วิจัยในชั้นเรียนkae เนื้อหา Flipbook PDF


26 downloads 119 Views 250KB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

วิจัยในชั้นเรียน เรื่ อง การพัฒนาทักษะการจดจาคาศัพท์และการอ่านออกเสียง คาศัพท์ ภาษาจีนโดยใช้ บัตรคาศัพท์พร้ อมคาอ่านพินอินสาหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/3 โรงเรียนพระแม่สกลสงเคราะห์ จัดทาโดย นางสาวพรพิมล เพ็ชรกอง โรงเรียนพระแม่สกลสงเคราะห์ ปี การศึกษา 2565

1

วิจัยในชั้นเรียนเรื่ อง : การพัฒนาทักษะการจดจาคาศัพท์และการอ่านออกเสี ยงคาศัพท์ภาษาจีนโดยใช้บตั ร คาศัพท์พร้อมคาอ่านพินอินสาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/3โรงเรี ยนพระแม่สกลสงเคราะห์ ผู้วิจัย

นางสาวพรพิมล เพ็ชรกอง

ปี ที่ทาวิจัย

2565

บทคัดย่อ การวิจยั ในครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาทักษะการจาคาศัพท์และการอ่านออกเสี ยงคาศัพท์ ภาษาจีนโดยใช้บตั รศัพท์ภาษาจีนพร้อมคาอ่านพินอิน สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/3 โรงเรี ยน พระแม่สกลสงเคราะห์ จากจานวนนักเรี ยนกลุ่มตัวอย่างจานวน 20 คน ซึ่งได้มาจากวิธีเลือกนักเรี ยนที่มี ปั ญหาการอ่านออกเสี ยงสัทอักษร(พินอิน) และมีปัญหาในด้านการจดจาคาศัพท์ เครื่ องมือที่ใช้ในการ วิจยั ครั้งนี้ ประแผนการอบด้วย 1. จัดการเรี ยนรู้กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาต่างประเทศ รายวิชาภาษาจีน เรื่ อ ง สั ท อัก ษร(พิ น อิ น ) ชั้น มัธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 4/3 2. บัต รค าศัพ ท์ภ าษาจี น พร้ อ มค าอ่ า นพิ น อิ น 3. แบบทดสอบการอ่านออกเสี ยงก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนและวิธีการประเมินที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ โดย ใช้ระยะเวลาในการวิจยั ทั้งสิ้น 1 ภาคเรี ยน ผลการวิจัยพบว่า นักเรี ยนมีการพัฒนาทักษะการจดจาคาศัพท์เพิ่มมากขึ้นสามารถอ่านออก เสี ยงสัทอักษร(พินอิน)และคาศัพท์ภาษาจีนได้ถูกต้องโดยใช้บตั รคาศัพท์ภาษาจีนพร้อมคาอ่านพินอิน

2

สารบัญ บทคัดย่อ 1. บทนา

2. 3.

4. 5.

ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ของการวิจยั ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจยั สมมติฐานของงานวิจยั ขอบเขตของการวิจยั นิยามคาศัพท์เฉพาะ เอกสารงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง วิธีการดาเนินการวิจยั ประชากรกลุ่มตัวอย่าง เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั วิธีดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล สรุ ป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

หน้า 1 3 3 3 4 5 7 9 9 9 10 11 12 13

บรรณานุกรม ภาคผนวก

3

บทที่ 1 บทนา 1. ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหาภาษา เนื่องด้วยปัจจุบนั ภาษาจีนเป็ นภาษาที่มีความสาคัญและมีบทบาทในการพัฒนาประเทศอย่างมาก ทั้ง ทางด้านเศรษฐกิจ ความมัน่ คง การท่องเที่ยว การติดต่อสื่ อสาร และด้านการศึกษาในอนาคต มีแนวโน้มที่จะ มีความสาคัญเพิ่มมากขึ้นในอนาคต การสื่ อสารโดยใช้ภาษาจีนได้เป็ นที่นิยมกันอย่างแพร่ หลายในหลาย ประเทศรวมทั้งประเทศไทยซึ่งกระทรวงศึกษาธิ การได้เล็งเห็นถึงความสาคัญของการเรี ยนภาษาจีน โดย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 กระทรวงศึกษาธิการ(กระทรวงศึกษาธิการ,2551, หน้า 190)ได้กล่าวไว้ว่า “ในสังคมโลกปัจจุบนั การเรี ยนรู้ภาษาต่างประเทศมีความสาคัญและจาเป็ นอย่างยิ่ง ในชีวิตประจาวันเนื่องจากเป็ นเครื่ องมือในการติดต่อสื่ อสาร การศึกษา การแสวงหาความรู้ การประกอบ อาชีพ การสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ วัฒนธรรมและวิสัยทัศน์ของชุมชนโลก” อีกทั้งการทรวงศึกษาธิการได้ มีการสนับสนุนให้มีโรงเรี ยนจัดการเรี ยนการสอนในรายวิชาที่เป็ นภาษา เพื่อใช้ในการพัฒนาและยกระดับ การศึกษา ภาษาจีนเป็ นรายวิชาหนึ่งที่อยูใ่ นกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ภาษาต่างประเทศที่จะช่วยส่งเสริ มนักเรี ยนให้มี การพัฒนาและสามารถสื่ อสารภาษาจีนเป็ นภาษาที่สามได้นอกจากการส่งเสริ มให้ นักเรี ยนมีความรู้ความ เข้าใจด้านภาษาอังกฤษแล้วการส่งเสริ มให้นกั เรี ยนมีความรู้ความเข้าใจภาษาจีนก็มีความสาคัญไม่นอ้ ยเมื่อ คานึงถึงบทบาทของประเทศจีนที่มีต่อสมาคมโลก การเรี ยนการสอนเพื่อให้ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง ของสถานการณ์ปัจจุบนั ที่มีการพัฒนาและ เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว การพัฒนาคุณภาพการศึกษาจึงมี ความสาคัญโดยเฉพาะการเรี ยนรู้ ภาษา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้ กาหนดให้สาระการเรี ยนรู้ ภาษาต่างประเทศเป็ นกลุ่มสาระการเรี ยนรู้และได้กาหนดสาระสาคัญไว้ คือ ภาษาเพื่อการสื่ อสาร ภาษาและวัฒนธรรม ภาษากับการสัมพันธ์กบั กลุม่ สาระการเรี ยนรู้อื่นและภาษากับ ความสัมพันธ์ชุมชนและโลก(กระทรวงศึกษาธิการ,2551, หน้า8) จึงทาให้สานักงานเขตพื้นที่เล็งเห็นความ สาคัญของการเรี ยนการสอนภาษาจีนเป็ นภาษาที่สามและสนับสนุนให้โดยเรี ยนมีการจัดการเรี ยนการสอน ใน รายวิชาภาษาจีนเพื่อการสื่ อสารมากขึ้นในระดับมัธยมศึกษาและระดับประถมศึกษาทั้งโรงเรี ยนของรัฐ และเอกชน

4

แม้ว่าการจัดการเรี ยนการสอนภาษาจีนจะได้รับการสนับสนุนจากกระทรงศึกษาธิการและ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาแล้วแต่การจัดการเรี ยนการสอนภาษาจีนนั้นยังมีขอ้ จากัดด้านการเรี ยนการสอน หลายอยูไ่ ม่นอ้ ยเช่น การขาดแคลนหนังสื อแบบเรี ยนและสื่ อการเรี ยนการสอน ขาดครู และบุคลากรที่มีความ เชี่ยวชาญในวิชาที่สอน นักเรี ยนไม่ให้ความสาคัญและสนใจเรี ยนเท่าทีควรเมื่อได้ทาการจัดการเรี ยนการ สอนภาษาจีนแก่นกั เรี ยนโรงเรี ยนพระแม่สกลสงเคราะห์แล้ว พบว่านักเรี ยนไม่สามารถอ่านเสี ยงสัทอักษร (พินอิน) และคาศัพท์ภาษาจีนได้อย่างถูกต้อง เนื่องจากตัวอักษรของสัทอักษร (พินอิน) นั้นออกเสี ยงต่างจาก การออกเสี ยงในภาษาอังกฤษและภาษาไทย จึงจาเป็ นต้องปรับปรุ ง แก้ไขและพัฒนาทักษะการอ่านออก เสี ยงสัทอักษร (พินอิน) อย่างต่อเนื่อง การใช้สื่อบัตรคาศัพท์ภาษาจีนพร้อมคาอ่านพินอินในการจัดการเรี ยนรู้เป็ นการนาเนื้อหาบทเรี ยนใน รู ปแบบสื่ อการเรี ยนการสอนที่เป็ นบัตรคาศัพท์ เพื่อช่วยกระตุน้ ให้ผูเ้ รี ยนมีปฏิสัมพันธ์เชิงโต้ตอบกับ บทเรี ยน ช่วยกระตุน้ ให้ผูเ้ รี ยนมีทกั ษะในด้านการจดจาคาศัพท์ภาษาจีนรวมถึงวิธีการอ่านสัทอักษร (พินอิน) ที่ถูกต้อง ฝึ กให้ผเู ้ รี ยนมีความกระตือรื อร้นในการอ่านและการจดจาคาศัพท์ ผูเ้ รี ยนจะได้เรี ยนรู้หลากหลาย รู ปแบบ สามารถช่วยให้ผูเ้ รี ยนคิดประยุกต์ความรู้ใหม่และความรู้เก่า ผ่านกระบวนการความคิดรวบยอดและ ต่อยอดความรู้ใหม่ได้ดว้ ยตนเองตามศักยภาพของนักเรี ยน ด้วยเหตุผลดังกล่าว ผูว้ ิจยั จึงเห็นว่าการนาบัตรคาศัพท์มาใช้ในการเรี ยนการสอนภาษาจีนในระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนปลายนั้นจะช่วยเป็ นแรงกระตุน้ เสริ มแรงให้ผูเ้ รี ยนเกิดความอยากเรี ยนรู้ อีกทั้งยั้งเป็ นการ ปรับปรุ งกระบวนการเรี ยนการสอนให้เกิดประสิ ทธิภาพ ช่วยพัฒนาทักษะการจาคาศัพท์และการอ่านออก เสี ยงคาศัพท์ภาษาจีน หลังจากที่เรี ยนรู้ในห้องเรี ยนแล้ว ผูเ้ รี ยนยังสามารถนาไปทบทวนได้ดว้ ยตนเองที่บา้ น ส่งผลให้การเรี ยนรู้ภาษาจีนมีการพัฒนาและมีประสิ ทธิภาพเพิ่มมากขึ้น

5

จุดมุ่งหมายในการเรี ยนภาษาจีน คือ เพื่อการสื่ อสาร การเรี ยนภาษาทุกภาษานั้น พื้นฐานเบื้องต้นคือการ ออกเสี ยง ถ้าผูเ้ รี ยนออกเสี ยงไม่ถูก ไม่เพียงแต่ทาให้ผฟู ้ ังไม่เข้าใจยังส่ งผลต่อการสื่ อสารด้วย การออกเสี ยง จึงเกี่ยวกับการฟังและการพูด ดังนี้จึงต้องฝึ กการฟังและการพูดให้ถูกต้องและชัดเจน อันดับแรกในการเรี ยน ภาษาจีนนั้นต้องให้ความสาคัญในเรื่ องของการออกเสี ยงการออกเสี ยงเป็ นปัจจัยสาคัญที่จะส่งผลต่ออนาคต ของผูเ้ รี ยน โดยตรง ถ้าครู ผสู ้ อนสอนทักษะการออกเสี ยงได้ดี ก็จะส่งผลดีต่อผูเ้ รี ยนในอนาคต ทาให้มีทกั ษะ ที่ดีในการสื่ อสารแต่ถา้ สอนแล้วผูเ้ รี ยน ไม่สามารถออกเสี ยงภาษาจีนได้อย่างถูกต้องอาจส่งผลทาให้ผูเ้ รี ยน ไม่ชอบภาษาจีนได้เพราะฉะนั้น ผูเ้ รี ยนจะเรี ยนภาษาจีน ได้ดีหรื อไม่น้ นั ขึ้นอยูก่ บั การเริ่ มเรี ยนการออกเสี ยง ขั้นแรก (Shen Li'na Yu Yanhua, 2009) สิ่ งที่ตอ้ งคานึงถึงเกี่ยวกับการออกเสี ยงอีกอย่างหนึ่งคือ ผูเ้ รี ยนต้องรู้ทกั ษะการออกเสี ยงที่ดีจึงจะทาให้ สามารถสื่ อสารและฟังผูอ้ ื่นได้อย่างเข้าใจ ผูเ้ รี ยนต้องเรี ยนการออกเสี ยงให้ถูกต้องเพื่อจะได้สามารถสื่ อสาร ในสิ่ งที่ตนเองอยากสื่ อสารออกไปให้ผอู ้ ื่นสามารถเข้าใจได้ ตัวอย่างเช่น ในการเรี ยนภาษาผูเ้ รี ยนต้องจา คาศัพท์ ถ้าไม่มีการออกเสี ยงเข้ามาช่วยจะทาให้ไม่สามารถจดจาคาศัพท์น้ นั ได้ หรื อถ้าจาได้อาจจาได้เพียง สั้นๆ จากประสบการณ์การเรี ยนการสอนภาษาต่างประเทศ ระหว่างการเรี ยนภาษาถ้าผูเ้ รี ยนได้ออกเสี ยง มากๆ และออกเสี ยงเป็ นประจาสม่าเสมอจะทาให้จาคาศัพท์และความหมายได้ดีข้ นึ (LuJiaji, 2010)

2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อการพัฒนาทักษะการจดจาคาศัพท์และการอ่านออกเสี ยงคาศัพท์ภาษาจีนโดยใช้บตั รคาศัพท์ ภาษาจีนพร้อมคาอ่านพินอิน สาหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4/3 โรงเรี ยนพระแม่สกลสงเคราะห์

3. ประโยชน์ ที่ได้ รับจากการวิจัย 3.1 ผูเ้ รี ยนมีการพัฒนาทักษะการจาคาศัพท์และการอ่านออกเสี ยงคาศัพท์ภาษาจีน โดยการใช้การ์ ด คาศัพท์ทบทวนด้วยตัวเองเพิ่มมากขึ้น 3.2 เป็ นแนวทางสาหรับผูส้ อน ในการเลือกวิธีการสอนและสื่ อการเรี ยนการสอนให้เหมาะสมกับ การเรี ยนการสอนในปัจจุบนั 4. สมมติฐานของการวิจัย นักเรี ยนระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ห้อง 3 ห้องเรี ยนศิลป์ ภาษาจีน จานวน 20 คน เรี ยนโดยใช้บตั ร คาศัพท์ภาษาจีนพร้อมคาอ่านพินอิน มีการพัฒนาทักษะการจาคาศัพท์และการอ่านออกเสี ยงภาษาจีนเพิ่ม มากขึ้น 6

5. ขอบเขตการวิจัย 5.1 ประชากร นักเรี ยนระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ห้อง 3 ห้องเรี ยนศิลป์ ภาษาจีน ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2565 โรงเรี ยนพระแม่สกลสงเคราะห์ 5.2 กลุ่มตัวอย่าง นักเรี ยนระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ห้อง 3 ห้องเรี ยนศิลป์ ภาษาจีน ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2565 โรงเรี ยนพระแม่สกลสงเคราะห์ จานวน 20 คน โดยใช้วิธีเลือกจากผูเ้ รี ยนที่มีปัญหาเรื่ องการอ่านออกเสี ยง ภาษาจีน (สัทอักษรพินอิน) 5.3 กรอบแนวคิด

วิธีการสอนโดยใช้บตั รคาศัพท์ ภาษาจีนพร้อมคาอ่านพินอิน ทบทวนด้วยตัวเอง

การพัฒนาทางด้านทักษะการจาและ การอ่านออกเสี ยงคาศัพท์ภาษาจีน ทบทวนด้วยตัวเอง

5.4 ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรต้น คือ บัตรคาศัพท์ภาษาจีนพร้อมคาอ่านพินอิน ตัวแปรตาม คือ พัฒนาการทางด้านทักษะการจาและการอ่านออกเสี ยงคาศัพท์ภาษาจีน 5.5 ขอบเขตด้านเนื้อหา ในการวิจยั นี้ เป็ นการวิจยั เชิงสารวจใช้แบบประเมินการอ่านออกเสี ยงคาศัพท์ภาษาจีนและ แบบทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนเป็ นเครื่ องมือหลักในการเก็บรวบรวม ข้อมูล ประกอบด้วยเนื้อหาใน รายวิชาภาษาจีนเพื่อการสื่ อสารโดยแบ่งโครงสร้างแบบฝึ กทักษะออกเป็ น 3 หมวดด้วยกัน หมวดที่ 1 เรื่ อง 饮食 ( อาหารและเครื่ องดื่ม) หมวดที่ 2 เรื่ อง 服装 ( เครื่ องแต่งกาย) หมวดที่ 3 เรื่ อง 爱好 ( งานอดิเรก) 7

5.6 ระยะเวลาที่ใช้ ในการวิจัย ระยะเวลาในการดาเนินการทดลองการทาวิจยั เรื่ องการพัฒนาทักษะการจาคาศัพท์และการอ่านออก เสี ยงคาศัพท์ภาษาจีนโดยใช้บตั รคาศัพท์ภาษาจีนพร้อมคาอ่านพินอิน สาหรับนักเรี ยนระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ห้อง 3 ห้องเรี ยนศิลป์ ภาษาจีน โรงเรี ยนพระแม่สกลสงเคราะห์ ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2565

ระยะเวลาในการทาวิจยั ระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2565 – มกราคม 2566 (1 ชัว่ โมง/สัปดาห์)

กิจกรรมดาเนินการ/ระยะเวลา

พ.ย.

ธ.ค.

ม.ค.

1. ศึกษาสภาพปัญหาแนวทางแก้ปัญหา 2. เขียนโครงงานวิจยั 3. ศึกษาคาศัพท์ในบทเรี ยนภาษาจีน 4.นักเรี ยนทาแบบทดสอบก่อนเรี ยน 5. ฝึ กอ่านคาศัพท์ภาษาจีนในบทเรี ยน 6. ฝึ กสะกดคาศัพท์ดว้ ยตนเอง 7. เก็บรวบรวมข้อมูล 8. สรุ ปและอภิปรายผล 9. จัดทารู ปเล่ม

6. ผลที่คาดว่าจะได้รับ นักเรี ยนระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ห้อง 3 ห้องเรี ยนศิลป์ ภาษาจีน โรงเรี ยนพระแม่สกลสงเคราะห์ จานวน 20 คน มีการพัฒนาทักษะการจาคาศัพท์เพิ่มมากขึ้นและการอ่านออกเสี ยงคาศัพท์ภาษาจีนที่ถูกต้อง 7. นิยามศัพท์เฉพาะ 1. ระบบสัทอักษรพินอิน หมายถึง ระบบในการถ่ายทอดเสี ยงหรื อกากับเสี ยงอ่านของภาษาจีนที่ มาตรฐานและมีประสิ ทธิภาพด้วยตัวอักษรโรมัน (Romaniazation) 8

2. พินอิน หมายถึง การรวมเสี ยงเข้าด้วยกัน 3. องค์ประกอบของการออกเสี ยง หมายถึง พยางค์ พยัญชนะ สระ การอ่านรวมเป็ นพยางค์ พยางค์ที่ ไม่มีเสี ยงพยัญชนะ 4. ทักษะการออกเสี ยงภาษาจีน หมายถึง การที่ผเู ้ รี ยนสามารถออกเสี ยงคาหรื อพยัญชนะและสระ ต่างๆ ในภาษาจีนได้อย่างถูกต้อง 5. บัตรคาศัพท์ หมายถึง บัตรแข็งที่ประกอบด้วยคา หรื อคากับรู ปภาพ และความหมาย 6. นักเรี ยน หมายถึง นักเรี ยนระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ห้อง 3 ห้องเรี ยนศิลป์ ภาษาจีน โรงเรี ยน พระแม่สกลสงเคราะห์

9

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้ อง การวิจยั ในครั้งนี้ การศึกษาเอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็ นพื้นฐานของการศึกษาในการการ พัฒนาทักษะการจาคาศัพท์และการอ่านออกเสี ยงคาศัพท์ภาษาจี นโดยใช้บตั รคาศัพท์ภาษาจีนพร้อมคา อ่านพินอิน ผูว้ ิจยั ได้ศึกษาเอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องตามลาดับหัวข้อต่อไปนี้ สมพงศ์ วิทยศักดิ์พนั ธ์ (2545, หน้า 20) และสรี ยา ทับทัน (2549, หน้า 90) กล่าวว่า การเรี ยน ภาษาไทยสาหรับชาวต่างชาติ ควรใช้สัทอักษรมาช่วยในการเรี ยนการสอน เพราะว่าสัทอักษรจะช่วยบอก ลักษณะของแต่ละหน่วยเสี ยงได้ เมื่อศึกษาและจดจาสัทอักษรได้ทุกตัว เป็ นประโยชน์สาหรับผูเ้ รี ยนที่จะ ช่วยทบทวนและฝึ กหัดออกเสี ยงได้อย่างถูกต้อง อุไรวัลย์ วินทะไชย (2550) การใช้ทฤษฎีแตกต่างระหว่างบุคคล โดยคานึงถึงความถูกต้องความ ถนัด และความสนใจของผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ เป็ นการจัดประสบการณ์เรี ยนรู้แก่ผเู ้ รี ยน ด้วยการให้ผเู ้ รี ยนได้ สร้างองค์ความรู้ดว้ ยตนเองจากสื่ อการเรี ยนแบบต่างๆ ซึ่งได้จดั สร้างขึ้นให้เหมาะสมกับเนื้อหาสาระและ ประสบการณ์ตามหน่วยการสอนวิชาภาษาอังกฤษ ซึ่งช่วยในการเรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยนมากขึ้น เมชณ สอดส่องกฤษ (2552, หน้า 8-30) ได้สรุ ปเรื่ องระบบเสี ยงในภาษาจีนว่ามีส่วนประกอบสาคัญ 3 ส่วน คือ เสี ยงพยัญชนะต้น เสี ยงสระ และเสี ยงวรรณยุกต์ ดังนั้นระบบสัทอักษรจีนจึงประกอบด้วย สัญลักษณ์ 3 ส่วน คือ พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ โดยอักษรที่นามาใช้จะกาหนดแทนเสี ยงที่แน่นอนว่า อักษรใดออกเสี ยงอย่างไร ซึ่งบางครั้งไม่ใช่เสี ยงเดียวกันกับเสี ยงอักษรโรมัน งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง Lu Sheng (2007, หน้า 88) ได้ศึกษาระบบเสี ยงภาษาไทยกับภาษาจีนทั้งสองภาษา พบว่าถึงแม้ว่า ระบบเสี ยงภาษาไทยกับระบบเสี ยงภาษาจีนทั้งสองภาษาต่างกันมาก ถ้านักศึกษามีความรู้พ้นื ฐานเกี่ยวกับ สัทศาสตร์ จะมีส่วนช่วยในการออกเสี ยงภาษาไทยได้ถูกต้อง ทางคณะภาษาและวัฒนธรรมเอเชียอาคเนย์ มหาวิทยาลัยชนชาติยนู นาน ได้เปิ ดสอนวิชาภาษาศาสตร์ให้กบั นักศึกษาตั้งแต่ปีที่ 1 เพื่อให้นกั ศึกษามี ความรู้เกี่ยวกับสัทศาสตร์ ซึ่งจะมีส่วนช่วยในการออกเสี ยงภาษาต่างประเทศ Yang Lizhou (2007, หน้า 92) ได้ศึกษาวิธีการสอนการออกเสี ยงภาษาไทยสาหรับนักศึกษาจีน พบว่า การสอนการออกสี ยงมีความสาคัญมาก สาหรับการสอนภาษาต่างประเทศ ถ้าออกเสี ยงไม่ถูกต้องหรื อ

10

เพี้ยนไป จะมีผลกระทบต่อการเรี ยนคาศัพท์และไวยากรณ์ดว้ ย การฝึ กอ่านออกเสี ยงไม่ใช่แค้ฝึกในระยะแรก ที่เริ่ มเรี ยนภาษา ต้องแก้ออกเสี ยงผิดของนักศึกษาทุกครั้งที่ผิดตลอดระยะ 4ปี การวิจยั เรื่ องการเรี ยนเสี ยงวรรณยุกต์ภาษาจีน สาหรับนักเรี ยนมัธยมที่ประเทศไทย วิจยั นี้ได้ผล ออกมาว่า สาหรับนักเรี ยนไทยที่เรี ยนเสี ยงวรรณยุกต์ภาษาจีน เสี ยงที่ยากที่สุดเป็ นเสี ยงที่สองต่อจากนั้นเป็ น เสี ยงที่สาม เสี ยงที่สี่และเสี ยงที่หนึ่งตามลาดับ หลังจากที่ผวู ้ ิจยั ได้วิเคราะห์ปัญหาเหล่านี้แล้วได้ให้ขอ้ แนะนา ว่า อันดับแรกในการฝึ กออกเสี ยงวรรณยุกต์ตอ้ งใช้เวลาให้มากเป็ นพิเศษในการฝึ กการออกเสี ยง ต่อมาคือ การหาวิธีการสอนที่หลากหลายมาเพิ่มเติม (Kue Dongmei,2008) การวิจยั เรื่ อง การศึกษาการเรี ยนการสอนการออกเสี ยงภาษาจีนสาหรับนักเรี ยนไทยวิจยั เรื่ องนี้มีผล จากการศึกษาว่า อย่างแรกคือการออกเสี ยงมีความยาก โดยในการออกเสี ยงพยัญชนะและเสี ยงสระบางตัวที่ ในภาษาไทยมีแต่ภาษาจีนไม่มี หรื อในบางทีที่ภาษาจีนมีแต่ภาษาไทยไม่มกี ารออกเสี ยงวรรณยุกต์ที่มีปัญหา คือการนาเสี ยงวรรณยุกต์ท้งั เสี ยงมาเทียบเคียงในการออกเสี ยงภาษาจีน ลาดับต่อมาจากผลการวิจยั ผูว้ ิจยั ได้ สรุ ปความยากในการออกเสี ยงวรรณยุกต์ของนักเรี ยนไทยมาเป็ นลาดับ (m ,f, t, n. 1, g) < (b, d

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.