนวนเงิน 5,500 บาท (ห้าพันห้าร้อยบาทถ้วน) โดยวิธีการอบรมให้ความรู้ด้านการสร้างระบบรับรองมาตรฐานเพื่อสร้างความเชื่อมั่นในการผลิตสินค้าปลอดภัย ความสำคัญและการต่ออายุ (GAP) คุณภาพและการสร้างมาตรฐาน (GAP) การวางแผนการผลิต การตลาด และการ เชื่อมโยงสินค้าเกษตรปลอดภัย แก่สมาชิกสหกรณ์การเกษตรชาวสวนไม้เค็ด จำกัด ที่ ได้รับการรับรอง (GAP) ในปี 2564 จำนวน 5 ราย และศึกษาดูงานภายในศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรปราจีนบุรี 2.2 ติดตามผลการดำเนินงาน และรายงานผล 3. ผลลัพธ์ : (ระบุทั้งผลลัพธ์เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ) ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1.สมาชิกสหกรณ์ได้รับการส่งเสริมการทำเกษตรปลอดภัย 5 ราย 2.อัตราการขยายตัวของมูลค่าสินค้าเกษตรปลอดภัย ร้อยละ 30.77 3.ปริมาณธุรกิจด้านเกษตรปลอดภัยของสหกรณ์ขยายตัว ร้อยละ 16.67 4.สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้นเฉลี่ย ร้อยละ 3 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. สมาชิกของสหกรณ์ จำนวน 5 ราย ได้รับสนับสนุนความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับความสำคัญ ของใบรับรองมาตรฐาน GAP 2. สมาชิกสหกรณ์มีรายได้เพิ่มขึ้นจากการนำใบรับรองมาตรฐาน GAP ไปใช้ประโยชน์ 3. สมาชิกมีส่วนร่วมในการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์เพิ่มขึ้น 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข 5. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ

หน้า 62 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ประเด็นแผนแม่บท 15 พลังทางสังคม แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม ทธ



ชื่องาน/โครงการ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์พันธุกรรมพืชในท้องถิ่น สนองพระราชดำริฯ 2. เพื่อส่งเสริมเกษตรกรสมาชิกรวมกลุ่มดำเนินกิจกรรมโดยใช้รูปแบบสหกรณ์ในการอนุรักษ์ และใช้ประโยชน์พันธุกรรมพืช การแปรรูป เพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ สร้างอาชีพและรายได้ให้แก่เกษตรกรสมาชิก และ ประชาชนทั่วไป 3. เพื่อสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรพันธุกรรมพืชให้เยาวชน นักเรียน นักศึกษา ตลอดจนประชาชนทั่วไป เป้าหมาย : - เกษตรกรและสมาชิกสหกรณ์ ในพื้นที่นิคมสหกรณ์กบินทร์บุรี พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : - แปลงสาธิตอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ในพื้นที่บริเวณนิคมสหกรณ์กบินทร์บุรี จำนวน 2 แปลง พื้นที่ จำนวน 30-0 ไร่ 2. ผลการดำเนินงาน : (สรุปกิจกรรมที่ดำเนินงานและระบุผลสำเร็จจากการดำเนินงานโครงการ) 1. ประสานงานร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.)/โรงเรียนสวนพฤกษศาสตร์/โรงเรียนในพื้นที่นิคม สหกรณ์ เพื่อสำรวจและจดบันทึกลักษณะตามพันธุกรรมของพืชท้องถิ่นตามรูปแบบของโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ฯ ในพื้นที่ จำนวน 3 แห่ง และรายงานให้กองประสานงาน โครงการพระราชดำริ เพื่อจัดทำฐานข้อมูลพันธุกรรมพืช 2. นิคมสหกรณ์กบินทร์บุรี ดำเนินการจัดทำแปลงสาธิตพันธุกรรมพืช ปลูกพันธุกรรมพืชท้องถิ่นที่หาได้ยาก ในพื้นที่ และจัดภูมิทัศน์แปลงสาธิตและพื้นที่โดยรอบ เพื่อให้อยู่ในสภาพที่เหมาะสม มีความสะดวกในการศึกษา เข้า เยี่ยมชมพร้อมเป็นแหล่งศึกษา เรียนรู้แก่สมาชิก นักเรียนและประชาชนทั่วไป 3. แนะนำ ส่งเสริมสหกรณ์นิคมเข้าร่วมดำเนินกิจกรรมอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยดำเนินกิจกรรมให้สอดคล้องกับแนวทางโครงการ 3. ผลลัพธ์ : (ระบุทั้งผลลัพธ์เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ) ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. ควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณตามรายจ่ายและกิจกรรมหลักเบิกจ่ายให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กรมกำหนด ร้อยละ 100 2. มีแปลงสาธิตพันธุกรรมพืชในพื้นที่นิคมสหกรณ์กบินทร์บุรี จำนวน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. สมาชิกสหกรณ์และเกษตรกรในพื้นที่และประชาชนทั่วไป มีความรู้ความเข้าใจ และมีส่วนร่วมในการ อนุรักษ์พันธุกรรมพืชในท้องถิ่นให้คงอยู่ และรู้จักใช้ประโยชน์จากพันธุกรรมพืชอย่างยั่งยืน หน้า 63 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

2. สมาชิกสหกรณ์และเกษตรกรในพื้นที่และประชาชนทั่วไป มีคววามรู้ความเข้าใจ การใช้ประโยชน์โดยการ แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เป็นการสร้างอาชีพและรายได้ 3. แปลงอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ได้รับการพัฒนาให้อยู่ในสภาพที่สวยงามเหมาะแก่การเป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ และเผยแพร่ประโยชน์ของพืช 4. เกิดการส่งเสริมการอนุรักษ์ การใช้ประโยชน์พันธุกรรมพืช ตลอดจนการเก็บข้อมูลพันธุกรรมพืชและ ทรัพยากรและการใช้ประโยชน์ 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข ปัญหาอุปสรรค 1. งบประมาณในการดูแลแปลงสาธิตไม่เพียงพอในการดูแลรักษาพืชอย่างต่อเนื่อง 2. พืชบางชนิดดูแลรักษายาก ขาดแคลนบุคลากรในการดูแลรักษาตลอดเวลา 3. สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด 19 (COVID-19) ส่งผลต่อการเข้าเยี่ยมชมแปลง อนุรักษ์พันธุกรรมพืช ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ปัญหา 1. ควรมีงบประมาณที่เหมาะสมกับการดูแลรักษาพืชอย่างต่อเนื่อง 2. จัดอบรมหรือให้ความรู้เรื่องพืชสมุนไพรเฉพาะทางแก่เจ้าหน้าที่ดูแลประจำโครงการ 5. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ

หน้า 64 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

◼ โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ

สยามมกุฎราชกุมาร 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ - เพื่อให้ประชาชน ได้รับความรู้ด้านการสหกรณืเพื่อประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ในการพัฒนาให้มีความ เป็นอยู่ที่ดี - เพื่อเสริมสร้างความรู้ ทักษะด้านการสหกรณ์ และสร้างลักษระนิสัยที่สอดคล้องกับอุดมการณ์สหกรณ์ สร้าง จิตสำนึกในการทำงานร่วมกันให้ประชาชน จนสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ - เพื่อให้ประชาชนได้มีอาชีพเสริม เพิ่มรายได้ให้ครอบครัว - เพื่อสนับสนุนให้เกษตรกร มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับสหกรณ์และสามารถนำไปปรับใช้เพื่อประกอบ อาชีพได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน กลุ่มเป้าหมาย - เกษตรกรและประชาชนทั่วไปในเขตพื้นที่จังหวัดปราจีนบุรี พื้นที่ดำเนินงานโครงการ - ดำเนินโครงการ จำนวน 4 ครั้ง ในพื้นที่ 4 อำเภอของจังหวัดปราจีนบุรี ได้แก่ อำเภอนาดี อำเภอบ้านสร้าง อำเภอเมือง และอำเภอศรีมโหสถ 2. งบประมาณที่ได้รับ - งบดำเนินงาน จำนวน 9,100 บาท เบิกจ่าย 9,100 บาท คิดเป็นร้อยละ 100 3. ผลการดำเนินงาน - ประสานงาน ติดต่อ เข้าร่วมประชุม ร่วมกับสำนักงานเกษตรจังหวัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วม ดำเนินกิจกรรมคลินิกสหกรณ์ ภายใต้โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ - ดำเนินการประชาสัมพันธ์การจัดงานโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ และแจ้งให้ผู้นำชุมชนในพื้นที่ ที่จะจัด งานคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ เพื่อช่วยประชาสัมพันธ์งานอย่างทั่วถึงทุกพื้นที่ - ดำเนินการกิจกรรมคลินิกสหกรณ์ ภายใต้โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ ไตรมาสละ 1 ครั้ง การจัด นิทรรศการเพื่อให้ความรู้เรื่องการสหกรณ์ การให้คำปรึกษาเรื่องการสหกรณ์ การตอบปัญหาชิงรางวัล กิจกรรม สหกรณ์สอน/ส่งเสริมอาชีพ กิจกรรมสหกรณ์สร้างวินัยการออม ส่งเสริมการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง - รายงานผลการดำเนินกิจกรรมตามแบบรายงานที่กองประสานงานโครงการพระราชดำริ กำหนด และ รายงานผลการดำเนินงานในระบบข้อมูลโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ ของกรมส่งเสริมการเกษตร 4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ - ประชาชนทั่วไปรู้และเข้าใจในหลักการ อุดมการณ์ และวิธีการสหกรณ์ จำนวน 4 ครั้ง สมาชิกเข้ารับบริการ 135 ราย ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ - ประชาชนผู้เข้าชมนิทรรศการ มีความรู้และเข้าใจในหลักการ อุดมการณ์ วิธีการสหกรณ์ - ประชาชนสนใจและสมัครเป็นสมาชิกสหกรณ์ในพื้นที่ที่ได้รับบริการ หน้า 65 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

5. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข - เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัส COVID – 19 อย่างต่อเนื่อง จึงทำให้ไม่สามารถจัดโครงการได้ อย่างต่อเนื่อง

หน้า 66 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

◼ โครงการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร

โครงการประชุมคณะกรรมการเพื่อคัดเลือกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มีผลงานในการขับเคลื่อน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1. วัตถุประสงค์ 1.1 เพื่อคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ที่นำแนวคิดตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการ บริหารองค์กรได้อย่างโดดเด่น และสามารถเป็นแบบอย่างให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรอื่นนำไปประยุกต์ใช้ในองค์กร ได้ 1.2 เพื่อเป็นการเผยแพร่ สนับสนุน ส่งเสริม กระตุ้นและสร้างแรงจูงใจให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร นำแนวทาง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินงาน ส่งเสริม และสนับสนุนให้สมาชิกของสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร มีการดำเนินชีวิตตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1.3 เพื่อเป็นการรวมความสมัครสมานสามัคคีของคนไทยทุกคน ในการทำกิจกรรมสาธารณประโยชน์ เพื่อพัฒนา พื้นที่ในชุมชนต่าง ๆ ให้มีความเจริญ เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชนอย่างถาวร 2. งบประมาณที่ได้รับ - งบดำเนินงาน จำนวน 1,900 บาท เบิกจ่าย 1,900 บาท ร้อยละ 100 3. ผลการดำเนินงาน จัดประชุมคณะกรรมการระดับ จังหวัดเพื่อ พิจ ารณาคัดเลือกสหกรณ์/ กลุ่มเกษตรกรที่มีผ ลงานในการ ขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ในวันที่ 23 มิถุนายน 2565 ณ ห้องประชุมสำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี จากการประชาสัมพันธ์โครงการมี สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประสงค์เข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรประจันตคาม จำกัด และกลุ่มเกษตรกรทำไร่ หนองโพรง คณะกรรมการร่วมกันพิจารณาคะแนนตามหลักเกณฑ์ที่กรมส่งเสริมสหกรณ์กำหนด 4. ผลลัพธ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ - สหกรณ์การเกษตรประจันตคาม จำกัด ได้คะแนนรวมทั้งสิ้น 336 คะแนน จากคะแนนเต็ม 500 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 67.20 - กลุ่มเกษตรกรทำไร่หนองโพรง ได้คะแนนรวมทั้งสิ้น 417.83 จากคะแนนเต็ม 500 คะแนน คิด เป็นร้อยละ 83.57 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ กลุ่มเกษตรกรทำไร่หนองโพรง มีผลคะแนนผ่านหลักเกณฑ์ตามที่กรมส่งเสริมสหกรณ์กำหนด เข้ารับ การคัดเลือกในระดับเขตและระดับภาคต่อไป 5. ภาพการประชุมคณะกรรมการระดับจังหวัดฯ

หน้า 67 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ทธ



โครงการลดดอกเบีย้ เงินกูใ้ ห้เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกร ปีงบประมาณ พ.ศ.2565

1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ 1. เพื่อลดภาระดอกเบี้ยและลดต้นทุนในการประกอบอาชีพการเกษตรกรแก่สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2. เพื่อให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่ประกอบอาชีพการเกษตรมีโอกาสนำเงินส่วนที่ได้รับการช่วยเหลือ ไปฟื้นฟูประกอบอาชีพ ตลอดจนมีเงินทุนไว้ใช้จ่ายในครัวเรือน เป้าหมาย สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มีหนี้เงินกู้ในวัตถุประสงค์เพื่อการเกษตร ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2561 ต้นเงินกู้ขอรับการ ชดเชยไม่เกิน 300,000 บาทแรก จำนวน 1,931 ราย สหกรณ์ทั้งสิ้น 11 แห่ง พื้นที่ดำเนินงานโครงการ จังหวัดปราจีนบุรี มีสมาชิกที่มีคุณสมบัติเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดทั้งสิ้น 1,931 ราย ซึ่งเป็นสมาชิก สหกรณ์ 11 แห่ง ดังนี้ ผลการเบิกจ่ายจริง ปี 2565 ลำดับ

ชื่อสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร

มูลหนี้ต้นเงิน

สมาชิก

เงินชดเชยดอกเบี้ย

(บาท)

(ราย)

(บาท)

2

สหกรณ์กองทุนสวนยางพารานาดี ปราจีนบุรี จำกัด สหกรณ์การเกษตรกบินทร์บุรี จำกัด

3

สหกรณ์การเกษตรโคกปีบ จำกัด

2,761,701.00

21

9,503.38

4 5 6 7 8

สหกรณ์นิคมกบินทร์บุรี จำกัด 83,980,757.14 สหกรณ์การเกษตรศรีมหาโพธิ จำกัด 17,602,208.37 สหกรณ์การเกษตรนาดี จำกัด 72,096,085.97 สหกรณ์การเกษตรบ้านสร้าง จำกัด 7,461,750.00 สหกรณ์ประมงนิคมบ้านสร้างพัฒนา 14,388,000.00 ปราจีนบุรี จำกัด สหกรณ์การเกษตรชาวสวนไม้เค็ด จำกัด 4,011,008.00 สหกรณ์การเกษตรประจันตคาม จำกัด 120,659,148.00 สหกรณ์การเกษตรเมืองปราจีนบุรี จำกัด 101,049,009.54 รวมทั้งสิ้น 454,380,174.15

423 82 269 47 75

279,021.60 55,764.01 253,174.53 24,926.78 19,604.50

1

9 10 11

611,120.00

25

2,263.22

29,759,386.13

166

96,196.86

32 519 272 1,931

9,566.07 360,820.07 308,198.12 1,419,039.14

หน้า 68 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

2. ผลการดำเนินงาน : สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี ได้ดำเนินการโครงการลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกร ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 โดยได้รับการจัดสรรงบประมาณจากกรมส่งเสริมสหกรณ์ ตามแผนปฏิบัติงาน และงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการสร้างโอกาสและ ความเสมอภาคทางสังคมโครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมหลักช่วยเหลือด้าน หนี้สินสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรองลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้เกษตรกร/กลุ่มเกษตรกร งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไปรายการเงินอุดหนุนเพื่อชดเชยดอกเบี้ยเงินกู้ให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ในจังหวัดปราจีนบุรี จำนวน 11 แห่ง จำนวนสมาชิก 1,933 ราย เป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น 1,419,039.14 บาท (หนึ่งล้านสี่แสนหนึ่งหมื่นเก้าพัน สามสิบเก้าบาทสิบสี่สตางค์) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดภาระดอกเบี้ยและลดต้นทุนในการประกอบอาชีพการเกษตร แก่ ส มาชิ ก สหกรณ์ / กลุ ่ ม เกษตรกร และเพื ่ อ ให้ ส มาชิ ก สหกรณ์ / กลุ ่ ม เกษตรกร ที ่ ประกอบอาชี พการเกษตร มีโอกาสนำเงินส่วนที่ได้รับการช่วยเหลือไปฟื้นฟูประกอบอาชีพ ตลอดจนมีเงินทุนไว้ใช้จ่ายในครัวเรือน ซึ่งผลการเบิกจ่าย งบประมาณให้กับสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการเป็นไปตามแผนที่กำหนด โดยสามารถเบิกจ่ายงบประมาณของโครงการแแล้ว เสร็จก่อนกำหนดระยะเวลา ซึ่งสามารถเบิกจ่ายงบประมาณให้สหกรณ์ ทั้ง 11 แห่ง ได้ตามเกณฑ์ มีเป้าหมายสมาชิก ที่ได้รับเงินชดเชยทั้งสิ้น 1,931 รายเป็นเงินงบประมาณที่เบิกจ่ายทั้งสิ้น 1,419,039.14 บาท 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สมาชิ กสหกรณ์ 11 แห่ ง จำนวน 1,931 ราย ได้ ร ั บเงิ นชดเชยดอกเบี ้ ย ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 ทั้งสิ้น 1,419,039.14 บาท ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สมาชิกได้รับการช่วยเหลือด้านหนี้สินเพื่อ บรรเทาความเดือดร้อน จากการที่ต้องรับภาระด้านต้นทุนในการประกอบ อาชีพเกษตรกรรมที่เพิ่มสูงขึ้น รวมถึงภาระดอกเบี้ยเงินกู้ จากการที่ต้องหาเงินทุนเพื่อนำไปประกอบอาชีพ 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข 5. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ

หน้า 69 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

• ภาพการเบิกจ่ายเงินชดเชยดอกเบี้ย โครงการลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

หน้า 70 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

• ภาพการชี้แจงการเบิกจ่ายเงินชดเชยดอกเบี้ย โครงการลดดอกเบี้ยเงินกู้ให้เกษตรกร สมาชิกสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกร ปีงบประมาณ พ.ศ.2565

• ภาพการติดตามผลการเบิกจ่ายเงินชดเชยดอกเบี้ยของโครงการ

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ประเด็นแผนแม่บท 16 เศรษฐกิจฐานราก WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 71

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

แผนงานบูรณาการ แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก ทธ ◼ ชื่องาน/โครงการ โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินทำกินของเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ : 1. จัดประชุมคณะทำงานส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาด ภายใต้คณะอนุกรรมการส่งเสริมและพัฒนา อาชีพระดับจังหวัด 2. แนะนำ ส่งเสริม บูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงาน และติดตามการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพฯ ภายใต้ โครงการจัดที่ดินทำกินให้ชุมชนในพื้นที่โครงการตามนโยบายรัฐบาล 3. แนะนำ ส่งเสริม สหกรณ์ที่จัดตั้งแล้วให้สหกรณ์รวบรวมผลผลิต แปรรูปในขั้นต้น เพื่อรองรับผลผลิตของ สมาชิกที่จะออกสู่ตลาดในปี 2566 กลุ่มเป้าหมาย 1. จัดประชุมคณะทำงานส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาด ภายใต้คณะอนุกรรมการส่งเสริมและพัฒนา อาชีพระดับจังหวัด จำนวน 4 ครั้ง งบประมาณ 4,900 บาท 2. ผลการดำเนินงาน จัดประชุมคณะทำงานส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาด เพื่อบูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงาน และ ติดตามการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพฯ แต่ละหน่วยงาน ภายใต้โครงการจัดที่ดินทำกินให้ชุมชนในพื้นที่โครงการตาม นโยบายรัฐบาล จำนวน 2 พืน้ ที่ ได้แก่ 1) พื้นที่ราชพัสดุ ที่ ปจ. 259 พืน้ ที่ 68 – 3 – 47 ไร่ สามารถจัดราษฎรลงในพื้นที่เพื่อใช้ประโยชน์ในที่ดิน จำนวน 1 พื้นที่ และมีจำนวนราษฎรที่ได้ใช้ประโยชน์ 41 คน จำนวนแปลง 41 แปลง บ้านโนนฝาว หมู่ 1 ต.วัง ตะเคียน อ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี จัดตั้งสหกรณ์ ชื่อ สหกรณ์บ้านโนนฝาวพัฒนาเกษตรอินทรีย์ (คทช.) จำกัด เมื่อ วันที่ 9 ธันวาคม 2559 สมาชิก 41 ราย 2) แปลงเกาะตาลอก นสล.เลขที่ 3830/2515 ตำบลประจันตคาม อำเภอประจันตคาม พื้นที่ 4 – 2 – 68 ไร่ จำนวนราษฎรที่ได้ใช้ประโยชน์ 19 ราย จำนวน 21 แปลง จัดตั้งสหกรณ์ ชื่อ สหกรณ์บริการชุมชนบ้านเกาะ ตาลอก จำกัด สมาชิก 19 ราย สหกรณ์ไม่ขอรับการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ เนื่องจากไม่มีพื้นที่สำหรับประกอบ อาชีพ 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ : 1. จัดประชุมคณะทำงานส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาด ภายใต้คณะอนุกรรมการส่งเสริมและพัฒนา อาชีพระดับจังหวัด จำนวน 2 ครั้ง งบประมาณใช้ไป 2,450 บาท 2. สหกรณ์ได้รับการส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาดระหว่างหน่วยงาน ภายใต้คณะอนุกรรมการส่งเสริม และพัฒนาอาชีพระดับจังหวัด จำนวน 1 พื้นที่ ได้แก่ สหกรณ์บ้านโนนฝาวพัฒนาเกษตร (คทช.) จำกัด ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ : สมาชิกสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการฯ มีรายได้เพิ่มขึ้น ไม่น่อยกว่าร้อยละ 3 เมื่อเทียบกับปี ก่อน หน้า 72 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

4. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ

โครงการส่งเสริมการพัฒนาระบบตลาดภายในสำหรับสินค้าเกษตรการวางระบบการบริหาร จัดการผลการจัดการผลผลิตการเกษตรระดับจังหวัด ◼

1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการตลาดสินค้าเกษตรของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2. เพื่อเชื่อมโยงเครือข่ายสินค้าคลัสเตอร์ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เป้าหมาย : สหกรณ์และกลุ่มเกษตรเข้าร่วมโครงการฯ 8 แห่ง ได้แก่ 1. สหกรณ์การเกษตรเมืองปราจีนบุรี จำกัด 2. สหกรณ์การเกษตรศรีมหาโพธิ จำกัด 3. สหกรณ์การเกษตรกบินทร์บุรี จำกัด 4. สหกรณ์นิคมกบินทร์บุรี จำกัด 5. สหกรณ์ประมงนิคมบ้านสร้างพัฒนาปราจีนบุรี จำกัด 6. สหกรณ์การเกษตรชาวสวนไม้เค็ด จำกัด 7. สหกรณ์การเกษตรประจันตคาม จำกัด 8. กลุ่มเกษตรกรทำสวนแก่งดินสอ พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : ห้องประชุมสำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี 2. ผลการดำเนินงาน : (สรุปกิจกรรมที่ดำเนินงานและระบุผลสำเร็จจากการดำเนินงานโครงการ) 1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาการบริหารจัดการด้านการตลาดการเชื่อมโยง เครือข่ายคลัสเตอร์ 2. Catalog สินค้า ที่พร้อมนำเสนอผ่านระบบออนไลน์ ใน 4 กลุ่มคลัสเตอร์ผู้ผลิตสินค้า ได้แก่ ข้าว ผลไม้ ประมงและปศุสัตว์ และโคนม/โคเนื้อ 3. ผู้แทนกลุ่มคลัสเตอร์สินค้า เพื่อทำหน้าที่นำเสนอข้อมูลสินค้าในการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเชื่อมโยง เครือข่ายด้านการผลิตและการตลาดสินค้าเกษตรคุณภาพ 4. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรและผู้ที่คาดว่าจะเป็นคู่ค้า ได้แลกเปลี่ยนความต้องการสินค้า นำเสนอศักยภาพและ ความพร้อมในการผลิต รวบรวม และหรือแปรรูป รวมทั้งปรับปรุงขนาดหรือบรรจุภัณฑ์ได้ตามความต้องการของผู้ซื้อ 5. ปริมาณธุรกิจ (รวบรวมและแปรรูป ) ของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเป้าหมาย ปี 2565 เพิ่มขึ้นเทียบกับ ปี 2564 3. ผลลัพธ์ : หน้า 73 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

ผลลัพธ์เชิงปริมาณ 1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาการบริหารจัดการด้านการตลาดการเชื่อมโยง เครือข่ายคลัสเตอร์ จำนวน 8 แห่ง 2. Catalog สินค้าของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จำนวน 10 Catalog 3. ผู้แทนสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จำนวน 2 ท่าน เพื่อนำเสนอ Catalog สินค้า 4. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จำนวน 3 แห่ง สามารถตกลงเบื้องต้นในการซื้อขายสินค้ากับคู่ค้า 5. ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเพิ่มขึ้น 3 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเกิดการเชื่อมโยงเครือข่ายทางธุรกิจร่วมกัน 2. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมีศักยภาพและความพร้อมในการผลิต รวบรวม และหรือแปรรูป รวมทั้ง ปรับปรุง ขนาดหรือบรรจุภัณฑ์ได้ตามความต้องการของตลาด 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข เนื่องด้วยสถานการณ์การระบาดของโรคไวรัสโควิด – 19 ส่งผลให้การดำเนินโครงการล่าช้าพร้อมทั้งส่งผล ให้ผู้แทนสหกรณ์บางแห่งไม่สามารถเดินทางมาร่วมประชุมได้ 5. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ

การประชุมเชิงปฏิบัติการวางระบบการบริหารจัดการผลผลิตการเกษตรระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ณ ห้องประชุมสำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

หน้า 74 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

ประชุมเชิงปฏิบัติการวางระบบการบริหารจัดการผลผลิตการเกษตรระดับจังหวัด ครั้งที่ 2 ณ ห้องประชุมสำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

หน้า 75 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

2) ผลการดำเนินงาน/โครงการตามนโยบายสำคัญ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 งานส่งเสริมและพัฒนา ◼ โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ จังหวัดปราจีนบุรี ปี 2565

1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ 1. ติดตามเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับด้านการตลาด เพื่อให้การผลิตในแปลงใหญ่สามารถ เชื่อมโยงถึงการตลาดได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ติดตามเพื่อส่งเสริมให้เกษตรกรมีการรวมกลุ่มการผลิต การจำหน่าย และการบริหารจัดการร่วมกัน เป้าหมาย 1. ติดตามส่งเสริมและขับเคลื่อนการดำเนินงานแปลงใหญ่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกที่เข้าร่วมแปลงใหญ่ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 – 2564 ในส่วนของจังหวัดปราจีนบุรี มีจำนวน 6 แปลง ได้แก่ 1. แปลงใหญ่ข้าว (สหกรณ์การเกษตรแปลงใหญ่โน่นมะง่อง จำกัด) 200 ราย 2. แปลงใหญ่ทุเรียน (สหกรณ์แปลงใหญ่ไม้ผลปราจีนบุรี จำกัด) 50 ราย 3. แปลงใหญ่ปลานิลปนกุ้งขาว (สหกรณ์ประมงนิคมบ้านสร้างพัฒนาปราจีนบุรี จำกัด) 98 ราย 4. แปลงใหญ่ปลานิลปนกุ้ง (สหกรณ์การเกษตรบ้านสร้าง จำกัด) 5. แปลงใหญ่ทุเรียน (สหกรณ์การเกษตรชาวสวนไม้เค็ด จำกัด) 64 ราย 6. แปลงใหญ่ยางพารา หมู่ที่ 11 ต.แก่งดินสอ อ.นาดี จ.ปราจีนบุรี (สหกรณ์กองทุนสวนยางพารานาดี ปราจีนบุรี จำกัด) 40 ราย 2. ผู้แทนหน่วยงานร่วมบูรณาการในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 3. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ที่เกี่ยวข้อง พื้นที่ดำเนินงานโครงการ 1. แปลงใหญ่ข้าว หมู่ที่ 4 ต.นาแขม อ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี (สหกรณ์การเกษตรแปลงใหญ่โน่นมะง่อง จำกัด) 2. แปลงใหญ่ทุเรียน หมู่ที่ 8 ต.ดงขี้เหล็ก อ.เมืองปราจีนบุรี จ.ปราจีนบุรี (สหกรณ์แปลงใหญ่ไม้ผลปราจีนบุรี จำกัด) 3. แปลงใหญ่ปลานิลปนกุ้งขาว หมู่ที่ 6 ต.บางปลาร้า อ.บ้านสร้าง จ.ปราจีนบุรี (สหกรณ์ประมงนิคมบ้านสร้างพัฒนา ปราจีนบุรี จำกัด) 4. แปลงใหญ่ปลานิลปนกุ้ง หมู่ที่ 4 ต.บ้านสร้าง อ.บ้านสร้าง จ.ปราจีนบุรี (สหกรณ์การเกษตรบ้านสร้าง จำกัด) 5. แปลงใหญ่ทุเรียน หมู่ที่ 2 ต.ไม้เค็ด อ.เมืองปราจีนบุรี จ.ปราจีนบุรี (สหกรณ์การเกษตรชาวสวนไม้เค็ด จำกัด) 6. แปลงใหญ่ยางพารา หมู่ที่ 11 ต.แก่งดินสอ อ.นาดี จ.ปราจีนบุรี (สหกรณ์กองทุนสวนยางพารานาดีปราจีนบุรี จำกัด) 2. ผลการดำเนินงาน : หน้า 76 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

2.1 ติดตามและวางแผนการตลาด การรวมกลุ่มเพื่อการผลิต การเชื่อมโยงธุรกิจ แปลงใหญ่ จำนวน 6 สหกรณ์ 2.2 การบูรณาการการบริหารจัดการสินค้าแปลงใหญ่ระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3.ผลลัพธ์ :(ระบุทั้งผลลัพธ์เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ) ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ติดตามสมาชิกแปลงใหญ่ที่เข้าร่วมฝึกอบรมโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ จังหวัด ปราจีนบุรี มีแผนการตลาด จำนวน 6 แปลง สมาชิก จำนวน 472 คน - แผน จำนวน 6 แปลง จำนวน 4 ครั้ง สมาชิกแปลงใหญ่ จำนวน 472 คน - ผล จำนวน 6 แปลง จำนวน 4 ครั้ง สมาชิกแปลงใหญ่ จำนวน 472 คน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. กลุ่มแปลงใหญ่ จำนวน 6 แปลง มีแผนการตลาดสินค้า 2. กลุ่มแปลงใหญ่มีการรวมกลุ่มเพื่อการผลิต 4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข -ไม่ม-ี 5. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ

รูปภาพกิจกรรมประกอบ โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ จังหวัดปราจีนบุรี ปี 2565

ติดตามส่งเสริมและขับเคลื่อนการดำเนินงานแปลงใหญ่ปลานิลปนกุง้ ขาว หมู่ที่ 6 ต.บางปลาร้า อ.บ้านสร้าง จ.ปราจีนบุรี หน้า 77 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

ติดตามส่งเสริมและขับเคลื่อนการดำเนินงานแปลงใหญ่ยางพารา หมู่ที่ 11 ต.แก่งดินสอ อ.นาดี จ.ปราจีนบุรี

ติดตามส่งเสริมและขับเคลื่อนการดำเนินงานแปลงใหญ่ปลานิลปนกุ้ง หมู่ที่ 4 ต.บ้านสร้าง อ.บ้านสร้าง จ.ปราจีนบุรี

หน้า 78 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

ส่งเสริมและขับเคลื่อนการดำเนินงานแปลงใหญ่ทุเรียน หมู่ที่ 2 ต.ไม้เค็ด อ.เมืองปราจีนบุรี จ.ปราจีนบุรี

หน้า 79 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

◼ เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ (กพส.) ในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ - เพื่อให้สหกรณ์ได้มีแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ำ ในการดำเนินธุรกิจเพื่อส่งเสริมให้สหกรณ์ที่มีรายได้ที่เพิ่มขึ้น - เพื่อเป็นแหล่งเงินทุนให้สหกรณ์ขนาดเล็กที่ไม่สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุน เช่น สถาบันการเงิน เหมือนสหกรณ์ ขนาดใหญ่ - เพื่อส่งเสริมให้สหกรณ์เป็นแหล่งรวบรวมผลผลิตทางการเกษตรให้สมาชิกเพื่อจำหน่าย - เพื่อส่งเสริมให้สหกรณ์จัดหาปัจจัยในการผลิตมาจำหน่ายในแก่สมาชิกในราคาที่ถูกกว่าท้องตลาดเพื่อเป็น การลดต้นทุนของการผลิต เป้าหมายของเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ - กรมส่งเสริมสหกรณ์โดยสำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรีได้ให้การสนับสนุนเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ ให้กับสหกรณ์ในจังหวัดปราจีนบุรี ขอกู้เงินเพื่อใช้ในการดำเนินธุรกิจ ทั้งสิ้น 6 สหกรณ์ จำนวน 9 สัญญา เป็นเงิน ทั้งสิ้น 16,200,000 บาท (สิบหกล้านสองแสนบาทถ้วน) ดังนี้ สหกรณ์ จำนวนสัญญา จำนวนเงิน (บาท) โครงการปกติ 1. สหกรณ์กองทุนสวนยางพารานาดีปราจีนบุรี จำกัด 2. สหกรณ์ประมงนิคมบ้านสร้างพัฒนาปราจีนบุรี จำกัด 3. สหกรณ์การเกษตรชาวสวนไม้เค็ด จำกัด 4. สหกรณ์แปลงใหญ่ไม้ผลเมืองปราจีนบุรี จำกัด 5. สหกรณ์การเกษตรแปลงใหญ่บ้านโนนมะง่อง จำกัด

2 1 2 1 1

6,000,000 3,000,000 3,000,000 500,000 500,000

โครงการพิเศษ 1. สหกรณ์ประมงนิคมบ้านสร้างพัฒนาปราจีนบุรี จำกัด 2. สหกรณ์การเกษตรเมืองปราจีนบุรี จำกัด

1 1

2,000,000 1,200,000

รวมทั้งสิ้น

9

16,200,000

2. ผลการดำเนินงาน โครงการปกติ ประกอบด้วยสหกรณ์ที่ขอกู้เงินกองทุน พัฒนาสหกรณ์ จำนวน 5 สหกรณ์ 7 สัญญา จำนวนเงินทั้งสิ้ น 13,000,000 บาท (สิบสามล้านบาทถ้วน) วัตถุประสงค์ประกอบด้วย - รวบรวมยางพารา (ยางก้อนถ้วย) - จัดหาปัจจัยการผลิตทางการเกษตรมาจำหน่ายให้แก่สมาชิก (ปุ๋ยและวัสดุทางการเกษตร) - รวบรวมผลผลิต (ปลา, กุ้ง) ของสมาชิก หน้า 80 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

- จัดหาสินค้ามาจำหน่ายให้แก่สมาชิก - เป็นทุนให้สมาชิกกู้ยืม โครงการพิเศษ ประกอบด้วยสหกรณ์ที่ขอกู้เงินกองทุน พัฒนาสหกรณ์ จำนวน 2 สหกรณ์ 2 สัญญา จำนวนเงินทั้งสิ้ น 3,200,000 บาท (สามล้านสองแสนบาทถ้วน) ประกอบด้วย 1.โครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจสหกรณ์ประมง และปศุสัตว์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 วัตถุประสงค์เพื่อจัดหาสินค้ามาจำหน่าย (อาหารปลา, อาหารกุ้ง)มาจำหน่ายให้แก่สมาชิก 2. โครงการสนับสนุนเงินทุ นเพื่อการพัฒนาอาชีพสมาชิกสหกรณ์ ปีที่ 3 วัตถุประสงค์เพื่อนำไปให้สมาชิก กู้ยืมปลูกพืชเสริม-พืชแซมในสวน การทำการเกษตรแบบผสมผสานและประกอบอาชีพเสริมอื่น 3. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข - วงเงินที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรีได้รับการจัดสรรจากกองทุนพัฒนาสหกรณ์ตามโครงการปกติ ยังไม่เพียงพอกับความต้องการของสหกรณ์ในพื้นที่ - สหกรณ์ขนาดเล็กที่ได้รับการจัดตั้งใหม่และยังขาดเงินทุนในการดำเนินงาน ทำให้ไม่สามารถเข้าถึงแหล่ง เงิ น ทุ น อั น เนื ่ อ งมาจาก เจ้ า หน้ า ที ่ คณะกรรมการสหกรณ์ ยั ง ข า ด ค ว า ม รู ้ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ในการดำเนิ น การ ขอกู้เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ - สหกรณ์ขนาดเล็กยังขาดความรู้ความเข้าใจในด้านการบริหารจัดการสหกรณ์ - สหกรณ์ ข นาดเล็ ก ไม่ ส ามารถเข้ า ถึ ง เงิ น กองทุ น พั ฒ นาสหกรณ์ ไ ด้ เนื่ องจากมี ท ุ น เรื อ นหุ้ น ต่ำกว่า 50,000 บาท ซึ่งไม่เข้ากับหลักเกณฑ์การให้กู้ 4. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ

ผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี มอบหมายให้ นายอนุชิต สังฆสุวรรณ รองผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี เป็น ประธานอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1/2565 เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2565 ณ ห้องประชุมสำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี โดยมีนายสมควร พานิชสงเคราะห์ สหกรณ์จังหวัด ปราจีนบุรีเป็นรองประธานในที่ประชุมฯ

หน้า 81 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

ผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี มอบหมายให้ นายอนุชิต สังฆสุวรรณ รองผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี เป็น ประธานอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 2/2565 เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2565 ณ ห้องประชุมสำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี โดยมีนายชลิต กำปั่นทอง ผู้อำนวยการกลุ่มจัดตั้งและ ส่งเสริมสหกรณ์ แทนสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรีเป็นรองประธานในที่ประชุมฯ ตรวจสอบการใช้เงินกู้เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ ปี พ.ศ. 2565

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์ ลงพื้นที่เพื่อตรวจสอบการใช้เงินกู้เงินกองทุนพัฒนา สหกรณ์ ปี พ.ศ. 2565 ร่วมกับเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ผู้ดูแลสหกรณ์ เพื่อติดตามและตรวจสอบการใช้เงินกู้กองทุน พัฒนาสหกรณ์ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ขอกู้ พร้อมแนะนำการจัดทำเอกสาร ได้แก่ รายงานการประชุม คำขอกู้ สัญญาเงินกู้ ใบเสร็จรับ -จ่ายเงินของสหกรณ์ พร้อมทั้งเอกสารประกอบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้เป็นไปตามข้อบังคับ สหกรณ์ และระเบียบที่สหกรณ์กำหนด หน้า 82 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

การประชุมเชิงปฏิบัติการ “แนวทางการให้บริการของกองทุน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์” ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

วันที่ 21 ธันวาคม 2564 กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดปราจีนบุรี โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “แนวทางการให้บริการของกองทุน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการบริหารจัดการเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ ” ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จังหวัดปราจีนบุรี ณ ห้องประชุมสำนักงานสหกรณ์สหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

◼ เงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร โครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกรเพื่อเข้าถึงแหล่ง เงินทุนในการผลิตและการตลาด

๑. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ: วัตถุประสงค์ - เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรเข้าถึงแหล่งเงินทุนที่ปลอดดอกเบี้ย และเพื่อร่ว มแก้ไขปัญหาและเป็นการเพิ่ม ทุนภายในเพื่อบริหารจัดการกลุ่มเกษตรกรให้มีศักยภาพเข้มแข็งต่อไป - เพื่อส่งเสริมเกษตรกรให้สามารถจัดหาปัจจัยการผลิตทางการเกษตรที่มีคุณภาพและราคายุติธรรมและตรง ตามความประสงค์ของเกษตรกรเอง เป้าหมายของเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร กลุ่มเกษตรกรในจังหวัดปราจีนบุรี สามารถกู้เงินโครงการได้ จำนวน 12 แห่ง เพื่อใช้เป็นทุนหมุนเวียน ในการดำเนินงานตามรอบการผลิตของเกษตรกรได้

หน้า 83 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

กลุ่มเกษตรกร 1. กลุ่มเกษตรกรทำนาเนินหอม 2. กลุ่มเกษตรกรทำสวนเนินหอม 3. กลุ่มเกษตรกรทำนาสามัคคีบ้านแหลมไผ่ 4. กลุ่มเกษตรกรทำนาโคกปีบ 5. กลุ่มเกษตรกรทำไร่หนองโพรง 6. กลุ่มเกษตรกรทำนาบ้านต้นตาล 7. กลุ่มเกษตรกรทำสวนดงขี้เหล็ก 8. กลุ่มเกษตรกรทำนาบุฝ้าย 9. กลุ่มเกษตรกรทำสวนแก่งดินสอ 10. กลุ่มเกษตรกรทำสวนหนองโพรง 11. กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์หาดนางแก้ว 12. กลุ่มเกษตรกรทำสวนโคกไม้ลาย รวมทั้งสิ้น

จำนวนเงิน (บาท) 350,000 350,000 150,000 700,000 700,000 500,000 600,000 540,000 440,000 500,000 390,000 300,000 5,520,000

2. ผลการดำเนินงาน กรมส่งเสริมสหกรณ์ได้รับแจ้งว่าคณะกรรมการสงเคราะห์เกษตรกร มีมติอนุมัติขยายระยะเวลาโครงการ ออกไปอีก 3 ปี จากเดิมสิ้นสุดวันที่ 30 เมษายน 2565 เป็นสิ้นสุดวันที่30 เมษายน 2568 และจังหวัดปราจีนบุรี ได้รับการจัดสรรวงเงินกู้ตามโครงการ ปี พ.ศ. 2565 (ช่วงขยายระยะเวลาโครงการ สิ้นสุด 30 เมษายน 2568) จำนวนทั้งสิ้น 5,520,000 บาท(ห้าล้านห้าแสนสองหมื่นบาทถ้วน) โดยมีกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดปราจีนบุรี ส่งคำขอ กู้เงินในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จำนวน 12 แห่ง เป็นจำนวนเงิน 5,520,000 บาท (ห้าล้านห้าแสน-สองหมื่น บาทถ้วน) กลุ่มเกษตรกรในจังหวัดปราจีนบุรีที่ได้รับการจัดมาตรฐานและสามารถเข้าร่วมโครงการสร้างความเข้มแข็ง ให้กับกลุ่มเกษตรกรเพื่อให้เข้าถึงแหล่งเงินทุนเพื่อการผลิตและการตลาด(ช่วงขยายระยะเวลาโครงการ สิ้ นสุด 30 เมษายน 2568) จำนวน 12 แห่ง เป็นเงินจำนวน 5,520,000 บาท (ห้าล้านห้าแสนสองหมื่นบาทถ้วน) 3. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข 1. กลุ ่ ม เกษตรกรในจั ง หวั ด ปราจี น บุ ร ี จำนวนมากที ่ ม ี ท ุ น ดำเนิ น งานค่ อ นข้ า งน้ อ ย ไม่ เ พี ย งพอ ต่อการดำเนินธุรกิจ ดังนั้น จึงมีความประสงค์ขอกู้เงินกองทุน สงเคราะห์เกษตรกร โครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่ม เกษตรกรเพื่อให้เข้าถึงแหล่งเงินทุนเพื่อการผลิตและการตลาด แต่วงเงินที่ได้รับการจัดสรรมีไม่เพียงพอต่อความ ต้องการ 2. กลุ่มเกษตรในจังหวัดปราจีนบุรี ประสบปัญหาในเรื่องมาตรฐานกลุ่มฯ อันเนื่องมาจากกลุ่มเกษตรกร ขาดทุนจากการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ทำให้กลุ่มเกษตรกรไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานจึงทำให้กลุ่มเกษตรกรขาด คุณสมบัติในการเข้าร่วมโครงการ ส่งผลการเข้าถึงแหล่งเงินทุน หน้า 84 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

3. ในการพิจารณาการให้เงินกู้แก่กลุ่มเกษตรกร ในเรื่องคุณสมบัติว่ากลุ่มเกษตรกรไม่ผ่านมาตรฐานอัน เนื่องมาจากกลุ่มเกษตรกรขาดทุนนั้น ควรมีข้อยกเว้นถ้าการขาดทุนของกลุ่มเกษตรกรมิได้ขาดทุนจากการทุจริตของ เจ้าหน้าที่และคณะกรรมการ แต่ขาดทุนจากการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญตามข้อปฏิบัติทางบัญชีนั้น กลุ่มเกษตรกรอาจ สามารถกู้เงินมาดำเนินธุรกิจได้เพื่อเป็นการเพิ่มรายได้ แต่ใ ห้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของคณะกรรมการระดับจังหวัดเป็นผู้ พิจารณา 4. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ

วันที่ 24 พฤษภาคม 2565 นายสมควร พานิชสงเคราะห์ สหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรีเป็นประธานในที่ประชุม อนุมัติเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร โครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกร เพื่อเข้าถึงแหล่งเงินทุนในการ ผลิตและการตลาด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ณ ห้องประชุมสำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

กลุ่มส่งเสริมและพั ฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์ เข้าตรวจสอบและติดตามการใช้เงินกู้เงินกองทุน สงเคราะห์เกษตรกร โครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกร เพื่อเข้าถึงแหล่งเงินทุนในการผลิตและการตลาด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ร่วมกับเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ ผู้ดูแลกลุ่มเกษตรกร โดยแนะนำการจัดทำเอกสาร ประกอบที่สำคัญ การบันทึกบัญชี และการดำเนินงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร โดยต้องปฏิบัติให้ เป็นไปตามข้อบังคับและระเบียบของกลุ่มเกษตรกร

หน้า 85 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

ส่วนที่ ๓ กิจกรรมประชาสัมพันธ์ งานสหกรณ์ฯ และสร้างภาพลักษณ์ หรือวัฒนธรรมองค์กรของหน่วยงาน ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.2565

หน้า 86 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

กิจกรรมประชาสัมพันธ์งานสหกรณ์ฯ และสร้างภาพลักษณ์หรือวัฒนธรรมองค์กร ของหน่วยงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1) งานบูรณาการร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ ภายในจังหวัด

หน้า 87 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

หน้า 88 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

หน้า 89 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

2) การจัดงาน/กิจกรรมต่าง ๆ ในวันสหกรณ์แห่งชาติ วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2565 นายสมควร พานิชสงเคราะห์ สหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี เป็นประธาน พิ ธี เปิ ด งานวั น สหกรณ์ แ ห่ ง ชาติ ประจำปี พ.ศ. 2565 จั ง หวั ด ปราจี น บุ รี พร้ อ มวางพานพุ่ ม ถวายสั ก การะ กล่าวคำสดุดีพระราชวรวงศ์เธอกรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ “พระบิดาแห่งการสหกรณ์ไทย” และอ่านสารนายกรัฐมนตรี (พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา) เนื่องในวันสหกรณ์แห่งชาติ ประจำปี 2565 โดยมี บุคลากรของสำนักงานสหกรณ์ จังหวัดปราจีนบุรี ผู้แทนสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ปราจีนบุรี และผู้แทนขบวนการสหกรณ์ในจังหวัดปราจีนบุรี เข้าร่วมพิธีซึ่งกิจกรรมประกอบด้วยพิธีวางพานพุ่ม ถวายสักการะพระราชวงศ์เธอกรมหมื่นพิท ยาลงกรณ์ พิธีมอบ เกียรติบัตรการประเมินมาตรฐานสหกรณ์ประจำปี 2564 และการมอบเงินบริจาคแก่ ศูนย์สงเคราะห์คามิลเลียน โซเชียลเซ็นเตอร์ ปราจีนบุรี จำนวน 51,000.- บาท เพื่อนำไปใช้กิจกรรมสาธารณประโยชน์ต่อไป ณ ห้องประชุม สหกรณ์ การเกษตรเมืองปราจี น บุ รี ตำบลไม้เค็ด อำเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี ซึ่งความสำคัญ ของวันสหกรณ์ แห่งชาติ วันที่ 26 กุมภาพันธ์ ของทุกปี เป็นวันที่ชาวสหกรณ์ทั่วประเทศ รวมทั้งในจังหวัดปราจีนบุรีรวมใจกันน้อม รำลึกถึง พระกรุณาธิคุณของพระราชวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ ที่ทรงริเริ่มทดลองจัดตั้งสหกรณ์วัดจันทร์ ไม่จำกัดสินใช้ ขึ้นเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2459 และทรงส่งเสริมให้มีการเผยแพร่ขยายอุดมการณ์ สหกรณ์ หลักการและวิธีการสหกรณ์ไปทั่วประเทศเป็นผลดีต่อการพัฒนาประเทศสืบมาจนบัดนี้นับเป็นเวลา 106 ปี

หน้า 90 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

หน้า 91 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

3) การจัดงาน/กิจกรรมต่าง ๆ ในวันคล้ายวันสถาปนากรมส่งเสริมสหกรณ์ ครบรอบ 50 ปี

หน้า 92 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

หน้า 93 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

4) ภาพกิจกรรมของหน่วยงานร่วมกับจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

หน้า 94 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

หน้า 95 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

หน้า 96 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

หน้า 97 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

5) ภาพกิจกรรมของหน่วยงานร่วมกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

หน้า 98 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

หน้า 99 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

หน้า 100 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

หน้า 101 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

หน้า 102 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

หน้า 103 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

หน้า 104 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

ส่วนที่ ๔ รายงานข้อมูลงบการเงิน (ณ วันที่ 30 กันยายน 2565)

หน้า 105 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

งบการเงินประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 ประกอบด้วย - งบแสดงฐานะการเงิน - งบแสดงผลการดำเนินงานทางการเงิน - หมายเหตุประกอบงบการเงิน

หน้า 106 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี งบแสดงฐานะทางการเงิน ณ วันที่ 30 กันยายน 2565

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้เงินยืมราชการ รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ (สุทธิ) รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์ หนี้สิน หนี้สินหมุนเวียน เจ้าหนี้ระยะสั้น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินรับฝากระยะยาว รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน ส่วนทุน ทุน รายได้สูง/ (ต่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายสะสม รวมส่วนทุน รวมหนี้สินและส่วนทุน

หมายเหตุ

: บาท

(3) (4)

35,033.00 5,664.00 40,697.00

(5)

3,752,629.64 3,752,629.64 3,793,326.64

(6)

105,458.14 105,458.14 35,033.00 35,033.00 140,491.14 649,000.00 3,003,835.50 3,652,835.50 3,793,326.64

หน้า 107 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี งบแสดงผลการดำเนินงาน สำหรับระยะเวลาบัญชี สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2565 รายได้จากการดำเนินงาน รายได้จากรัฐบาล : รายได้จากเงินงบประมาณ รายได้จากแหล่งอื่น รายได้แผ่นดิน รายได้ระหว่างกันในกรม รายได้เงินนอกงบประมาณ รวมรายได้จากแหล่งอื่น รวมรายได้จากการดำเนินงาน ค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงาน ค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร ค่าบำเหน็จบำนาญ ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ ค่าสาธารณูปโภค ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย ค่าใช้จ่ายเงินอุดหนุน ค่าใช้จ่ายอื่น รวมค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงาน รายได้สูง/ (ต่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงาน รายการพิเศษ รายได้สูง/ (ต่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ

หมายเหตุ

: บาท

(8)

8,457,107.58

(9)

59,000.00 14,158.07 0.00 73,158.07 8,530,265.65

(10) (11) (12) (13) (14) (15)

4,118,858.08 17,212.50 1,910,177.09 456,342.70 306,133.64 1,021,220.48 1,419,039.14 74,583.07 9,323,566.70 (793,301.05) 0.00 (793,301.05)

(16)

หน้า 108 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2565

หมายเหตุ สารบัญ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16

ข้อมูลทั่วไป เกณฑ์การจัดทำงบการเงิน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้ระยะสั้น ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ เจ้าหนี้ระยะสั้น เงินรับฝากระยะยาว รายได้แผ่นดิน รายได้จากงบประมาณ ค่าใช้จ่ายบุคลากร ค่าบำเหน็จบำนาญ ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ ค่าสาธารณูปโภค ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย ค่าใช้จ่ายอื่น

หน้า 109 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี หมายเหตุประกอบงบการเงิน สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2565

หมายเหตุ 1 ข้อมูลทั่วไป สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี เป็นส่วนราชการภูมิภาค กรมส่งเสริมสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ใช้บัญชีจากระบบบริหารการเงิน การคลังภาครัฐ แบบอิเล็กทรอนิกส์ GFMIS มีอำนาจหน้าที่ในการดำเนินการ เกี่ยวกับงานด้านกฎหมายว่าด้ วยสหกรณ์ กฎหมายว่าด้วย การจัดที่ ดินเพื่อการครองชี พ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ส่งเสริมและพัฒนางานสหกรณ์ทุกประเภทและกลุ่มเกษตรกร ส่งเสริม เผยแพร่ และให้ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ และ วิธีการสหกรณ์ ให้แก่บุคลากรสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และประชาชน ทั่วไป ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกร รวมทั้งปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่น ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สมาชิกสหกรณ์มี คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคม สำนักงานตั้งอยู่ที่ ศูนย์ราชการจังหวัดปราจีนบุรี (ชั้น 3) ตำบลไม้เค็ด อำเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี กรอบกฎหมายหลักที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของสำนักงานสหกรณ์ จังหวัดปราจีนบุรี ได้แก่ พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม หมายเหตุ 2 เกณฑ์การจัดทำงบการเงิน งบการเงิน นี้ จั ด ทำขึ้น ตามมาตรฐานและนโยบายการบั ญ ชีภ าครัฐ ที่ ก ระทรวงการคลั งประกาศ ใช้ซึ่งรวมถึงหลักการและนโยบายบัญชีสำหรับหน่วยงานภาครัฐ มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชี ภาครัฐ หมายเหตุ 3 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด : บาท เงินสดในมือ 0.00 เงินฝากสถาบันการเงิน 0.00 เงินฝากคลัง 35,033.00 รวม เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 35,033.00 หมายเหตุ 4 ลูกหนี้ระยะสั้น : บาท ลูกหนี้เงินยืมในงบประมาณ 5,664.00 รายได้ค้างรับ 0.00 รวมลูกหนี้ระยะสั้น 5,664.00 หมายเหตุ 5 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ : บาท ที่ดิน 0.00 อาคารและสิ่งปลูกสร้าง 1,527,410.00 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม 1,007,386.35 อาคารและสิ่งปลูกสร้าง (สุทธิ) 520,023.65 ครุภัณฑ์ 11,243,184.92 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม 8,010,578.93 ครุภัณฑ์ (สุทธิ) 3,232,605.99 รวม ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ (สุทธิ) 3,752,629.64 หน้า 110 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

หมายเหตุ 6 เจ้าหนี้ระยะสั้น เจ้าหนี้การค้าภายนอก ค่าสาธารณูปโภคค้างจ่าย ใบสำคัญค้างจ่าย รวม เจ้าหนี้ระยะสั้น

: บาท 95,800.00 9,658.14 0.00 105,458.14

หมายเหตุ 7 เงินรับฝากระยะยาว เงินรับฝากอื่น เงินประกันอื่น รวม เงินรับฝากระยะยาว

: บาท 35,033.00 35,033.00

หมายเหตุ 8 รายได้จากงบประมาณ รายได้จากงบบุคลากร รายได้จากงบดำเนินงาน รายได้จากงบลงทุน รายได้จากงบอุดหนุน รายได้จากงบกลาง รายได้จากงบรายจ่ายอื่น รวม รายได้จากงบประมาณ

: บาท 3,159,955.00 3,534,945.86 125,400.00 1,419,039.14 206,542.58 11,225.00 8,457,107.58

หมายเหตุ 9 รายได้แผ่นดิน รายได้ค่าธรรมเนียมที่ดิน รายได้ค่าธรรมเนียมอื่น รายรับจากการขายครุภัณฑ์ รายได้เหลือจ่าย รวม รายได้แผ่นดิน หมายเหตุ 10 ค่าใช้จ่ายบุคลากร ค่าตอบแทนพนักงานราชการ เงินค่าครองชีพ เงินช่วยเหลือกรณีเสียชีวิต ค่ารักษาพยาบาล เงินช่วยการศึกษาบุตร เงินสมทบกองทุนประกันสังคม เงินสมทบกองทุนเงินทดแทน ค่าเช่าบ้าน รวม ค่าใช้จ่ายบุคลากร

: บาท 44,000.00 0.00 0.00 15,000.00 59,000.00 : บาท 3,154,080.00 5,820.00 0.00 96,137.50 33,390.00 76,348.00 4,480.00 748,602.58 4,118,858.08

หน้า 111 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

หมายเหตุ 11 ค่าบำเหน็จบำนาญ ค่ารักษาพยาบาล เงินช่วยพิเศษบำนาญเสียชีวิต รวม ค่าบำเหน็จบำนาญ

: บาท 17,212.50 0.00 17,212.50

หมายเหตุ 12 ค่าใช้สอย ค่าใช้จ่ายฝึกอบรม ค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการ ค่าจ้างเหมาบริการ ค่าเบี้ยประกันภัย ค่าใช้สอยอื่น ๆ ค่าใช้จ่ายในการประชุม รวม ค่าใช้สอย

: บาท 181,060.00 244,942.00 1,341,376.27 5,698.82 21,360.00 115,740.00 1,910,177.09

หมายเหตุ 13 ค่าวัสดุ ค่าวัสดุ ค่าเชื้อเพลิง ครุภัณฑ์มูลค่าต่ำกว่าเกณฑ์ รวม ค่าวัสดุ

: บาท 183,717.70 272,625.00 . 456,342.70

หมายเหตุ 14 ค่าสาธารณูปโภค ค่าไฟฟ้า ค่าน้ำประปา ค่าโทรศัพท์ ค่าบริการสื่อสารและโทรคมนาคม ค่าบริการไปรษณีย์ รวม ค่าสาธารณูปโภค

: บาท 173,358.86 2,638.62 75,889.99 17,047.17 37,199.00 306,133.64

หมายเหตุ 15 ค่าเสื่อมราคา

: บาท

ค่าเสื่อมราคา - อาคารและสิ่งปลูกสร้าง ค่าเสื่อมราคา – ครุภัณฑ์ รวม ค่าเสื่อมราคา หมายเหตุ 16 ค่าใช้จ่ายอื่น ค่าใช้จ่ายอื่น รวม ค่าใช้จ่ายอื่น

67,199.99 954,020.49 1,021,220.48 : บาท 74,583.07 74,583.07

หน้า 112 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

ล้านบาท

แผนภูมิเปรียบเทียบแสดงรายงานฐานะการเงินประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และ พ.ศ. 2565 4.65

5.00

4.45

3.75

4.00

3.65

สินทรัพย์หมุนเวียน

3.00

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

2.00

หนี้สินหมุนเวียน

1.00

0.04

0.00

0.21 0.04

0.04

ปี 2564

สินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน หนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน ส่วนทุน

หนี้สินไม่หมุนเวียน

0.110.04

ส่วนทุน

ปี 2565

ฐานะการเงินประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 พ.ศ. 2565 ปี 2564 38,053.00 4,648,450.12 205,333.57 35,033.00 4,446,136.55

ปี 2565 40,697.00 3,752,629.64 105,458.14 35,033.00 3,652,835.40

แผนภูมิเปรียบเทียบรายได้และค่าใช้จ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และ พ.ศ. 2565

ล้านบาท

รายได้และค่าใช้จ่าย ปี พ.ศ. 2564 และปี พ.ศ. 2565 ปี 2564 รายได้จากการดำเนินงาน 9,328,816.87 ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน 10,405,486.64 รายได้สูง (ต่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายจากการดำเนินงาน (1,076,669.77) 15.00 10.00

9.33 10.41

8.53

ปี 2565 8,530,265.65 9,323,566.70 (793,301.

9.32

5.00 (5.00)

ปี 2564

รายได้จากการดาเนินงาน



ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน

ปี 2565 (0.79) รายได้สูง(ต่า)กว่าค่าใช้จ่าย

หน้า 113 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

ส่วนที่ 5 ภาคผนวก สรุปผลสำเร็จตามตัวชี้วัดหลัก (เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ) ของงาน/โครงการ ตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณ รายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563-2565

หน้า 114 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

ส่วนที่ 5 ภาคผนวก สรุปผลสำเร็จตาม ของงาน/โครงการตามแผนปฏิบัติงานและงบประม ชื่องาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก

แผนงานพื้นฐาน แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน (ในปีงบประมาณ 2562 แผนงานพื้นฐานนี้อยู่ในยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความเสมอภาคและเท่าเทียมก ผลผลิตสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ (ในปีงบประมาณ 2561 และ 2562 ผลผลิตนี้อยู่ในแผนงานพื้นฐานด้านการแก้ไขปัญหาความยากจน ล เชิงปริมาณ - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รบั การส่งเสริมและพัฒนาให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ - จำนวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการผลิต การตลาด การบริหาร และการบริหารจัดการ - จำนวนสมาชิกสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกรเพิ่มขึ้น เชิงคุณภาพ - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มสี ถานะการดำเนินกิจการ มีอัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจ เพิ่มขึ้นจากปีก่อน - จำนวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีอัตราส่วนเงินออมของสมาชิกต่อหนี้สินของสมาชิกเพิ่มขึ้น จากปีก่อนไม่น้อยกว่า - สหกรณ์ที่มีข้อบกพร่องได้รับการแก้ไขแล้ว ไม่น้อยกว่า - สหกรณ์มคี วามเข้มแข็งในระดับ 1 และระดับ 2 อย่างน้อย - กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง - อัตราการขยายตัวปริมาณธุรกิจของสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกรเพิ่มขึน้ ไม่น้อยกว่า - อัตราการขยายตัวปริมาณธุรกิจสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกรในงาน/โครงการทีเ่ ข้าร่วมขับเคลื่อนงาน นโยบายรัฐบาลไม่ตำ่ กว่า

WE ARE HOPE เรา ค

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

มตัวชี้วัดหลัก (เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ) มาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ (พ.ศ. 2563 - 2565) หน่วยนับ

ปี 2565 แผน

ปี 2564 ผล

ปี 2563

แผน

ผล

แผน

ผล

กันทางสังคม)

ลดความเหลื่อมล้ำ และสร้างการเติบโตจากภายใน) แห่ง แห่ง

71 71

71 71

71 71

71 71

76 76

76 76

ราย

67,564

66,168

690

710

682

740

ร้อยละ

3

1.20

3

-28.53

3

-1.97

ร้อยละ

44

39

43

32

46

21

ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ

90 25 3

98.08 15.79 1.20

88 24 3

94.23 -28.53

86 23 3

94.44 -1.97

คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 115

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5 ชื่องาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก - จำนวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีอัตราส่วนเงินออมต่อหนี้สินเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า - อัตราส่วนเงินออมต่อหนีส้ ินของสมาชิกในสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกรมีสัดส่วนที่เพิ่มขึ้น กิจกรรมการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เชิงคุณภาพ - ระดับความสำเร็จในการปรับปรุงหรือพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรม ส่งเสริมสหกรณ์ - ระดับความสำเร็จในการปรับปรุงหรือพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ - อัตราการเข้าถึงและใช้ประโยชน์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมส่งเสริมสหกรณ์ กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เชิงปริมาณ - สหกรณ์มีความเข้มแข็งในระดับ 1 และระดับ 2 อย่างน้อย - กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มคี วามเข้มแข็งตามศักยภาพ - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มสี ถานะการดำเนินกิจการ มีอัตราการขยายตัวของปริมาณธุรกิจ เพิ่มขึ้นจากปีก่อน - จำนวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีอัตราส่วนเงินออมของสมาชิกต่อหนี้สินของสมาชิกเพิ่มขึ้น จากปีก่อนไม่น้อยกว่า - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มคี วามเข้มแข็งตามศักยภาพ - จำนวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการผลิต การตลาด การบริหาร และการบริหารจัดการ - จำนวนสมาชิกสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกรเพิ่มขึ้น เชิงคุณภาพ - สหกรณ์ผ่านการประเมินการจัดชั้นคุณภาพ การควบคุมภายใน ในระดับพอใช้ขึ้นไป ไม่น้อยกว่า

WE ARE HOPE เรา ค

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี หน่วยนับ

ปี 2565

ปี 2564

ปี 2563

ร้อยละ ร้อยละ

แผน 44 62

ผล 39 55

แผน 43 60

ผล 32 44

แผน 46 60

ผล 21 27

ร้อยละ

100

100

100

100

100

100

ร้อยละ

100

100

100

100

100

100

ร้อยละ

5

5

5

5

5

5

ร้อยละ ร้อยละ แห่ง ร้อยละ

90 25 71

98.08 15.79 71

88 24 71

94.23 71

86 23 76

94.44 76

ร้อยละ

44

39

43

32

46

21

แห่ง แห่ง

71 71

71 71

71 71

71 71

76 76

76 76

90

96

88

92

88

82

ราย ร้อยละ

คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 116

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5 ชื่องาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก - สหกรณ์มสี มาชิกมีส่วนร่วมในการใช้บริการของสหกรณ์ ไม่น้อยกว่า - สหกรณ์มคี วามสามารถในการดำเนินธุรกิจอยู่ในระดับต่ำกว่ามาตรฐานขึ้นไป ไม่น้อยกว่า - สหกรณ์ไม่มีข้อบกพร่อง หรือมีข้อบกพร่องแต่ได้รับการแก้ไข - กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง - อัตราส่วนเงินออมต่อหนีส้ ินของสมาชิกในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีสดั ส่วนที่เพิ่มขึ้น - อัตราการขยายตัวปริมาณธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในงาน/โครงการที่เข้าร่วม ขับเคลื่อนงานนโยบายรัฐบาล ไม่ต่ำกว่า - สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกรมส่งเสริมสหกรณ์ - กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐานกรมส่งเสริมสหกรณ์ กิจกรรมส่งเสริมความรู้ด้านการสหกรณ์ เชิงปริมาณ - เกษตรกรและสมาชิกได้รับการพัฒนาความรู้เรื่องการสหกรณ์ - ผู้เข้าอบรมมีแผนการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้หลังการอบรม - เกษตรกรและประชาชนทั่วไปและสมาชิกได้รับการพัฒนาความรูเ้ รื่องการสหกรณ์ - นักเรียน/นักศึกษา ได้รับความรู้เรื่องของการสหกรณ์ - ผู้เข้าอบรมมีแผนการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้หลังการอบรม แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานยุทธศาสตร์เกษตรสร้างมูลค่า โครงการส่งเสริมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เชิงปริมาณ - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่งเสริมให้สมาชิกทำการเกษตรปลอดภัย - พื้นที่ที่ได้รับการส่งเสริมเกษตรผสมผสาน - สมาชิกสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกรได้รับการส่งเสริมทำการเกษตรปลอดภัย - อัตราการขยายตัวของมูลค่าสินค้าเกษตรปลอดภัยขยายตัว

WE ARE HOPE เรา ค

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี หน่วยนับ

ปี 2565

ปี 2564

ปี 2563

แผน 60 -

ผล 75 -

แผน

ผล

แผน

ผล

-

-

86

87

25 90

15.79 85

24 88

94

23 -

-

ร้อยละ ร้อยละ

80 81

63.46 88.89

80 81

86.54 89.47

80 81

92.31 85

ราย ร้อยละ ราย ราย ร้อยละ

500 10 500 100 10

580 10 680 200 10

500 10 500 100 10

520 10 665 215 10

500 10 500 100 10

750 10 870 216 10

แห่ง ไร่ ราย ร้อยละ

1 125 25 3

1 125 25 30.77

1 65 3

1 65 3

-

-

ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ

คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 117

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5 ชื่องาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก เชิงคุณภาพ - อัตราการขยายตัวของมูลค่าสินค้าเกษตรปลอดภัยขยายตัว โครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน เชิงปริมาณ - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รบั การส่งเสริมทำการเกษตรแปรรูป เชิงคุณภาพ - อัตราการขยายตัวของมูลค่าสินค้าเกษตรแปรรูปขยายตัว โครงการส่งเสริมและสนับสนุนสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกรทำการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่า เชิงปริมาณ - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่งเสริมให้สมาชิกทำการเกษตรปลอดภัย - พื้นที่ที่ได้รับการส่งเสริมเกษตรผสมผสาน - สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมทำการเกษตรปลอดภัย เชิงคุณภาพ - ปริมาณธุรกิจด้านเกษตรปลอดภัยของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรขยายตัว หมายเหตุ : ในปี 2564 ไม่มีผลตามตัวชี้วัด เนื่องจากกำหนดรายงานผลตามตัวชี้วดั เมื่อสิน้ สุด ระยะเวลาโครงการจ้างที่ปรึกษา และมีผลผลิตจำหน่าย โดยจะวัดผลในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ 2565 โครงการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล เชิงคุณภาพ - ร้อยละความพึงพอใจของผู้ที่มาติดต่อราชการ แผนงานยุทธศาสตร์เสริมสร้างพลังทางสังคม โครงการส่งเสริมการพัฒนาระบบตลาดภายในสำหรับสินค้าเกษตร เชิงปริมาณ - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาการบริหารจัดการด้านการตลาด การ เชื่อมโยงเครือข่าย/คลัสเตอร์

WE ARE HOPE เรา ค

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี หน่วยนับ

ปี 2565

ปี 2564

แผน

ผล

ร้อยละ

3

30.77

แห่ง

2

ร้อยละ

ปี 2563

แผน

ผล

แผน

ผล

2

-

-

-

-

3

0

-

-

-

-

แห่ง แห่ง ราย

-

-

1

20

-

-

-

-

1

20

-

-

ร้อยละ

3

16.67

ร้อยละ

100

100

100

100

100

100

1

1

แห่ง

คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 118

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5 ชื่องาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก เชิงคุณภาพ - ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการขยายตัว แผนงานยุทธศาสตร์สนับสนุนการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม โครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร เชิงปริมาณ - สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีหนี้เงินกู้เพื่อการเกษตรได้รับการลดภาระดอกเบีย้ เชิงคุณภาพ - จำนวนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีอัตราส่วนเงินออมของสมาชิกต่อหนี้สินของสมาชิกเพิ่มขึ้น - ต้นทุนการผลิตของสมาชิกลดลง โครงการพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ เชิงปริมาณ - สมาชิกสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร/เกษตรกรได้รับการส่งเสริมและสร้างทักษะในการประกอบ อาชีพ - ลูกหลานสมาชิกสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร/เกษตรกรสานต่ออาชีพการเกษตร เชิงคุณภาพ - สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร/เกษตรกรมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนไม่น้อยกว่า แผนงานบูรณาการ แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกิจฐานราก โครงการส่งเสริม และพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินทำกินของเกษตรกร เชิงปริมาณ - สมาชิกสหกรณ์ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ เชิงคุณภาพ - สมาชิกสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้นเฉลี่ย โครงการพัฒนาศักยภาพส่งเสริมและสร้างทักษะในการประกอบอาชีพทั้งในและนอกภาคเกษตร

WE ARE HOPE เรา ค

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี หน่วยนับ

ปี 2565 แผน

ปี 2564 ผล

ร้อยละ

ปี 2563

แผน

ผล

3

3

แผน

ผล

ราย

1,931

1,931

1,931

1,931

1,931

ร้อยละ ร้อยละ

62 -

90.91 0.62

60 -

45.45 0.87

60 -

ราย

7

7

4

4

ราย

7

7

4

4

บาท

20,600

20,000

18,8540

18,500

ราย

60

41

41

41

41

41

ร้อยละ

3

31

3

28

3

25

คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 119

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5 ชื่องาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก เชิงปริมาณ - ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับการพัฒนาด้านการประกอบอาชีพการเกษตร - สมาชิกสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ - สมาชิกสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกรได้รับการส่งเสริมการผลิตสินค้าคุณภาพสู่มาตรฐาน GAP - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาการผลิตสินค้าคุณภาพ เชิงคุณภาพ - สมาชิกสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึน้ - ผู้เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึน้ - สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีค่าใช้จ่ายในการซื้อปุ๋ยลดลงไม่น้อยกว่า โครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน เชิงปริมาณ - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการพัฒนาศักยภาพการดำเนินธุรกิจ - สหกรณ์ได้รับการพัฒนาศักยภาพในการรวบรวม จัดเก็บและแปรรูปผลผลิตการเกษตร เชิงคุณภาพ - รายได้จากการดำเนินธุรกิจรวบรวม แปรรูป จำหน่ายผลผลิตสินค้าเกษตร และให้บริการ ทางด้านสินค้าเกษตรของสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกรเพิม่ ขึ้น - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีปริมาณธุรกิจรวบรวมผลผลิตเพิ่มขึ้น โครงการส่งเสริมการพัฒนาระบบตลาดภายในสำหรับสินค้าเกษตร เชิงปริมาณ - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาการบริหารจัดการด้านการตลาด การเชื่อมโยงเครือข่าย/คลัสเตอร์ เชิงคุณภาพ - ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการขยายตัว โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน

WE ARE HOPE เรา ค

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี หน่วยนับ

ปี 2565

ปี 2564

ปี 2563

แผน

ผล

แผน

ผล

แผน

ผล

-

-

-

-

20 1

20 1

-

-

-

-

3 3

0 0

แห่ง แห่ง

2 2

2 2

ร้อยละ

3

ร้อยละ

3

ราย ราย ราย แห่ง ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ

แห่ง

6

6

-

-

ร้อยละ

3

3

-

-

คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 120

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5 ชื่องาน/โครงการ/กิจกรรมหลัก เชิงปริมาณ - สหกรณ์ภาคการเกษตรได้รับการพัฒนาสินค้าและผลิตภัณฑ์ - สินค้าเกษตรของสหกรณ์ภาคการเกษตรได้รับการพัฒนาในด้านการผลิต การแปรรูป และการตลาด กองทุนพัฒนาสหกรณ์ เชิงปริมาณ - จำนวนสหกรณ์ที่สามารถเข้าถึงแหล่งทุนดอกเบี้ยต่ำ เชิงคุณภาพ - สหกรณ์ที่กู้เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ใช้เงินตามวัตถุประสงค์

WE ARE HOPE เรา ค

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี หน่วยนับ

ปี 2565 แผน

ปี 2564 ผล

แผน

ปี 2563 ผล

แห่ง ผลิตภัณฑ์

แผน

ผล

1

1

แห่ง

7

6

7

7

9

9

แห่ง

7

6

7

7

9

9

คือ ความหวังของเกษตรกร

หน้า 121

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕๖5

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี

บรรณานุกรม กองแผนงาน กรมส่งเสริมสหกรณ์ (ปีงบประมาณ พ.ศ. 25๖5 ตุลาคม – กันยายน) - แผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 25๖5 - รายงานผลการประเมินผลการปฏิบัติงานส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรของสำนักงานสหกรณ์ จังหวัดและสำนักงานส่งเสริมสหกรณ์กรุงเทพมหานคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 25๖5 กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี (ปีงบประมาณ พ.ศ. 25๖5 ตุลาคม – กันยายน) - ทะเบียนสรุปผลสำเร็จของการส่งเสริม แนะนำสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้สมาชิกเข้าร่วมประชุมใหญ่ เพิ่มขึ้น ประจำปี 25๖5 - ทะเบียนสรุปผลสำเร็จของการส่งเสริม แนะนำ การจัดประชุมใหญ่สามัญประจำปีของสหกรณ์และ กลุ่มเกษตร ประจำปี 25๖5 - ประกาศสำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี เรื่อง ผลการจัดมาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจำปี 25๖5 - ทะเบียนสรุปผลการติดตามตรวจสอบ แนะนำ สหกรณ์ที่หยุดดำเนินธุรกิจหรือไม่พบที่อยู่ ประจำปี 25๖5 - แฟ้มข้อมูลสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดปราจีนบุรี ปีงบประมาณ พ.ศ. 25๖5 กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ตุลาคม – กันยายน) - สรุปผลเปรียบเทียบปริมาณธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ปีงบประมาณ พ.ศ. 25๖5 - กระดาษทำการเก็บข้อมูลพื้นฐานด้านการเงินรายสหกรณ์ รายกลุ่มเกษตรกร ปีงบประมาณ พ.ศ. 25๖5 ฝ่ายบริหารทั่วไป สำนักงานสหกรณ์จังหวัดปราจีนบุรี (ปีงบประมาณ พ.ศ. 25๖5 ตุลาคม – กันยายน) - ทะเบียนสรุปผลการแนะนำ ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ปีงบประมาณ พ.ศ. 25๖5 - ระบบงานบริหารและจัดการโครงการ กรมส่งเสริมสหกรณ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 25๖5

หน้า 122 WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร

จัดทำโดย

สำนักงำนสหกรณ์จังหวัดปรำจีนบุรี

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.