Minimalist Abstract Flower Blank A4 Document Flipbook PDF


53 downloads 120 Views 13MB Size

Recommend Stories


CLASIFICADORES CLASIFICADOR DE PARED - A4 CLASIFICADOR DE SOBREMESA - A4 CLASIFICADOR GIRATORIO - A4 CLASIFICADOR PLASTICO A4
CLASIFICADORES CLASIFICADOR DE PARED - A4 Sistema modulable y resistente en acero, extensible al infinito. - Se combina con 10 fundas con pivotes A4.

Flower Show 2015
f e r i a s f e r i a s f e r i a s f e r i a s f e r i a s f e r i a s f e r i a s f e r i a s f e r i a s f e r i a s Eurasia Plant Fair / Flower S

2009 IFES 62. Tab Number: Document Title: Document Date: Chile. Document Country: Spanish. Document Language: CE00465
Date Printed: 04/09/2009 JTS Box Number: IFES 62 Tab Number: 29 Document Title: Oerechos Humanos Y Democracia Document Date: 1989 Document Co

Story Transcript

Portfolio

เสนอ รองศาสตราจารย์ ดร.สำราญ กำจัดภัย จัดทำโดย นางสาวชลิตา ศิรินาม รหัสนักศึกษา 64115244228 นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

ข้อมูลส่วนตัว ชื่อ นางสาวชลิตา ศิรินาม ชื่อเล่น เจน รหัสนักศึกษา 64115244228 หมู่เรียนที่ 2 อายุ 20 ปี เกิดวันที่ 27 กรกฎาคม 2545 ปัจจุบันศึกษาที่ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นปีที่ 2 ข้อมูลติดต่อ 29 หมู่ 2 บ้านอีกุด ตำบลกุสุมาลย์ อำเภอกุสุมาลย์ จังหวัดสกลนคร 47210 โทร : 0932437008

คำนำ หนังสือเล่มเล็กนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการวัดและ ประเมินการศึกษาและการเรียนรู้ รหัสวิชา 21042103 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อสรุปบทเรียนของแต่ละหน่วยการเรียนรู้ โดยหนังสือเล่มเล็กเล่มนี้มี เนื้อหาเกี่ยวกับกับบทเรียนของรายวิชาการวัดและประเมินการศึกษาและ การเรียนรู้ ทั้งเรื่องการวิเคราะห์ตัวชี้วัดเพื่อออกแบบหน่วยการเรียนรู้ การ ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลโดยใช้แบบทดสอบชนิด ต่าง ๆ การตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบ และเทคนิคต่าง ๆ ที่ได้ เรียนรู้ หนังสือเล่มเล็กเล่มนี้สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยความกรุณาจาก รองศาสตร์ ตราจารย์ดร. สำราญ กำจัดภัย ที่ได้ให้คำปรึกษาในการทำงานครั้งนี้ ข้าพเจ้าหวังว่าหนังสือเล่มเล็กเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่ศึกษา หากผิด พลาดประการใดข้าพเจ้าขอน้อมรับและขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย

ใบความรู้ที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ ความหมายของการเรียนรู้

พฤติกรรมการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย

พฤติกรรมการเรียนรู้ด้านจิตพิสัย พฤติกรรมการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย

“ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ค่อนข้างถาวรอันเนื่องมาจากการได้ รับประสบการณ์ “ การเรียนรู้ของผู้เรียนหมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ของนักเรียนที่ค่อนข้างถาวร ทั้งที่แสดงออกให้เห็นได้ชัด หรือพฤติกรรมที่แฝงอยู่ในตัว พร้อมที่จะแสดงออกได้ทุกเมื่อ

ความหมายของการเรียนรู้

พฤติกรรมด้านสมองเป็นพฤติกรรม เกี่ยวกับสติปัญญา ความรู้ความคิด ความเฉลียว ฉลาด ความสามารถในการคิดเรื่องราวต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งเป็นความสามารถ ทางสติปัญญา

ระดับความสามารถทางสมองสามารถจำแนกออกเป็น 6 ระดับ ดังนี้ 1. ความรู้ (knowledge) หรือความจำ 2. ความเข้าใจ (comprehension) การแปลความ การตีความ การ ขยายความ 3. การนำไปใช้ ( application) 4. การวิเคราะห์ (analysis) การวิเคราะห์ส่วนประกอบ การวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ การวิเคราะห์หลักการ 5. การสังเคราะห์ (synthesis) 6. การประเมินค่า (evaluation)

พฤติกรรมการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย

แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ พฤติกรรมการเรียนรู้ด้านจิตพิสัย เป็นพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับความรู้สึก ความเชื่อ เจตคติ ค่านิยม ซึ่งเป็นรากฐานที่ก่อเกิดบุคลิกภาพหรือลักษณะนิสัยของบุคคล

พฤติกรรมการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย เป็นความสามารถของบุคคลในการใช้อวัยวะต่างๆ ของร่างกายทางานอย่างประสานสัมพันธ์ กัน โดยจะมีขั้นตอนของการเกิดพฤติกรรมไปตามลาดับ เช่น ลำดับขั้นการเกิดทักษะปฏิบัติของ Dave ซึ่งมี 5 ขั้น ดังนี้ 1. รับรู้และเลียนแบบ (Imitation) เป็นความสามารถด้านการปฏิบัติขั้นแรกเริ่มที่ แสดงออกในลักษณะการทาเลียนแบบช้าๆ โดยที่ยังไม่ได้ผลสมบูรณ์ 2. ลงมือปฏิบัติและทำตามได้ (Manipulation) เป็นความสามารถในการควบคุม การเคลื่อนไหว แสดงออกโดยการทำตามแบบที่มีคำสั่งชี้แจงที่จะพัฒนาทักษะ 3. ลดความผิดพลาดจนสามารถทำได้ถูกต้อง (Precision) เป็นความสามารถใน การปฏิบัติอย่างมีทักษะ โดยปราศจากคำแนะนำหรือรูปแบบ 4. ปฏิบัติได้อย่างชัดเจนและต่อเนื่อง (Articulation) เป็นความสามารถในการปฏิบัติอย่าง ต่อเนื่องประสานกันมีประสาทสัมผัสคล่องแคล่ว 5. ปฏิบัติได้อย่างเป็นธรรมชาติ (Naturalization) เป็นความสามารถในการปฏิบัติระดับสูง คือทาได้อย่างเป็นอัตโนมัติ

สรุปใบความรู้ที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ การเรียนรู้ของผู้เรียนหมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของนักเรียนที่ค่อนข้างถาวร ทั้งที่ แสดงออกให้เห็นได้ชัด หรือพฤติกรรมที่แฝงอยู่ในตัว พร้อมที่จะแสดงออกได้ทุกเมื่อ พฤติกรรมการเรียนรู้แบ่งออกได้ 3 ด้านหลักๆ ได้แก่ 1) พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย (Cognitive) เช่น ความจำ ความเข้าใจ การคิดในรูปแบบต่าง ๆ 2) พฤติกรรมด้านจิตพิสัย (Affective) เช่น ความรู้สึก ความเชื่อ เจตคติ ค่านิยม เป็นต้น 3) พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย (Psychomotor) เป็นพฤติกรรมเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว การ ปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ

ใบความรู้ที่ 2

แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการวัด และประเมินผลการเรียนรู้ แนวคิดเกี่ยวกับการวัดผล แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินผล แนวทางการนำผลการประเมินการเรียนรู้ไปใช้ประโยชน์ บทสรุป

“การวัดผลการเรียนรู้” ในสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องระหว่างครูผู้ สอนกับผู้เรียน ก็น่าจะหมายถึง กระบวนการที่ครูผู้สอนนำ เครื่องมืออย่างใดอย่างหนึ่งไปใช้กับผู้เรียน โดยมีจุดมุ่งหมาย เพื่อให้ผู้เรียนตอบสนองหรือแสดงพฤติกรรมการเรียนรู้ออกมา ซึ่งเป็น พฤติกรรมที่คาดว่าเปลี่ยนแปลงไปค่อนข้างถาวร อัน เป็นผลเนื่องมากจากการได้รับประสบการณ์ที่ครูจัดให้

“การประเมินผลการเรียนรู้” กระบวนการตัดสินคุณค่าหรือ คุณภาพเกี่ยวกับการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยมีการเก็บรวบรวม และจัดกระทำข้อมูลเพื่อตัดสินระดับคุณภาพตามเกณฑ์หรือ มาตรฐานที่ได้ตั้งไว้อย่างชัดเจน จุดมุ่งหมายของการประเมิน ผลอยู่ที่การตัดสินคุณค่า เกี่ยวกับการเรียนรู้ของผู้เรียน และผู้ ตัดสินคุณค่านี้ต้องเป็นผู้ประเมินหรือครูผู้สอน ถ้า ผู้ประเมิน ไม่ได้ตัดสินคุณค่าสิ่งประเมินถือว่ายังทำหน้ าที่ไม่สมบูรณ

แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินผล

แนวคิดเกี่ยวกับการวัดผล

แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการวัด

และประเมินผลการเรียนรู้ แนวทางการนำผลการประเมิน การเรียนรู้ไปใช้ประโยชน์ 1. การใช้ผลการประเมินเพื่อวางแผนการจัดการเรียนรู้ 2.การใช้ผลการประเมินเพื่อปรับปรุงพัฒนา 3.การใช้ผลการประเมินเพื่อสรุปและตัดสินผลการเรียนรู้

บทสรุป

การประเมินผลการเรียนรู้ทั้ง 2 กระบวนการนี้ จะเห็นว่า Assessment กับ Evaluation มี ขั้นตอนหลักที่เหมือนกัน คือ การ เก็บรวบรวมข้อมูล และการจัดกระทำหรือวิเคราะห์ข้อมูล มีการใช้ทั้ง ในขณะดำเนินการจัดการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง (Formative) และช่วงท้าย การจัดการเรียนการสอนเพื่อหาข้อสรุป (Summative) แต่อาจแตกต่างกันในเทคนิคปลีกย่อย ทั้งนี้เพราะทั้ง 2 กระบวนการ มีจุดมุ่งหมายของการประเมินที่ไม่เหมือนกัน

สรุปใบความรู้ที่ 2 แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ การวัดผลการเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ครูนำเครื่องมืออย่างใดอย่างหนึ่งไปใช้กับนักเรียน เพื่อให้นักเรียนแสดงพฤติกรรมการเรียนรู้ออกมา การประเมินผลการเรียนรู้กระบวนการตัดสินคุณค่าหรือคุณภาพเกี่ยวกับการเรียนรู้ของ นักเรียน มีแนวทางการนำผลการประเมินมาใช้ประโยชน์ ดังนี้

1. การใช้ผลการประเมินเพื่อวางแผนการจัดการเรียนรู้ 2.การใช้ผลการประเมินเพื่อปรับปรุงพัฒนา 3.การใช้ผลการประเมินเพื่อสรุปและตัดสินผลการเรียนรู้ Assessment กับ Evaluation มีขั้นตอนหลักที่เหมือนกัน คือ การเก็บรวบรวมข้อมูล และ การจัดกระทำหรือวิเคราะห์ข้อมูล มีการใช้ทั้งในขณะด าเนินการจัดการเรียนการสอนอย่าง ต่อเนื่อง (Formative) และช่วงท้าย การจัดการเรียนการสอนเพื่อหาข้อสรุป (Summative) แต่อาจแตกต่างกันในเทคนิค ปลีกย่อย ทั้งนี้เพราะทั้ง 2 กระบวนการมีจุดมุ่งหมายของการ ประเมินที่ไม่เหมือนกัน

ใบความรู้ที่ 3

ความสาคัญประเภท หลักการ และ จุดมุ่งหมาย ของการวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ ความสาคัญของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้

ประเภทของการวัดและประเมนิผลการเรียนรู้

หลักการของการวัดและประเมนิผลการเรียนรู้

จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้

1การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ก่อนเรียน ต่อผู้เรียน เพื่อใช้เป็นฐานในการตรวจสอบ พัฒนาการหรอืความก้าวหน้าของตนเองภายหลังการได้ รับประสบการณ์ที่ผู้สอนจัดให้ รวมทั้งจากที่ได้ศึกษาเพื่อปฏิบัติเพิ่มเติมด้วยตนเอง ต่อผู้สอน ได้ข้อมูลสารสนเทศพ้ืนฐานของผเู้รียนเป็นรายบุคคลและภาพรวม ทั้งชั้นสาหรับนามาใช้ ประกอบการพิจารณาวางแผนการจัดการเรยีนการสอนในภาพรวม ทั้งรายวิชา 2. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างการเรียนการสอน ต่อผู้เรียน เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดกระทำให้ได้สารสนเทศทั้งจุดแข็งและจุดที่ควรปรับปรุง จากนั้นให้ ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียน ในลักษณะคำแนะนำที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตน ต่อผู้สอน ได้ข้อมูลสารสนเทศทั้งที่เป็นจุดเด่นและจุดที่ควรปรับปรุง สำหรับให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้ เรียน เพื่อนำไปปรับปรุงแก้ไข หรือพัฒนาให้ดียิ่ง ๆ ขึ้น 3. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้หลังจบหน่วยการเรียนรู้และหลังจบรายวิชา . ต่อผู้เรียน ได้ทราบว่าบทเรียนหรือหน่วยการเรียนรู้นั้นๆตนมีระดับคุณภาพการเรียนรู้อยู่ในระดับใด เป็นประโยชน์ตอ่การปรับปรุงแก้ไขผลการเรียนรู้ในบทเรียนหรือหน่วยการเรียนรู้ดังกล่าว ต่อผู้สอน ได้ทราบว่า ผู้เรียนแตล่ะคนบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้ที่ระบุไว้ในบทเรียนหรอืหนว่ยการ เรียนรู้นั้นๆ หรือไม่ และพิจารณาปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนใหม่ ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จำแนกตามขั้นตอนการ จัดการเรียน การสอน ก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลัง เรียน 1. การวัดและการประเมินเพื่อจัดวางตาแหนง่ (Placement assessment) เป็นการวัดและการ ประเมินก่อนเริ่มเรียน 2. การวัดและการประเมินเพื่อวินจิ ฉัย(Diagnosticassessment)เป็น การวัดและการ ประเมินเพื่อค้นหาว่าผเู้รียนรู้อะไรมาบ้างเกี่ยวกับสิ่งที่จะ เรียนมากน้อย เพียงใด 3. การวัดและการประเมินเพื่อการพัฒนา หรือการวัด และการประเมินย่อย (Formative assessment) เป็นการวัดและการประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ 4. การวัดและการประเมินเพื่อสรุปผลการเรียนรู้ หรือ การวัดและประเมินเพื่อ สรุปรวบ ยอด(Summativeassessment)มักใชเ้มื่อจบบทเรียน หรอืหนว่ยการเรียนรู้

ความสาคัญของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ความสำคัญประเภท หลักการ และ จุดมุ่งหมาย ของการวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้

หลักการของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 1. การวัดและการประเมินเพื่อจัดวางตำแหน่ง เป็นการวัดและการประเมินก่อนเรียน เพื่อ พิจารณาว่าผู้เรียนมีความพร้อม ความสนใจระดับใด 2. การวัดและการประเมินเพื่อวินิจฉัย เพื่อค้นหาว่าผู้เรียนรู้อะไรมาบ้างเกี่ยวกับสิ่งที่จะเรียน จุดใดสมบูรณ์แล้ว จุดใดยังบกพร่องอยู่ ใช้เพื่อค้นหาสาเหตุของปัญหาหรืออุปสรรคต่อการ เรียนรู้ของผู้เรียนเป็นรายบุคคลที่มักจะเป็นเฉพาะเรื่อง เช่น ปัญหาการออกเสียงไม่ชัด 3. การวัดและการประเมินเพื่อการพัฒนา เป็นการวัดและการประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ที่ ดำเนินการอย่างต่อเนื่องตลอดการเรียนการสอน เพื่อให้เกิดความก้าวหน้าในการเรียนรู้บรรลุ ตามเป้าหมายการเรียนรู้ที่ตั้งไว้ 4. การวัดและการประเมินเพื่อสรุปผลการเรียนรู้ ใช้เมื่อจบบทเรียนหรือหน่วยการเรียนรู้ เพื่อ ตรวจสอบผลการเรียนรู้ของผู้เรียนตามเป้าหมายการเรียนรู้ที่ตั้งไว้ เพื่อให้ทราบพัฒนาการ ของผู้เรียน

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้จาแนกตามวิธีการแปลความ หมาย ผลการเรียนรู้ หรือตามการอ้างอิง 1. การวัดและการประเมินแบบอิงตน (Self –referenced assessment) เป็นการวัดและประเมินโดยการนาเอาผลจากการ เรียนรู้มาเปรียบเทียบกับความสามารถ ของตนเองที่มีอยู่เดิม 2. การวัดและประเมินแบบอิงกลุ่ม (Norm-referenced assessment) เป็น การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เพื่อนา เสนอผลการตัดสินความสามารถหรือผลสัมฤทธิ์ ของผู้เรียน 3. การวัดและประเมินแบบอิงเกณฑ์ (Criterion-referenced assessment) เป็นการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เพื่อนา เสนอผลการตัดสินความสามารถหรอื ผลสัมฤทธิ์ของผเู้ รียน โดย เปรียบเทียบกบั เกณฑท์ ี่กาหนดขึน้ การวัดและประเมินใน ลักษณะนี้“เกณฑ์”ที่ใชใ้นการวัดและประเมินผลการเรียนรู้จะต้องมี ความเหมาะสม เพราะเป็นองค์ประกอบที่มีสาคัญมาก

ประเภทของการวัดและประเมนิผลการเรียนรู้

จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 1. เพื่อตรวจสอบผลการปฏิบัติทั้งในด้านผเู้รียน (การเรียนรู้) และ ด้านผู้สอน (การสอน) รวมถึงผลรวมของหลักสูตร 2. เพื่อตรวจสอบผลและเป็น ข้อมูลย้อนกลับ(Feedback)เพื่อการสรุปและแก้ไขปรับปรุงในแตล่ะสว่นของกระบวนการ เรียนการสอน 3. เพื่อให้การจัดการศกึ ษาของสถาบันการศึกษานั้น ๆ มีคุณภาพ เป็นที่ยอมรับ ทั้งในคุณภาพการดาเนินงาน และ คุณภาพของผลผลิตหรอื ผู้จบการศกึ ษา 4. เพื่อสารวจ ตรวจสอบความพรอ้ ม หรอื พื้นฐานความรหู้ รอื ความสามารถที่จาเป็นสาหรับการเรียนรู้ส่งิ ใหม่เพื่อ พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรยี นใหบ้ รรลุตามเป้าหมาย การเรียนรู้เพื่อตัดสินผลการเรียน หรอืให้ระดับผลการ เรียน(ตดัเกรด)ในแต่ละรายวิชา 5. เพื่อการแก้ไขปรับปรุง โดยอาจเพิ่มเวลาในการเรียนรู้ หรือ จัดกิจกรรมซ่อมเสริมให้กับผเู้รียน

สรุปใบความรู้ที่ 3 ความสำคัญประเภท หลักการ และจุดมุ่งหมายของการวัด และประเมินผลการเรียนรู้ ความสำคัญต่อผู้เรียน เมื่อผู้สอนแจ้งวิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ทำให้ผู้เรียนรู้ว่า ตนเองมีพื้นฐานความรู้ เกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ เพียง ใด เพื่อใช้ประเมินตนเอง การเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน ทั้งข้อมูลเชิงปริมาณและข้อมูลเชิงคุณภาพ ควรใช้เทคนิค วิธีการที่หลากหลาย แล้วนำข้อมูลที่ได้มาจัดกระทำให้ได้สารสนเทศทั้งจุดแข็งและจุดที่ควรปรับปรุง จากนั้นให้ข้อมูลย้อนกลับ แก่ผู้เรียน เมื่อผู้สอนมีการวัดและประเมินเพื่อสรุปผลการเรียนรู้ พร้อมกับแจ้งผลการประเมินให้ผู้เรียนทราบ ใน 2 แบบ คือ 1) หลังเรียนจบ บทเรียน หรือหน่วยการเรียนรู้ 2) หลังเรียนจบรายวิชาเพื่อตัดสินให้ระดับผลการเรียน ความสำคัญต่อผู้สอน การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ก่อนจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในระหว่างจัดการเรียน การสอนแต่ละบทเรียนหรือหน่วยการเรียนรู้ของแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินเพื่อสรุปผลการเรียนรู้ ทั้ง 2 แบบ คือ 1) การวัดและประเมินหลังเรียนจบบทเรียน หรือหน่วยการเรียนรู้หนึ่งๆ 2) หลังเรียนจบรายวิชาเพื่อตัดสินให้ระดับผลการเรียน (ตัดเกรด) จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การกำหนดจุดมุ่งหมายตามบทบาทและหน้าที่สำคัญ ๆ ของการวัดและประเมินผลนั้น จะ ครอบคลุมทั้งระบบการศึกษา และทุกระดับของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ไม่ว่าจะเป็นระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา และระดับที่สูง กว่าขึ้นไป แต่ในส่วนของการกำหนดจุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 นั้น จะเน้นที่จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ระดับชั้นเรียน หลักการของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อให้การดำเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นไปอย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ และให้ผลการประเมินที่ตรงตาม ความรู้ความสามารถที่แท้จริงของผู้เรียน ถูกต้องตามหลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้รวมทั้งสามารถรองรับการประเมินภายในและการ ประเมินภายนอก ตามระบบประกันคุณภาพการศึกษาได้ สถานศึกษาจึงควรกำหนดหลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เพื่อเป็นแนวทางใน การตัดสินใจเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา

ใบความรู้ที่ 4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้โดย ใช้แบบทดสอบความเรียงหรืออัตนัย ความหมายของแบบทดสอบความเรียง

หลักการหรือแนวทางในการสร้างแบบ ทดสอบความเรียง แนวทางการตรวจให้คะแนนข้อสอบความเรียง

เป็นชุดของข้อคำถามที่ผู้สอนกาหนดขึ้น เพื่อให้ผู้รียนเขียนเรียบ เรียงคาตอบอย่างอิสระ โดยใช้ความรู้ ความสามารถในการคิด ระดับสูงต่าง ๆ อาทิ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ริเริ่ม สร้างสรรค์ และ ประเมินค่า รวมทั้งความสามารถใน การจัดระบบแนวคิดและ ทักษะการเขียน สาหรับนำมาใช้ในการเขียนเรียบเรียงคำตอบให้ ตรงตามประเด็นข้อคาถามนั้น ๆ

ความหมายของแบบทดสอบความเรียง

1) เลือกและกำหนดผลการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับการใช้สติปัญญาขั้นสูง ที่ไม่สามารถวัดได้โดยใช้แบบทดสอบปรนัย หรือการทดสอบภาคปฏิบัติ 2) กำหนดจำนวนข้อคาถามในแต่ละผลการเรียนรู้ที่เลือกไว้ โดยควรเลือกใช้ ข้อคาถามที่มีคำตอบไม่ยาวนักจะได้ออกได้หลายข้อ 3) เขียนข้อคาถามโดยใช้ถ้อยคาที่ชัดเจน สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่ ต้องการวัด 4) ระบุน้ำหนักคะแนน ความยาวของคาตอบ และช่วงระยะเวลา โดยประมาณในการทำข้อสอบแต่ละข้อ 5) ระบุเกณฑก์ารให้คะแนนข้อสอบความเรียงให้ผู้เรียนทราบด้วย 6) ตรวจสอบคุณภาพเบื้องต้นของข้อสอบแต่ละข้อก่อนนำไปใช้ 7) หลังการนำข้อสอบไปใช้ ควรมีการทบทวนแนวหรือขอบข่ายคำตอบของผู้เรียนในแต่ละข้อ

หลักการหรือแนวทางในการสร้าง แบบทดสอบความเรียง

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้โดยใช้ แบบทดสอบความเรียงหรืออัตนัย

แนวทางการตรวจให้คะแนนข้อสอบความเรียง

1) สร้างเกณฑ์การให้คะแนน (Rubrics) อย่างละเอียดชัดเจน โดยในแต่ละ ข้อคำถามควร สร้างแบบจำลองคำตอบ (Model answer) ที่มีการแยกย่อยคำตอบตาม ประเด็นสาคัญ ๆ พร้อมระบุน้าหนักคะแนนในแต่ละประเด็นย่อย 2) ควรระมัดระวังเกี่ยวกับความลาเอียงหรืออคติ 3) ควรตรวจให้คะแนนคาตอบของผู้เรียนทุกคนให้เสร็จทีละข้อคำถามใน เวลาที่ต่อเนื่องกัน

4) ในกรณีที่จำเป็นต้องใช้ผู้ตรวจหลายคนและผู้ตรวจทุกคนไม่สามารถตรวจทุกข้อคำถามของผู้เรียนทุกคน ได้ ควรปฏิบัติดังนี้ “แบ่งข้อสอบให้ผู้ตรวจคนละหนึ่ง หรือสองข้อแล้วตรวจให้คะแนนคาตอบข้อนั้น ๆ ของผู้ เรียนทุกคน จากนั้นค่อยนำคะแนนของแต่ละข้อมารวมกัน 5) ในขณะตรวจให้คะแนนข้อคeถามหนึ่งๆ ควรเก็บรวบรวมบันทึกข้อผิดพลาดต่าง ๆ ที่ผู้ตรวจได้มีการหัก คะแนนไว้ 6) ไม่ควรนำเอาประเด็นความถูกต้องเกี่ยวกับไวยากรณ์ หรือโครงสร้างของ ประโยคหรือข้อผิดพลาดเกี่ยว การสะกดคำ มาเป็นเกณฑ์ในการตรวจให้คะแนนคำตอบของผู้เรียนเว้นเสียแต่ว่าทักษะการเขียนเหล่านี้ได้ กำหนดไว้ในวัตถุประสงค์ของรายวิชาที่ต้องการวัดและประเมินผล

สรุปใบความรุ้ที่ 4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้โดยใช้แบบทดสอบความเรียงหรืออัตนัย การวัดและประเมินผลการเรียนรู้โดยใช้แบบทดสอบ เป็นข้อคำถามที่ผู้สอนกำหนดขึ้น เพื่อให้ผู้เรียนเขียนเรียบ เรียงคำตอบอย่างอิสระ โดยใช้ความรู้ ความสามารถในการคิดระดับสูงต่าง ๆ จุดแข็งของแบบทดสอบความ เรียง คือ สามารถวัดสิ่งที่ต้องการวัดได้ลึกซึ้ง ส่วนจุดอ่อนก็คือ “ความเป็นปรนัย” แนวทางในการสร้าง 1) เลือกและกำหนดผลการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 2) กำหนดจำนวนข้อคำถามในแต่ละผลการเรียนรู้ที่เลือกไว 3) เขียนข้อคำถามโดยใช้ถ้อยคำที่ชัดเจน สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่ต้องการวัด 4) ระบุน้ำหนักคะแนน ความยาวของคำตอบ และช่วงระยะเวลา 5) ระบุเกณฑ์การให้คะแนนข้อสอบความเรียงให้ผู้เรียนทราบด้วย 6) ตรวจสอบคุณภาพเบื้องต้นของข้อสอบแต่ละข้อก่อนนำไปใช้ 6.1) ตรวจสอบด้วยตนเอง 6.2) สอบถามเพื่อนร่วมงานที่มีความรู้ 7) หลังการนำข้อสอบไปใช้ ควรมีการทบทวนแนวหรือขอบข่ายคำตอบของผู้เรียน แนวทางการตรวจ 1) สร้างเกณฑ์การให้คะแนน (Rubrics) อย่างละเอียดชัดเจน 2) ควรระมัดระวังเกี่ยวกับความลำเอียงหรืออคติ 3) ควรตรวจให้คะแนนคำตอบของผู้เรียนทุกคนให้เสร็จทีละข้อคำถามในเวลาที่ต่อเนื่องกัน 4) ในกรณีที่จำเป็นต้องใช้ผู้ตรวจหลายคน ควรแบ่งข้อสอบให้ผู้ตรวจคนละหนึ่ง แล้วตรวจให้คะแนนคำตอบข้อ นั้น ๆ จากนั้นค่อยนำคะแนนของแต่ละข้อมารวมกัน 5) ควรเก็บรวบรวมบันทึกข้อผิดพลาดต่าง ๆ 6) ไม่ควรนำเอาประเด็นความถูกต้องเกี่ยวกับไวยากรณ์

ใบความรู้ที่ 5

แบบทดสอบปรนัยชนิดถูกผิด ความหมายและลักษณะของแบบทดสอบปรนัยชนิดถูกผิด หลักการหรือแนวทางในการสร้างแบบทดสอบปรนัยชนิดถูก

หลักการในการสร้างแบบ ทดสอบปรนัยชนิดถูกผิด

แบบทดสอบปรนัยชนิดถูกผิด

ความหมาย เป็นชุดของข้อความซึ่งอาจเขียนอยู่ในรูปประโยคบอก เล่าธรรมดาหรือประโยคคำถามก็ได้ เพื่อให้ผู้เรียน พิจารณาว่าข้อความนั้น ๆ ถูกหรือผิดตามหลักวิชา

1) เขียนคำชี้แจงในการทำแบบทดสอบให้ชัดเจนว่า 2) ข้อความที่เป็นสถานการณ์ของข้อคำถามจะต้องถูกหรือผิดอย่างแท้จริง โดยไม่มีข้อยกเว้น 3) เขียนข้อความที่เป็นสถานการณ์ของข้อคำถามด้วยภาษาที่เรียบง่าย และ ชัดเจนที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ 4) ในแต่ละข้อคำถามควรถามเพียงประเด็นเดียว 5) ในแต่ละข้อคำถามควรให้ข้อมูลสารสนเทศพื้นฐานที่เพียงพอ 6) หลีกเลี่ยงการลอกข้อความจากหนังสือเรียนหรือจากสมุดจดคำบรรยาย หรือจากแหล่งอื่น ๆ มาเป็นข้อความที่ถาม 7) ข้อคำถามโดยทั่วไปนิยมเขียนอยู่ในรูปประโยคบอกเล่าธรรมดา ประโยคปฏิเสธ ให้ขีดเส้นใต้คำปฏิเสธนั้นอย่างชัดเจน 8) ควรหลีกเลี่ยงการใช้คำศัพท์ที่ผู้เรียนไม่คุ้นเคย 9) ควรหลีกเลี่ยงคำบางคำที่เป็นเครื่องชี้คำตอบ 10) ไม่ควรใช้ข้อความปฏิเสธซ้อน 11) คำตอบของข้อคำถามควรถูกหรือผิดตามหลักวิชา 12) สิ่งที่กำหนดว่าถูกหรือผิดควรเป็นส่วนสำคัญของข้อความ และเกี่ยวข้องกับข้อความที่ถาม 13) ข้อคำถามแต่ละข้อควรเป็นอิสระแก่กัน 14) ควรให้มีจำนวนข้อถูกข้อผิดใกล้เคียงกัน 15) ข้อถูกและข้อผิดควรอยู่กระจายกันออกไป 16) ในกรณีที่ข้อสอบหลายประเภทอยู่ในฉบับเดียวกัน ควรจัดข้อสอบแบบถูก-ผิดไว้ตอนต้น ๆ

สรุปใบความรู้ที่ 5 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้โดยใช้แบบทดสอบ: แบบทดสอบปรนัยชนิดถูกผิด ความหมาย เป็นชุดของข้อความซึ่งอาจเขียนอยู่ในรูปประโยคบอกเล่าธรรมดาหรือประโยคคำถามก็ได้ เพื่อให้ผู้เรียนพิจารณาว่าข้อความนั้น ๆ ถูกหรือผิดตามหลักวิชา แนวทางในการสร้างแบบทดสอบ 1) เขียนคำชี้แจงในการทำแบบทดสอบให้ชัดเจนว่า 2) ข้อความที่เป็นสถานการณ์ของข้อคำถามจะต้องถูกหรือผิดอย่างแท้จริง โดยไม่มีข้อยกเว้น 3) เขียนข้อความที่เป็นสถานการณ์ของข้อคำถามด้วยภาษาที่เรียบง่าย และชัดเจนที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ 4) ในแต่ละข้อคำถามควรถามเพียงประเด็นเดียว 5) ในแต่ละข้อคำถามควรให้ข้อมูลสารสนเทศพื้นฐานที่เพียงพอ 6) หลีกเลี่ยงการลอกข้อความจากหนังสือเรียนหรือจากสมุดจดคำบรรยายหรือจากแหล่งอื่น ๆ มาเป็นข้อความที่ถาม 7) ข้อคำถามโดยทั่วไปนิยมเขียนอยู่ในรูปประโยคบอกเล่าธรรมดา ประโยคปฏิเสธ ให้ขีดเส้นใต้คำปฏิเสธ นั้นอย่างชัดเจน 8) ควรหลีกเลี่ยงการใช้คำศัพท์ที่ผู้เรียนไม่คุ้นเคย 9) ควรหลีกเลี่ยงคำบางคำที่เป็นเครื่องชี้คำตอบ 10) ไม่ควรใช้ข้อความปฏิเสธซ้อน 11) คำตอบของข้อคำถามควรถูกหรือผิดตามหลักวิชา 12) สิ่งที่กำหนดว่าถูกหรือผิดควรเป็นส่วนสำคัญของข้อความ และเกี่ยวข้องกับข้อความที่ถาม 13) ข้อคำถามแต่ละข้อควรเป็นอิสระแก่กัน 14) ควรให้มีจำนวนข้อถูกข้อผิดใกล้เคียงกัน 15) ข้อถูกและข้อผิดควรอยู่กระจายกันออกไป 16) ในกรณีที่ข้อสอบหลายประเภทอยู่ในฉบับเดียวกัน ควรจัดข้อสอบแบบถูก - ผิดไว้ตอนต้น ๆ

ใบความรู้ที่ 6 แบบทดสอบปรนัยชนิดจับคู่ ความหมายและลักษณะของแบบทดสอบปรนัยชนิดจับคู่ หลักการหรือแนวทางในการสร้างแบบทดสอบปรนัยชนิดจับคู่

มีลักษณะโดยทั่วไปมักจะวางกลุ่มของคำ วลี ตัวเลข 2 คอลัมน์ คอลัมน์ซ้ายและคอลัมน์ขวา โดยคอมลัมน์ซ้าย เป็นกลุ่มคำถาม ส่วน คอมลัมน์ขวา เป็นกลุ่มคำตอบ

ความหมาย

แบบทดสอบปรนัยชนิดจับคู่ แนวทางการสร้าง 1) คอลัมน์ข้อคำถามและคอลัมน์คำตอบ ควรเป็นเรื่องราวหรือเนื้อหาเดียวกัน 2) เขียนคำชี้แจงในการจับคู่ระหว่างชุดรายการข้อคำถามกับชุดรายการคำตอบให้ชัดเจน 3) ควรทบทวนรายการข้อคำถามและข้อคำตอบของชุดข้อสอบจับคู่อย่างรอบคอบว่าไม่ได้ ชี้แนะคำตอบอย่างเด่นชัด 4) ควรเพิ่มจำนวนรายการข้อคำตอบให้มากกว่าจำนวนรายการข้อคำถาม 5) ควรมีจำนวนข้อคำถามอยู่ในช่วง 5 ถึง 8 ข้อ หรือมากสุดไม่ควรเกิน 10 ข้อ 6) การเรียงลำดับก่อนหลังของรายการข้อคำตอบ 7) รายข้อคำถามและรายการข้อคำตอบควรจัดให้อยู่ในกระดาษหน้าเดียวกัน

สรุปใบความรู้ที่ 6 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้โดยใช้แบบทดสอบ: แบบทดสอบปรนัยชนิดจับคู่ ความหมาย มีลักษณะโดยทั่วไปมักจะวางกลุ่มของคำ วลี ตัวเลข 2 คอลัมน์ คอลัมน์ซ้ายและคอลัมน์ขวา โดยคอมลัมน์ ซ้าย เป็นกลุ่มคำถาม ส่วนคอมลัมน์ขวา เป็นกลุ่มคำตอบ แนวทางการสร้าง 1) คอลัมน์ข้อคำถามและคอลัมน์คำตอบ ควรเป็นเรื่องราวหรือเนื้อหาเดียวกัน 2) เขียนคำชี้แจงในการจับคู่ระหว่างชุดรายการข้อคำถามกับชุดรายการคำตอบให้ชัดเจน 3) ควรทบทวนรายการข้อคำถามและข้อคำตอบของชุดข้อสอบจับคู่อย่างรอบคอบว่า ไม่ได้ชี้แนะคำตอบอย่าง เด่นชัด 4) ควรเพิ่มจำนวนรายการข้อคำตอบ ให้มากกว่าจำนวนรายการข้อคำถาม 5) ควรมีจำนวนข้อคำถามอยู่ในช่วง 5 ถึง 8 ข้อ หรือมากสุดไม่ควรเกิน 10 ข้อ 6) การเรียงลำดับก่อนหลังของรายการข้อคำตอบ 7) รายข้อคำถามและรายการข้อคำตอบ ควรจัดให้อยู่ในกระดาษหน้าเดียวกัน

ใบความรู้ที่ 7

แบบทดสอบปรนัยชนิดเติมคำและชนิดตอบแบบสั้น ความหมายและลักษณะของแบบทดสอบปรนัยชนิดเติมคำและ ชนิดตอบแบบสั้น หลักการหรือแนวทางในการสร้างแบบทดสอบปรนัยชนิดเติมคำ และชนิดตอบแบบสั้น

มุ่งให้ผู้เรียนคิดหำคำตอบด้วยตนเอง เพื่อให้เป็นข้อความที่ ถูกต้องสมบูรณ์ สมเหตุสมผล หรือตรงตำมข้อเท็จจริง เหมาะ สำหรับการวัดด้ำนเนื้อหำความรู้เกี่ยวกับข้อเท็จจริงต่ำง ๆ ส่วน จุดอ่อนมักอยู่ที่ความไม่ชัดเจนของโครงสร้างประโยค

ความหมายแบบ ทดสอบชนิดเติมคำ

1) ให้ข้อแนะนำในการตอบข้อสอบอย่ำงชัดเจน 2) เขียนประโยคข้อความที่เป็นข้อคำถามให้ชัดเจนและ สมบูรณ์ 3) ประโยคข้อความที่เป็นข้อคำถามควรสร้างขึ้นใหม่ 4) ควรเว้นช่องว่างสำหรับเติมคำตอบให้มีความยำวเพียงพอ ในการเขียน

คำตอบที่คำดหวังไว้

1) ให้ข้อแนะน ำในการตอบข้อสอบอย่ำงชัดเจน 2) เขียนประโยคข้อความที่เป็นข้อคำถามให้ชัดเจนและ สมบูรณ์ 3) ประโยคข้อความที่เป็นข้อคำถามควรสร้างขึ้นใหม่ 4) ควรเว้นช่องว่างสำหรับเติมคำตอบให้มีความยำวเพียงพอ ในการเขียน

มุ่งให้ผู้เรียนตอบข้อสอบซึ่งอยู่ในรูปของประโยคคำถามหรือ ประโยคคำสั่ง (ไม่ใช่ประโยคบอกเล่า) โดยปกติมักจะวัดความ สามารภด้ำนเนื้อหำความรู้เกี่ยวกับข้อเท็จจริงต่ำง ๆ ท ำได้ง่ำย และดีกว่าข้อสอบแบบเติมคำ

ความหมายแบบทดสอบแบบสั้น

แบบทดสอบปรนัยชนิดเติมคำ และชนิดตอบแบบสั้น

1) ให้ข้อแนะน ำในการตอบข้อสอบอย่ำงชัดเจน 2) เขียนข้อคำถามให้ชัดเจนในรูปของประโยค คำถาม หรือ ประโยคคำสั่ง 3) ควรให้มีคำตอบถูกต้องเพียงคำตอบเดียวเท่ำนั้น ที่เป็นไปได้และตรงกับคำตอบที่ผู้สอนคำดหวัง ให้ผู้เรียนตอบ 4) ผู้สอนควรประยุกต์ข้อคำถามให้วัดสติปัญญาใน ระดับสูงกว่าความรู้ความจำด้วย

หลักการสร้างแบบทดสอบปรนัยชนิดเติมคำ และชนิดตอบแบบสั้น

1. แนวทางการสร้างแบบทดสอบปรนัยชนิดเติมคำ

2. หลักการหรือแนวทางการสร้างแบบทดสอบปรนัยชนิดตอบแบบสั้น

สรุปใบความรู้ที่ 7 แบบทดสอบปรนัยชนิดเติมคำและชนิดตอบแบบสั้น ความหมายแบบทดสอบชนิดเติมคำ มุ่งให้ผู้เรียนคิดหำคำตอบด้วยตนเอง เพื่อให้เป็นข้อความที่ถูกต้องสมบูรณ์ สมเหตุสมผล หรือตรงตำมข้อเท็จจริง เหมาะสำหรับการวัดด้ำนเนื้อหำความรู้เกี่ยวกับข้อเท็จจริงต่ำง ๆ ส่วนจุดอ่อนมักอยู่ที่ความไม่ชัดเจนของโครงสร้าง ประโยค ความหมายแบบทดสอบแบบสั้น มุ่งให้ผู้เรียนตอบข้อสอบซึ่งอยู่ในรูปของประโยคคำถามหรือประโยคคำสั่ง (ไม่ใช่ประโยคบอกเล่า) โดยปกติมักจะ วัดความสามารภด้ำนเนื้อหำความรู้เกี่ยวกับข้อเท็จจริงต่ำง ๆ ท ำได้ง่ำยและดีกว่าข้อสอบแบบเติมคำ หลักการสร้างแบบทดสอบปรนัยชนิดเติมคำและชนิดตอบแบบสั้น 1. แนวทางการสร้างแบบทดสอบปรนัยชนิดเติมคำ 1) ให้ข้อแนะน ำในการตอบข้อสอบอย่ำงชัดเจน 2) เขียนประโยคข้อความที่เป็นข้อคำถามให้ชัดเจนและสมบูรณ์ 3) ประโยคข้อความที่เป็นข้อคำถามควรสร้างขึ้นใหม่ 4) ควรเว้นช่องว่างสำหรับเติมคำตอบให้มีความยำวเพียงพอในการเขียนคำตอบที่คำดหวังไว้ 5) ควรเป็นเรื่องที่สำคัญของบทเรียน สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ 2. หลักการหรือแนวทางการสร้างแบบทดสอบปรนัยชนิดตอบแบบสั้น 1) ให้ข้อแนะน ำในการตอบข้อสอบอย่ำงชัดเจน 2) เขียนข้อคำถามให้ชัดเจนในรูปของประโยคคำถาม หรือประโยคคำสั่ง 3) ควรให้มีคำตอบถูกต้องเพียงคำตอบเดียวเท่ำนั้นที่เป็นไปได้และตรงกับคำตอบที่ผู้สอนคำดหวังให้ผู้เรียนตอบ 4) ผู้สอนควรประยุกต์ข้อคำถามให้วัดสติปัญญาในระดับสูงกว่าความรู้ความจำด้วย

ใบความรู้ที่ 8

แบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ ความหมายและลักษณะของแบบทดสอบปรนัย ชนิดเลือกตอบ หลักการหรือแนวทางในการสร้างแบบทดสอบ ปรนัยชนิดเลือกตอบ

แบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ ความหมาย มีการกำหนดคำตอบไว้หลายตัวเลือกในข้อสอบแต่ละข้อจะประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ 1) ส่วนของคำถามนำหรือคำถามหลัก และ 2) ส่วนของตัวเลือก โดยทั่วไปนิยมสร้างส่วนคำถามนำในรูปแบบการเขียนเป็นคำถามโดยตรง ข้อสอบแบบเลือกตอบที่นิยมใช้มี 3 แบบ ได้แก่ แบบคำถามเดี่ยว แบบตัวเลือกคงที่ แบบสถานการณ์

ควรเขียนข้อคำถามให้ชัดเจน กระชับ รัดกุม มีข้อมูลเพียงพอสำหรับ ข้อสอบแต่ละข้อ “ตัวลวง” หรือตัวเลือกที่ไม่ใช่คำตอบที่ถูกต้องควร เป็นตัวลวงที่ดีมีประสิทธิภาพ แบบทดสอบชุดหนึ่ง ๆ ตำแหน่งตัวเลือกที่ถูกต้องของข้อสอบจำกข้อ 1 ถึงข้อสุดท้าย จะต้องเป็นไปอย่ำงสุ่ม หลีกเลี่ยงการสร้างข้อสอบที่มีตัวเลือกเป็น “ผิดทุกข้อ ” หรือ “ถูกทุก ข้อ” ถ้ำไม่ต้องการวัดความสามารภในการอ่ำนเพื่อความเข้าใจ หลีกเลี่ยงการใช้คำขยายบางคำที่ไม่เหมาะสมในตัวเลือก ควรพิจารณำและวางแผนอย่างรอบคอบเกี่ยวกับความเหมาะสมของแบบ ทดสอบทั้งฉบับในประเด็นต่าง ๆ

แนวทางที่ควรปฏิบัติ ควรเขียนข้อคำถามให้ชัดเจน กระชับ รัดกุม มีข้อมูลเพียงพอสำหรับการ ตอบคำถามได้. ข้อสอบแต่ละข้อควรมีจำนวนตัวเลือกอยู่ในช่วง 3 ถึง 5 ตัวเลือก ตัวเลือกควรเขียนให้สั้นและกระชับ หลีกเลี่ยงการใช้ข้อความต่ำง ๆ ที่คัดลอกจำกหนังสือหรือตำราเรียน ข้อคำถามประเภทให้เลือกคำตอบที่ดีที่สุด หลีกเลี่ยงการสร้างข้อคำถามที่เป็นเชิงลบหรือปฏิเสธ ต้องแน่ใจว่าข้อสอบข้อหนึ่ง ๆ มีตัวเลือกซึ่งเป็นคำตอบที่ถูกต้องหรือ คำตอบที่ดีที่สุดเพียงตัวเลือกเดียว หลีกเลี่ยงการใช้คำ ข้อความ หรือสัญลักษณ์ใด ๆ ที่เป็นการชี้แนะ คำตอบที่ถูกต้อง ต้องมั่นใจว่าตัวเลือกทั้งหมดมีความถูกต้องตำมหลักไวยำกรณ์ ต้องมั่นใจว่าไม่มีข้อสอบข้อใดข้อหนึ่งไปชี้แนะหรือเปิดเผยคำตอบใน การตอบคำถามข้ออื่น ๆ

สรุปใบความรู้ที่ 8 แบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ ความหมาย มีการกำหนดคำตอบไว้หลายตัวเลือกในข้อสอบแต่ละข้อจะประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ 1) ส่วนของคำถามนำหรือคำถามหลัก และ 2) ส่วนของตัวเลือก โดยทั่วไปนิยมสร้างส่วนคำถามนำในรูปแบบการเขียนเป็นคำถามโดยตรง ข้อสอบแบบเลือกตอบที่นิยมใช้มี 3 แบบ ได้แก่ 1) แบบคำถามเดี่ยว 2) แบบตัวเลือกคงที่ และ 3) แบบสถานการณ์ แนวทางที่ควรปฏิบัติ 1) ควรเขียนข้อคำถามให้ชัดเจน กระชับ รัดกุม มีข้อมูลเพียงพอสำหรับการตอบคำถามได้ 2) ข้อสอบแต่ละข้อควรมีจำนวนตัวเลือกอยู่ในช่วง 3 ถึง 5 ตัวเลือก 3) ตัวเลือกควรเขียนให้สั้นและกระชับ 4) หลีกเลี่ยงการใช้ข้อความต่ำง ๆ ที่คัดลอกจำกหนังสือหรือตำราเรียน 5) ข้อคำถามประเภทให้เลือกคำตอบที่ดีที่สุด 6) หลีกเลี่ยงการสร้างข้อคำถามที่เป็นเชิงลบหรือปฏิเสธ 7) ต้องแน่ใจว่าข้อสอบข้อหนึ่ง ๆ มีตัวเลือกซึ่งเป็นคำตอบที่ถูกต้องหรือคำตอบที่ดีที่สุดเพียงตัวเลือกเดียว 8) หลีกเลี่ยงการใช้คำ ข้อความ หรือสัญลักษณ์ใด ๆ ที่เป็นการชี้แนะคำตอบที่ถูกต้อง 9) ต้องมั่นใจว่าตัวเลือกทั้งหมดมีความถูกต้องตำมหลักไวยำกรณ์ 10) ต้องมั่นใจว่าไม่มีข้อสอบข้อใดข้อหนึ่งไปชี้แนะหรือเปิดเผยคำตอบในการตอบคำถามข้ออื่น ๆ 11) ข้อสอบแต่ละข้อ “ตัวลวง” หรือตัวเลือกที่ไม่ใช่คำตอบที่ถูกต้องควรเป็นตัวลวงที่ดีมีประสิทธิภาพ 12) แบบทดสอบชุดหนึ่ง ๆ ตำแหน่งตัวเลือกที่ถูกต้องของข้อสอบจำกข้อ 1 ถึงข้อสุดท้าย จะต้องเป็นไปอย่ำงสุ่ม 13) หลีกเลี่ยงการสร้างข้อสอบที่มีตัวเลือกเป็น “ผิดทุกข้อ ” หรือ “ถูกทุกข้อ” 14) ถ้ำไม่ต้องการวัดความสามารภในการอ่ำนเพื่อความเข้าใจ 15) หลีกเลี่ยงการใช้คำขยายบางคำที่ไม่เหมาะสมในตัวเลือก 16) ควรพิจารณำและวางแผนอย่างรอบคอบเกี่ยวกับความเหมาะสมของแบบทดสอบทั้งฉบับในประเด็นต่าง ๆ

ใบความรู้ที่ 9

การตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบ ความเที่ยงตรง ความเป้นปรนัย ความยากรายข้อ อำนาจจำแนกรายข้อ ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ

1. ความเที่ยงตรง

การตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบ

ความเที่ยงตรงตามเนื้อหา แบบ ทดสอบทั้งฉบับ ความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง ความเที่ยงตรงเกณฑ์สัมพันธ์

2. ความเป็นปรนัย ความชัดแจ้งของข้อคำถาม ความสอดคล้อง ในการตรวให้ คะแนนในข้อสอบแต่ละข้อ ความสอดคล้องตรงกันในการ แปลความหมายของคะแนน

5. ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ 3. ความยากรายข้อ กรณีให้คะแนนเป็น 0 กับ 1 เป็นสัดส่วนระหว่างจำนวนของผู้ ตอบข้อสอบข้อนั้น ถูกต้องต่อผู้สอบทั้งหมด กรณีให้คะแนนเป็น 0กับ 1 เป็นสัดส่วน ระหว่างจำนวนของผู้ตอบ ข้อสอบข้อนั้น ถูกต้องต่อผู้สอบทั้งหมด

กรณีแบบทดสอบอิงกลุ่ม 5.1.1 กรณีที่ข้อสอบแต่ละข้อให้คะแนนเป็น 0 กับ 1 กรณีแบบทดสอบอิงเกณฑ์ สามารถหาได้โดยการนำแบบทดสอบทั้ง ฉบับไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่างเพียงครั้ง เดียวแล้ววิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่น

4. อำนาจจำแนกรายข้อ กรณีแบบทดสอบอิงกลุ่มเป็นรายข้อ คำถามที่มีความสำคัญสมควรนำมา พิจารณาอีกอย่างก็คือ การวิเคราะห์ “ดัชนีอำนาจจำแนกรายข้อ สัญลักษณ์ที่ ใช้คือ “r หรือ D

กรณีแบบทดสอบอิงเกณฑ์ ที่มีการให้คะแนนแต่ละข้อเป็น 0 กับ 1 นิยมใช้วิธีของBrennan ซึ่งเรียกว่า “B-index” ต้องกำหนดเกณฑ์รอบรู้หรือเกณฑ์ผ่าน นิยมใช้คะแนนที่ร้อยละ 50 ถึง ร้อยละ 60 ของคะแนนเต็มนำข้อมูลที่ได้มาจำแนกผู้สอบเป็นสองกลุ่ม คือกลุ่มรอบรู้ (กลุ่มผ่านเกณฑ์) และกลุ่มไม่รอบรู้ (กลุ่มไม่ผ่านเกณฑ์)

สรุปใบความรู้ที่ 9 การตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบ

กล่าวเฉพาะสำคัญ ๆ 5 ประการ ได้แก่ ความเที่ยงตรง ความเป็นปรนัย ความยาก อำนาจจำแนก และความเชื่อมั่น

1. ความเที่ยงตรง ความเที่ยงตรงของเครื่องมือวัดผล หมายถึง ระดับคุณภาพของเครื่องมือวัดผลที่บ่งบอกว่า ข้อมูลที่ได้จากการวัดตัวแปร คุณลักษณะ หรือสิ่งที่ต้องการวัดด้วยเครื่องมือนั้น ๆ มี ความถูกต้องหรือไม่ สามารถแบ่งเป็น 3 ประเภท 1) ความเที่ยงตรงตามเนื้อหา แบบทดสอบทั้งฉบับ จะต้องครอบคลุมเนื้อหา ตัวชี้วัด หรือจุดประสงค์การเรียนรู้ทั้งหมดที่กำหนดไว้ 2) ความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง ข้อสอบทั้งหมดในแบบทดสอบฉบับนั้นสามารถวัดตัวแปรที่ต้องการวัดได้ถูกต้อง สอดคล้องและครอบคลุมตามนิยาม 3) ความเที่ยงตรงเกณฑ์สัมพันธ์ เกิดจากการเอาคะแนน นที่ได้จากการวัดด้วย แบบทดสอบที่สร้างขึ้น ไปสัมพันธ์กับเกณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่ต้องการศึกษา 2. ความเป็นปรนัย บ่งบอกว่าแบบทดสอบชุดนั้นมีความชัดแจ้งในการเขียนคำชี้แจงและข้อคำถาม แต่ละข้อ รวมถึงตัวเลือกต่าง ๆ ประกอบด้วยคุณสมบัติ 3 ระการ ดังนี้ 1) ความชัดแจ้งของข้อคำถาม 2) ความสอดคล้อง ในการตรวจให้คะแนนในข้อสอบแต่ละข้อ 3) ความสอดคล้องตรงกันในการแปลความหมายของคะแนน 3. ความยากรายข้อ เป็นรายข้อคำถามที่มีความสำคัญสมควรนำมาพิจารณาก็คือ การวิเคราะห์ สัญลักษณ์ที่ใช้คือ “p” นิยมใช้เฉพาะที่เป็นแบบทดสอบอิงกลุ่ม 3.1 กรณีให้คะแนนเป็น 0 กับ 1 เป็นสัดส่วนระหว่างจำนวนของผู้ตอบข้อสอบข้อนั้น ถูกต้องต่อผู้สอบทั้งหมดค่าดัชนีความยากตั้งแต่ 0.20 ถึง 0.80 3.2 กรณีให้คะแนนไม่ใช่ 0 กับ 1 นิยมใช้สูตรตามวิธีของ D.R Whitney และ D.L Sabers ซึ่งแบ่งกลุ่มผู้สอบ เป็นกลุ่มสูงและกลุ่มต่ำ โดยใช้เทคนิค25 % ของผู้สอบทั้งหมด 4. อำนาจจำแนกรายข้อ กรณีแบบทดสอบอิงกลุ่มเป็นรายข้อคำถามที่มีความสำคัญสมควรนำมาพิจารณาอีกอย่างก็คือ การวิเคราะห์ “ดัชนีอำนาจจำแนกรายข้อ สัญลักษณ์ที่ใช้คือ “r หรือ D กรณีแบบทดสอบอิงเกณฑ์ ที่มีการให้คะแนนแต่ละข้อเป็น 0 กับ 1 นิยมใช้วิธีของBrennan ซึ่งเรียกว่า “B-index” ต้องกำหนดเกณฑ์รอบรู้หรือเกณฑ์ผ่าน นิยมใช้คะแนนที่ร้อยละ 50 ถึง ร้อยละ 60 ของคะแนนเต็มนำข้อมูลที่ ได้มาจำแนกผู้สอบเป็นสองกลุ่มคือกลุ่มรอบรู้ (กลุ่มผ่านเกณฑ์) และกลุ่มไม่รอบรู้ (กลุ่มไม่ผ่านเกณฑ์) 5. ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ กรณีแบบทดสอบอิงกลุ่ม กรณีที่ข้อสอบแต่ละข้อให้คะแนนเป็น 0 กับ 1 กรณีแบบทดสอบอิงเกณฑ์ สามารถหาได้โดยการนำแบบทดสอบทั้งฉบับไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่างเพียงครั้งเดียวแล้ววิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่น

ใบความรู้ที่ 10 การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ ความหมายของมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ประเภทของตัวชี้วัด การกำหนดหลักฐานการเรียนรู้ วิธีการวิเคราะห์ตัวชี้วัดเพื่อการออกแบบหน่วยการเรียนรู้

ความหมาย 1. มาตรฐานการเรียนรู้หมายถึง สิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ นเมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. ตัวชี้วัด หมายถึง สิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ ซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเป็นรูปธรรม

ขั้นที่ ขั้นที่ ขั้นที่ ขั้นที่ ขั้นที่

วิธีการวิเคราะห์ตัวชี้วัด 1 ค้นหา “คำสำคัญ 2 กำหนดหลักฐานการเรียนรู้ 3 กำหนดวิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 4 กำหนดเครื่องมือที่ใช้ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 5 กำหนดกิจกรรมการเรียนรู้

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด

ตามแนวคิดของ Bloom มีอยู่ 3 ด้านใหญ่ ๆ คือ ด้านพุทธิพิสัย ด้านทักษะพิสัย ด้านจิตพิสัย

ตามแนวคิดของ Stiggins แบ่งเป็น 5 ประเภท ดังนี้ 1. ตัวชี้วัดด้านความรู้ความเข้าใจ 2. ตัวชี้วัดด้านการคิดอย่างมีเหตุผล 3. ตัวชี้วัดด้านทักษะการปฏิบัติ 4. ตัวชี้วัดด้านผลผลิต 5. ตัวชี้วัดด้านจิตนิสัย

สรุปใบความรู้ที่ 10 การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การออกแบบหน่วยการเรียนรู้

มาตรฐานการเรียนรู้หมายถึง สิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวชี้วัด หมายถึง สิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ ซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจง และมีความเป็นรูปธรรม ประเภทของตัวชี้วัด ตามแนวคิดของ Bloom มีอยู่ 3 ด้านใหญ่ ๆ คือ ด้านพุทธิ พิสัย ด้านทักษะพิสัย และด้านจิตพิสัย ตามแนวคิดของ Stiggins แบ่งเป็น 5 ประเภท ดังนี้ 1. ตัวชี้วัดด้านความรู้ความเข้าใจ 2. ตัวชี้วัดด้านการคิดอย่างมีเหตุผล 3. ตัวชี้วัดด้านทักษะการปฏิบัติ 4. ตัวชี้วัดด้านผลผลิต 5. ตัวชี้วัดด้านจิตนิสัย การกำหนดหลักฐาน มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้แสดงความรู้ความ สามารถผ่านการปฏิบัติ เป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นถึงผลการเรียนรู้เป็นรูปธรรม และมีความสัมพันธ์โดยตรงกับ ตัวชี้วัด 2 ประเภท (1) ผลผลิต และ (2) ผลการปฏิบัติ วิธีการวิเคราะห์ตัวชี้วัด ขั้นที่ 1 ค้นหา “คำสำคัญ ขั้นที่ 2 กำหนดหลักฐานการเรียนรู้ ขั้นที่ 3 กำหนดวิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ขั้นที่ 4 กำหนดเครื่องมือที่ใช้ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ขั้นที่ 5 กำหนดกิจกรรมการเรียนรู้

ใบความรู้ที่ 11

การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน โดยใช้กระบวนการออกแบบย้อนกลับ ความหมายของการออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน ความหมายของการออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน โดยใช้กระบวนการออกแบบย้อนกลับ ขั้นตอนการออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน โดยใช้ กระบวนการออกแบบย้อนกลับ

เรียนรู้อิงมาตรฐาน ซึ่งองค์ประกอบ (1) ชื่อหน่วยการเรียนรู้ (2) มาตรฐานและตัวชี้วัด (3) สาระสำคัญ (4) สาระการเรียนรู้ (5) ชิ้นงานหรือภาระงานที่ให้ผู้เรียนปฏิบัติ (6) วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ (7) กิจกรรมการเรียนรู (8) เวลาเรียน และน้ำหนักคะแนน

ขั้นตอนการออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน ขั้นตอนที่ 1 ระบุผลลัพธ์ที่ต้องการ ขั้นตอนที่ 2 กำหนดหลักฐานการเรียนรู้ที่ยอมรับได้ ขั้นตอนที่ 3 วางแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้หรือการเรียน

การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน โดยใช้กระบวนการออกแบบย้อนกลับ

ความหมาย เป็นการวางแผนและจัดทำหน่วยการเรียนรู้ ซึ่งเป็นสาระการเรียนรู้ย่อย ของรายวิชา โดยมี “มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด” เป็นเป้าหมาย สำคัญของการเรียนรู้ เพื่อมุ่งสู่การพัฒนาให้ผู้เรียนบรรลุเป้าหมาย ดังนั้น ทุกองค์ประกอบของหน่วยการเรียนรู้ต้องเชื่อมโยงกับมาตรฐานการเรียนรู้

สรุปใบความรู้ที่ 11 การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน โดยใช้กระบวนการออกแบบย้อนกลับ

เป็นการวางแผนและจัดทำหน่วยการเรียนรู้ ซึ่งเป็นสาระการเรียนรู้ย่อยของรายวิชา โดย มี “มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด” เป็นเป้าหมายสำคัญของการเรียนรู้ เพื่อมุ่งสู่การพัฒนาให้ผู้เรียนบรรลุเป้าหมาย ดังนั้นทุกองค์ประกอบของหน่วยการเรียนรู้ ต้องเชื่อมโยงกับมาตรฐานการเรียนรู้ การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานโดยใช้ กระบวนการออกแบบย้อนกลับ เป็นการนำเอาแนวคิดและกระบวนการออกแบบย้อน กลับมาดำเนินการออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน ซึ่งองค์ประกอบ (1) ชื่อหน่วยการเรียนรู้ (2) มาตรฐานและตัวชี้วัด (3) สาระสำคัญ (4) สาระการเรียนรู้ (5) ชิ้นงานหรือภาระงานที่ให้ผู้เรียนปฏิบัติ 6) วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ (7) กิจกรรมการเรียนรู (8) เวลาเรียน และน้ำหนักคะแนน ขั้นตอนการออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน ขั้นตอนที่ 1 ระบุผลลัพธ์ที่ต้องการ ขั้นตอนที่ 2 กำหนดหลักฐานการเรียนรู้ที่ยอมรับได้ ขั้นตอนที่ 3 วางแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้หรือการเรียน

ใบความรู้ที่ 12

การประเมินจากการสื่อสารระหว่างบุคคล ความหมายของการวัดและประเมินผลการ เรียนรู้จากการสื่อสารระหว่างบุคคล วิธีการหลากหลายของการวัดและประเมินผล การเรียนรู้จากการสื่อสารระหว่างบุคคล

วิธีการหลากหลายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จากการสื่อสาร ระหว่างบุคคล 1. การถามตอบในชั้นเรียน กระบวนการเก็บรวบรวม 2. การพบปะพูดคุยกับผู้เรียนกระบวนการเก็บรวบรวม วิเคราะห์ ตีความ บันทึกข้อมูลที่ได้ จากการสนทนากับ ผู้เรียนอย่างมีเป้าหมาย 3. การพูดคุยกับผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้เรียน กระบวนการเก็บรวบรวม วิเคราะห์ ตีความ บันทึก ข้อมูลที่ได้จาก การสนทนาอย่างมีเป้าหมาย กับผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้เรียน 4. การอภิปรายในชั้นเรียน เป็นกระบวนการเก็บรวบรวม วิเคราะห์ ตีความ บันทึกข้อมูลที่ ได้จากให้ผู้เรียนได้พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิด เห็น ความรู้ ประสบการณ์ ซึ่งกันและกัน อย่างมีเหตุผลภายในกลุ่มย่อย และ/หรือกลุ่มใหญ่ทั้งชั้นเรียน 5. การสอบปากเปล่า 6. การบันทึกเหตุการณ์ของผู้เรียน 7. การตรวจการบ้านหรือแบบฝึกหัดประจำวัน

การประเมินจากการสื่อสารระหว่างบุคคล

ความหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้จากการสื่อสาร ระหว่างบุคคล หมายถึง กระบวนการเก็บรวบรวม วิเคราะห์ ตีความ บันทึกข้อมูลที่ได้ จากการติดต่อสื่อสาร โดยการดำเนินการดังกล่าวเกิดขึ้นตลอดระยะเวลา ของการจัดการ เรียนการสอน ข้อมูลที่ได้นำไปใช้ในการให้ข้อมูลป้อนกลับ

อุปสรรคในการสื่อสาร 1. เกิดจากผู้ส่งสาร 2. เกิดจากสาร 3. เกิดขึ้นจากสื่อหรือช่องทาง 4. เกิดจากผู้รับสาร

ความรู้เบื้องต้น “การสื่อสารระหว่างบุคคล เป็นกระบวนการ ของการติดต่อสื่อสาร การสื่อสารลักษณะนี้ ถือว่าเป็นการสื่อสารที่ สมบูรณ์ และมี โอกาสบรรลุจุดประสงค์ได้ดีที่สุด

สรุปใบความรู้ที่ 12 การประเมินจากการสื่อสารระหว่างบุคคล

วิธีการหลากหลายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้จากการสื่อสาร ระหว่างบุคคล 1. การถามตอบในชั้นเรียน กระบวนการเก็บรวบรวม 2. การพบปะพูดคุยกับผู้เรียนกระบวนการเก็บรวบรวม วิเคราะห์ ตีความ บันทึกข้อมูลที่ได้จากการสนทนากับ ผู้เรียนอย่างมีเป้า หมาย 3. การพูดคุยกับผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้เรียน กระบวนการเก็บรวบรวม วิเคราะห์ ตีความ บันทึกข้อมูลที่ได้จาก การสนทนาอย่างมีเป้า หมายกับผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้เรียน 4. การอภิปรายในชั้นเรียน เป็นกระบวนการเก็บรวบรวม วิเคราะห์ ตีความ บันทึกข้อมูลที่ได้จากให้ผู้เรียนได้พูดคุยแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น ความรู้ ประสบการณ์ ซึ่งกันและกันอย่างมีเหตุผลภายในกลุ่ม ย่อย และ/หรือกลุ่มใหญ่ทั้งชั้นเรียน 5. การสอบปากเปล่า 6. การบันทึกเหตุการณ์ของผู้เรียน 7. การตรวจการบ้านหรือแบบฝึกหัดประจำวัน อุปสรรคในการสื่อสาร 1. เกิดจากผู้ส่งสาร 2. เกิดจากสาร3. เกิดขึ้นจากสื่อหรือช่องทาง4. เกิดจากผู้รับสาร ความรู้เบื้องต้น “การสื่อสารระหว่างบุคคล เป็นกระบวนการ ของการติดต่อสื่อสาร การสื่อสารลักษณะนี้ถือว่าเป็นการสื่อสารที่ สมบูรณ์ และมีโอกาสบรรลุจุดประสงค์ได้ดีที่สุด ความหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้จากการสื่อสาร ระหว่างบุคคล หมายถึง กระบวนการเก็บรวบรวม วิเคราะห์ ตีความ บันทึกข้อมูลที่ได้จากการติดต่อสื่อสาร โดยการดำเนินการดังกล่าวเกิดขึ้นตลอดระยะเวลาของการจัดการ เรียนการสอน ข้อมูลที่ได้นำไปใช้ในการให้ข้อมูลป้อนกลับ

ใบความรู้ที่ 13

การประเมินการปฏิบัติ .แนวคิดและความหมายของการประเมินการปฏิบัติ ลักษณะสำคัญของการประเมินการปฏิบัติ ขั้นตอนการประเมินการปฏิบัติ จุดแข็งและจุดอ่อนของการประเมินการปฏิบัติ

แนวคิดและความหมายของการประเมินการปฏิบัติ หมายถึง กระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการเรียนรู้ของ ผู้เรียน ผ่านการลงมือ ปฏิบัติจริงตามภาระงานที่ผู้สอนได้ออกแบบไว้ แล้วนำ ข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ให้ได้ สารสนเทศสำหรับพัฒนาผู้เรียน ซึ่งพฤติกรรมการ เรียนรู้ที่ มุ่งประเมิน โดยทั่วไปมักเป็นทักษะต่าง ๆ ทั้งทักษะการปฏิบัติ และ ทักษะทางสมองหรือทางสติปัญญา และบางงานที่ปฏิบัติอาจ ประเมินรวมไป ถึงคุณลักษณะนิสัยในการทำงาน

ลักษณะสำคัญ 1. การประเมินการปฏิบัติ ต้องมี “ภาระงาน (Task)” 1.1 อาจเป็นงานที่สอดคล้องกับชีวิตจริงหรือไม่ก็ได้ 1.2 อาจเป็นงานที่ทำเป็นรายบุคคลหรือเป็นรายกลุ่มก็ได้ 1.3 อาจเป็นงานที่ใช้ความสามารถด้านใดก็ได้ 1.4 อาจเป็นงานประเภทที่ผู้เรียนปฏิบัติแล้วได้ผลงานหรือ ชิ้นงาน (Product) ที่ชัดเจน 2. การประเมินการปฏิบัติ สามารถประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ได้ทั้งที่เป็น ทักษะพิสัย ทักษะทางสมอง เจตคติต่อการทำงาน

การประเมินการปฏิบัติ ขั้นตอนการประเมิน ขั้นที่ 1 กำหนดจุดมุ่งหมาย ขั้นที่ 2 กำหนดรายการทักษะ ความสามารถ ความรู้และการประยุกต์ใช้ รวมถึงคุณลักษณะต่าง ๆ ที่คาดหวัง ขั้นที่ 3 ออกแบบงานหรือภาระงานให้ผู้เรียนปฏิบัติ ขั้นที่ 4 พัฒนาเกณฑ์การประเมินการปฏิบัติงานแต่ละงานที่มอบหมาย อย่างชัดเจน ขั้นที่ 5 เลือกวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลและเครื่องมือที่ใช้ สำหรับใช้ใน การรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ขั้นที่ 6 จัดทำใบงานเพื่อชี้แจงการปฏิบัติงานอย่างชัดเจนและถูกต้อง ขั้นที่ 7 วางแผนและดำเนินการลดความคลาดเคลื่อนในการให้คะแนน หรือ ประเมินคุณภาพการปฏิบัติงานของผู้เรียน

จุดแข็งและจุดอ่อน

1. จุดแข็ง 1.1 สามารถวัดความสามารถที่ไม่อาจวัดโดยวิธีอื่นได้ 1.2 ใช้ได้เหมาะกับทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย 1.3อาจส่งผลให้การจัดการเรียนการสอนได้ดีกว่า 1.4 สามารถประเมินได้ทั้งกระบวนการ (Process) และผลผลิตหรือผลงาน 1.5 เป็นการขยายวิธีการวัดและประเมินผล ก 2. จุดอ่อน 2.1การให้คะแนนในการประเมินการปฏิบัติให้มีความเชื่อมั่นหรือมีความคง เส้นคงวาค่อน ข้างทำได้ยาก 2.2มีข้อจำกัดในการเลือกตัวอย่างเนื้อหาที่นำมา กำหนดเป็นภาระงานให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติ และมันเป็นการยากในการสรุปอ้างอิง 2.3ค่อนข้างใช้เวลานานและยากในการพัฒนา การปฏิบัติงานให้สมบูรณ์การบริหารจัดการ รวมทั้งกระบวนการให้คะแนน 2.4มีข้อจำกัดเกี่ยวกับปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ การประเมินการปฏิบัติ

สรุปใบความรู้ที่ 13 การประเมินการปฏิบัติ การประเมินการปฏิบัติ หมายถึง กระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน ผ่านการลงมือ ปฏิบัติจริงตามภาระงานที่ผู้สอนได้ออกแบบไว้ แล้วนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ให้ได้ สารสนเทศสำหรับพัฒนาผู้เรียน ซึ่งพฤติกรรมการเรียนรู้ที่ มุ่งประเมิน ลักษณะสำคัญ 1. การประเมินการปฏิบัติ ต้องมี “ภาระงาน (Task)” 2. การประเมินการปฏิบัติ สามารถประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ได้ทั้งที่เป็น 1) ทักษะพิสัย 2) ทักษะทางสมอง 3) เจตคติต่อการทำงาน 3. การประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยใช้การประเมิน การปฏิบัติ 4. การประเมินการปฏิบัติ สามารถใช้ได้สอดคล้องตามแนวปฏิบัติการวัด และประเมินผลการเรียนรู้ 1) การวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน 2) การวัดและประเมินผลเพื่อตัดสินผลการเรียนหรือ สรุปผลการเรียนร 5. การประเมินการปฏิบัติมักมีความเป็นอัตนัย 6. การประเมินการปฏิบัติ ที่เน้นการประเมิน “กระบวนการปฏิบัติงาน ขั้นตอนการประเมิน ขั้นที่ 1 กำหนดจุดมุ่งหมาย ขั้นที่ 2 กำหนดรายการทักษะ ความสามารถ ความรู้และการประยุกต์ใช้ รวมถึงคุณลักษณะต่าง ๆ ที่คาดหวัง ขั้นที่ 3 ออกแบบงานหรือภาระงานให้ผู้เรียนปฏิบัติ ขั้นที่ 4 พัฒนาเกณฑ์การประเมินการปฏิบัติงานแต่ละงานที่มอบหมาย อย่างชัดเจน ขั้นที่ 5 เลือกวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลและเครื่องมือที่ใช้ สำหรับใช้ใน การรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ขั้นที่ 6 จัดทำใบงานเพื่อชี้แจงการปฏิบัติงานอย่างชัดเจนและถูกต้อง ขั้นที่ 7 วางแผนและดำเนินการลดความคลาดเคลื่อนในการให้คะแนนหรือ ประเมินคุณภาพการปฏิบัติงานของผู้เรียน จุดแข็งและจุดอ่อน 1. จุดแข็ง สามารถวัดความสามารถที่ไม่อาจวัดโดยวิธีอื่นได้ ใช้ได้เหมาะกับทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย อาจส่งผลให้การจัดการเรียนการสอนได้ดีกว่า การใช้วิธีการทดสอบ เพียงอย่างเดียว สามารถประเมินได้ทั้งกระบวนการ (Process) และผลผลิตหรือผลงาน เป็นการขยายวิธีการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ของผู้เรียนให้มีความหลากหลาย 2. จุดอ่อน การให้คะแนนในการประเมินการปฏิบัติให้มีความเชื่อมั่นหรือมีความคง เส้นคงวาค่อนข้างทำได้ยาก มีข้อจำกัดในการเลือกตัวอย่างเนื้อหาที่นำมา กำหนดเป็น ภาระงานให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติ และมันเป็นการยากในการสรุปอ้างอิง ค่อนข้างใช้เวลานานและยากในการพัฒนา การปฏิบัติงานให้สมบูรณ์ การบริหารจัดการ รวมทั้ง กระบวนการให้คะแนน มีข้อจำกัดเกี่ยวกับปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ การประเมินการปฏิบัติ

ใบความรู้ที่ 14

การประเมินตามสภาพจริงในชั้นเรียน

แนวคิดและความหมายของการประเมินตามสภาพจริง

ลักษณะสำคัญของการประเมินตามสภาพจริง ข้อแตกต่างระหว่างการประเมินการปฏิบัติกับการประเมินตามสภาพจริง แนวทางการประเมินตามสภาพจริงในการจัดการเรียนการสอน ขั้นตอนการประเมินตามสภาพจริงในการจัดการเรียนการสอน

1. แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินตามสภาพจริง 1. การประเมินความสามารถของผู้เรียนแบบองค์รวม 2. การที่ผู้เรียนได้ตอบสนองหรือแสดงออกอย่างหลากหลาย 3. ผลการประเมินสิ่งที่ผู้เรียนได้เรียนรู้มีความถูกต้องแม่นยำ 4. การส่งเสริม สนับสนุน และเป็นส่วนหนึ่งของการจัดการเรียนการสอน ที่ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 5. การใช้วิธีการและเครื่องมือที่หลากหลาย

3. ข้อแตกต่างระหว่างการประเมินการปฏิบัติกับการประเมินตามสภาพจริง “การประเมินการปฏิบัติ” จะมุ่งตรวจสอบการตอบสนองของผู้เรียน “การ ประเมินตามสภาพจริง” ให้ความสนใจบริบทสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการ ตอบสนอง

2. ลักษณะสำคัญของการประเมินตามสภาพจริง 1. มุ่งประเมินความสามารถของผู้เรียนแบบ 2. ผู้เรียนต้องได้ใช้ทักษะการคิดขั้นสูง 3. เน้นการประเมินที่ให้ผู้เรียนได้ตอบสนอง 4. เป็นการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน 5. มีการให้ผู้เรียนประเมินผลงานตนเอง 6. มีการใช้เครื่องมือและวิธีการที่หลากหลายอย่าง 7. เป็นการประเมินแบบอิงเกณฑ 8. สามารถดำเนินการควบคู่ไปกับการจัดการเรียน 9. ทำให้ได้ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนที่มีความสอดคล้อง 10. ใช้การประเมินในแง่ของ “Assessment” 11. ยังมีข้อจำกัด บางอย่าง อาทิ 12. การประเมินแบบดั้งเดิมยังคงใช้ร่วมกับการประเมินตามสภาพจริงได้

การประเมินตามสภาพจริงในชั้นเรียน

4. แนวทางการประเมินตามสภาพจริงในการจัดการเรียนการสอน 1. ในการออกแบบหน่วยการเรียนรู้อย่างมีความหมาย เพื่อมุ่งเน้นการเรียนรู้ ของผู้เรียน 2. ใช้วิธีการประเมินที่เหมาะสมอย่างหลากหลายและเน้นการมีส่วนร่วม 3. ผู้เรียนจะต้องรับรู้และเห็นด้วยกับเกณฑ์หรือรายการประเมิน 4. ต้องมีการทดลองใช้รูบริกส์ที่ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสร้างขึ้น 5. ผู้สอนต้องมองการประเมินเป็นเหมือนการเฉลิมฉลองการเรียนรู้ของผู้เรียน 6. ให้ผู้เรียนได้มีทางเลือกในการสร้างชิ้นงานที่พวกเขาพอใจเพื่อรับ การประเมิน 7. ให้ผู้เรียนได้มีโอกาสเห็นข้อผิดพลาด 8. ผู้สอนต้องมองว่า สิ่งสำคัญที่สุดในการประเมินระหว่างการเรียนการสอน

5. ขั้นตอนการประเมินตามสภาพจริง ในการจัดการเรียนการสอน 1. กำหนดภาระงานให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ ซึ่งงาน หรือภาระงานนี้ 2. กำหนดขอบเขตของสิ่งประเมินให้ชัดเจน 3. กำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมาย 4. กำหนดผู้ประเมิน 5. เลือกวิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 6. กำหนดเกณฑ์ในการประเมินการปฏิบัติงาน และผลงาน/ชิ้นงาน 7. จัดทำเอกสารใบงานอย่างชัดเจน 8. ดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ตามภาระงานที่มอบหมาย 9. กำกับ ติดตาม ตรวจสอบ และให้คำแนะนำ 10. ประเมินสรุปรวบยอด

สรุปใบงานที่ 14 การประเมินตามสภาพจริงในชั้นเรียน 1. แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินตามสภาพจริง ดังนี้

1. การประเมินความสามารถของผู้เรียนแบบองค์รวม 2. การที่ผู้เรียนได้ตอบสนองหรือแสดงออกอย่างหลากหลาย 3. ผลการประเมินสิ่งที่

ผู้เรียนได้เรียนรู้มีความถูกต้องแม่นยำ 4. การส่งเสริม สนับสนุน และเป็นส่วนหนึ่งของการจัดการเรียนการสอนที่ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 5. การใช้วิธีการและเครื่องมือที่หลากหลาย 2. ลักษณะสำคัญของการประเมินตามสภาพจริง ดังนี้ 1. มุ่งประเมินความสามารถของผู้เรียนแบบ 2. ผู้เรียนต้องได้ใช้ทักษะการคิดขั้นสูง 3. เน้นการประเมินที่ให้ผู้เรียนได้ตอบสนอง 4. เป็นการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน 5. มีการให้ผู้เรียนประเมินผลงานตนเอง 6. มีการใช้เครื่องมือและวิธีการที่หลากหลายอย่าง 7. เป็นการประเมินแบบอิงเกณฑ 8. สามารถดำเนินการควบคู่ไปกับการจัดการเรียน 9. ทำให้ได้ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนที่มีความสอดคล้อง 10. ใช้การประเมินในแง่ของ “Assessment” 11. ยังมีข้อจำกัด บางอย่าง อาทิ 12. การประเมินแบบดั้งเดิมยังคงใช้ร่วมกับการประเมินตามสภาพจริงได้ 3. ข้อแตกต่างระหว่างการประเมินการปฏิบัติกับการประเมินตามสภาพจริง “การประเมินการปฏิบัติ” จะมุ่งตรวจสอบการตอบสนองของผู้เรียน “การประเมินตามสภาพจริง” ให้ความสนใจบริบทสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการตอบสนอง 4. แนวทางการประเมินตามสภาพจริงในการจัดการเรียนการสอน ดังนี้ 1. ในการออกแบบหน่วยการเรียนรู้อย่างมีความหมาย เพื่อมุ่งเน้นการเรียนรู้ ของผู้เรียน 2. ใช้วิธีการประเมินที่เหมาะสมอย่างหลากหลายและเน้นการมีส่วน ร่วม 3. ผู้เรียนจะต้องรับรู้และเห็นด้วยกับเกณฑ์หรือรายการประเมิน 4. ต้องมีการทดลองใช้รูบริกส์ที่ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันสร้างขึ้น 5. ผู้สอนต้องมองการประเมินเป็นเหมือนการเฉลิมฉลองการเรียนรู้ของผู้เรียน 6. ให้ผู้เรียนได้มีทางเลือกในการสร้างชิ้นงานที่พวกเขาพอใจเพื่อรับการ ประเมิน 7. ให้ผู้เรียนได้มีโอกาสเห็นข้อผิดพลาด 8. ผู้สอนต้องมองว่า สิ่งสำคัญที่สุดในการประเมินระหว่างการเรียนการสอน 5. ขั้นตอนการประเมินตามสภาพจริงในการจัดการเรียนการสอน ดังนี้ 1. กำหนดภาระงานให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ ซึ่งงาน หรือภาระงานนี้ 2. กำหนดขอบเขตของสิ่งประเมินให้ชัดเจน 3. กำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมาย 4. กำหนดผู้ประเมิน 5. เลือกวิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 6. กำหนดเกณฑ์ในการประเมินการปฏิบัติงาน และผลงาน/ชิ้นงาน 7. จัดทำเอกสารใบงานอย่างชัดเจน 8. ดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ตามภาระงานที่มอบหมาย 9. กำกับ ติดตาม ตรวจสอบ และให้คำแนะนำ 10. ประเมินสรุปรวบยอด



ใบความรู้ที่ 15 การใช้รูบริกส์ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ความหมายของรูบริกส์ องค์ประกอบของรูบริกส์ การแบ่งประเภทของรูบริกส์ แนวทางและขั้นตอนการสร้างรูบริกส์

ความหมาย Rubrics เป็นชุดของเกณฑ์หรือมาตรฐานที่ออกแบบอย่างสอดคล้องกับ เป้าหมายการเรียนรู้ ทั้งในส่วนที่เป็นผลการปฏิบัติ (Performance) และ/หรือผลผลิต (Product) ที่เกิดขึ้น รวมถึงพฤติกรรมการทำงาน โดยมี การแยกแยะและอธิบายคุณภาพของเกณฑ์ จากระดับที่ต้องปรับปรุง จนถึง ระดับเยี่ยม อันจะนำไปสู่การพัฒนางานให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมถึง ใช้เมื่อ การปฏิบัติงานนั้นเสร็จสิ้นสมบูรณ์แล้วเพื่อตัดสินคุณภาพของงาน

แนวทางและขั้นตอน 1 กำหนดงานที่ต้องการประเมิน 2 กำหนดประเภทของ Rubrics 3 กำหนดเกณฑ์ 4 กำหนดจำนวนระดับคุณภาพ 5 เขียนบรรยายคุณภาพของแต่ละระดับ 6 จัดทำเป็นเครื่องมือการให้คะแนนที่ สมบูรณ์

องค์ประกอบ 1. ประเด็นที่จะประเมิน (เกณฑ์) หมายถึง สิ่งที่ผู้สอนและ ผู้เรียนร่วมกันกำหนดขึ้น ซึ่ง สามารถสะท้อนถึงคุณภาพเกี่ยวกับภาระงานที่ผู้เรียนต้อง ปฏิบัติ ทั้งในด้านกระบวนการ ปฏิบัติ ผลงานหรือชิ้นงานที่เกิดขึ้น 2. ระดับความสามารถหรือระดับคุณภาพ ในที่นี้หมายถึง จำนวนระดับคุณภาพของการ ปฏิบัติงานตามประเด็นที่จะประเมิน อาจเขียนเรียงลำดับ ตั้งแต่ “ดีมาก” ไปจนถึง “ปรับปรุง” และในทางจิตวิทยาเพื่อไม่เป็นการบั่นทอนกำลังใจของ ผู้เรียน ผู้สอนควร เลือกใช้คำที่อ่านแล้วจะได้มีแรงจูงใจปรับปรุงหรือพัฒนางาน อาจต้องเริ่มที่ “1” แทนที่ จะใช้ “0” หรือแทนที่จะใช้คำว่า “แย่ที่สุด” 3. การบรรยายคุณภาพของแต่ละระดับ มีคุณภาพในแต่ละระดับเป็นอย่างไร เขียน บรรยายให้ชัดเจน ใช้ภาษากะทัดรัด เข้าใจง่าย และต้องแยกแยะให้เห็นความแตกต่าง ระหว่างระดับอย่างชัดเจน

การใช้รูบริกส์ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้

การแบ่งประเภท

1. Holistic rubrics และ Analytic rubrics Holistic rubrics สำหรับให้คะแนนการปฏิบัติงาน โดยจะนำเอาทุก ประเด็นที่จะ ประเมินมาเขียนอธิบายไปพร้อม ๆ กัน ในแต่ละ ระดับคุณภาพ ผู้ประเมิน จะต้องพิจารณาการปฏิบัติงานนของ ผู้เรียนในภาพรวม จากนั้นตัดสินคุณภาพออกมาเป็นคะแนน เดียว Analytic rubrics สำหรับให้คะแนนการปฏิบัติงาน แยกแยะตามประเด็นที่จะประเมิน ซึ่งโดยทั่วไป นิยมกำหนด จำนวนระดับคุณภาพเท่ากันทุกประเด็นที่จะประเมิน ในช่วง 3 ถึง 6 ระดับ ผู้ประเมินจะต้องพิจารณา การปฏิบัติงานหรือ ผลผลิตของผู้เรียนแยกแยะตามประเด็นที่จะประเมิน แล้วตัดสิน คุณภาพตามระดับคุณภาพที่กำหนดไว้ จากนั้นเอาคะแนนที่ได้ ไปคูณกับน้ำหนัก แล้วหา คะแนนรวมทั้งหมด

2. General rubrics และ Task specific rubrics General rubrics หรือเรียกว่า “รูบริกส์แบบทั่วไป” สร้างขึ้น โดยใช้เกณฑ์หรือประเด็นที่จะประเมินกว้าง ๆ เพื่อให้สามารถใช้ ในการประเมิน การปฏิบัติงาน ได้หลายงาน โดยที่งานเหล่านั้น จะต้องอยู่ในกลุ่มเดียวกัน ที่คล้าย ๆ กัน ผลการเรียนรู้เดียวกัน Task specific rubrics หรือเรียกว่า “รูบริกส์แบบเฉพาะงาน โดยมีเป้าหมายเพื่อประเมินเฉพาะงานใดงานหนึ่งที่มอบหมายให้ ผู้เรียน ปฏิบัติ เกณฑ์หรือประเด็นที่จะประเมินจะสามารถกำหนด ได้อย่างชัดเจนและตรงกับงานที่ ปฏิบัติ เป็นการเขียนอธิบาย เพื่อเปิดเผยหรือ เฉลยคำตอบหรือแนวทางที่ถูกต้องในแต่ละ ประเด็นที่จะประเมินนั้น ๆ

สรุปใบความรู้ที่ 15 การใช้รูบริกส์ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้

Rubrics เป็นชุดของเกณฑ์หรือมาตรฐานที่ออกแบบอย่างสอดคล้องกับ เป้าหมายการเรียนรู้ ทั้งในส่วนที่เป็นผลการปฏิบัติ (Performance) และ/หรือผลผลิต

(Product) ที่เกิดขึ้น รวมถึงพฤติกรรมการทำงาน โดยมีการแยกแยะและอธิบายคุณภาพของเกณฑ์ จากระดับที่ต้องปรับปรุง จนถึงระดับเยี่ยม อันจะนำไปสู่การ พัฒนางานให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมถึง ใช้เมื่อการปฏิบัติงานนั้นเสร็จสิ้นสมบูรณ์แล้วเพื่อตัดสินคุณภาพของงาน องค์ประกอบ Rubrics มี 3 องค์ประกอบ ดังนี้ องค์ประกอบที่ 1 ประเด็นที่จะประเมิน (เกณฑ์) หมายถึง สิ่งที่ผู้สอนและ ผู้เรียนร่วมกันกำหนดขึ้น ซึ่งสามารถสะท้อนถึงคุณภาพเกี่ยวกับภาระงานที่ผู้เรียนต้อง ปฏิบัติ ทั้งในด้านกระบวนการปฏิบัติ ผลงานหรือชิ้นงานที่เกิดขึ้น องค์ประกอบที่ 2 ระดับความสามารถหรือระดับคุณภาพ ในที่นี้หมายถึง จำนวนระดับคุณภาพของการปฏิบัติงานตามประเด็นที่จะประเมิน อาจเขียนเรียงลำดับ ตั้งแต่ “ดีมาก” ไปจนถึง “ปรับปรุง” และในทางจิตวิทยาเพื่อไม่เป็นการบั่นทอนกำลังใจของ ผู้เรียน ผู้สอนควรเลือกใช้คำที่อ่านแล้วจะได้มีแรงจูงใจปรับปรุงหรือ พัฒนางาน อาจต้องเริ่มที่ “1” แทนที่จะใช้ “0” หรือแทนที่จะใช้คำว่า “แย่ที่สุด” องค์ประกอบที่ 3 การบรรยายคุณภาพของแต่ละระดับ มีคุณภาพในแต่ละระดับเป็นอย่างไร เขียนบรรยายให้ชัดเจน ใช้ภาษากะทัดรัด เข้าใจง่าย และต้องแยกแยะ ให้เห็นความแตกต่างระหว่างระดับอย่างชัดเจน การแบ่งประเภท Rubrics แบ่งได้ 2 ลักษณะ 1. Holistic rubrics และ Analytic rubrics Holistic rubrics สำหรับให้คะแนนการปฏิบัติงาน โดยจะนำเอาทุกประเด็นที่จะ ประเมินมาเขียนอธิบายไปพร้อม ๆ กัน ในแต่ละระดับคุณภาพ ผู้ประเมิน จะต้องพิจารณาการปฏิบัติงานนของผู้เรียนในภาพรวม จากนั้นตัดสินคุณภาพออกมาเป็นคะแนนเดียว Analytic rubrics สำหรับให้คะแนนการปฏิบัติงาน แยกแยะตามประเด็นที่จะประเมิน ซึ่งโดยทั่วไป นิยมกำหนดจำนวนระดับคุณภาพเท่ากันทุกประเด็นที่จะประเมิน ในช่วง 3 ถึง 6 ระดับ ผู้ประเมินจะต้องพิจารณา การปฏิบัติงานหรือผลผลิตของผู้เรียนแยกแยะตามประเด็นที่จะประเมิน แล้วตัดสิน คุณภาพตามระดับคุณภาพที่กำหนดไว้ จากนั้น เอาคะแนนที่ได้ไปคูณกับน้ำหนัก แล้วหา คะแนนรวมทั้งหมด 2. General rubrics และ Task specific rubrics General rubrics หรือเรียกว่า “รูบริกส์แบบทั่วไป” สร้างขึ้นโดยใช้เกณฑ์หรือประเด็นที่จะประเมินกว้าง ๆ เพื่อให้สามารถใช้ในการประเมิน การปฏิบัติงาน ได้หลายงาน โดยที่งานเหล่านั้น จะต้องอยู่ในกลุ่มเดียวกัน ที่คล้าย ๆ กัน ผลการเรียนรู้เดียวกัน Task specific rubrics หรือเรียกว่า “รูบริกส์แบบเฉพาะงาน โดยมีเป้าหมายเพื่อประเมินเฉพาะงานใดงานหนึ่งที่มอบหมายให้ผู้เรียน ปฏิบัติ เกณฑ์หรือประเด็นที่จะประเมินจะ สามารถกำหนดได้อย่างชัดเจนและตรงกับงานที่ ปฏิบัติ เป็นการเขียนอธิบายเพื่อเปิดเผยหรือ เฉลยคำตอบหรือแนวทางที่ถูกต้องในแต่ละประเด็นที่จะประเมินนั้น ๆ แนวทางและขั้นตอน ขั้นที่ 1 กำหนดงานที่ต้องการประเมิน ขั้นที่ 2 กำหนดประเภทของ Rubrics ขั้นที่ 3 กำหนดเกณฑ์ ขั้นที่ 4 กำหนดจำนวนระดับคุณภาพ ขั้นที่ 5 เขียนบรรยายคุณภาพของแต่ละระดับ ขั้นที่ 6 จัดทำเป็นเครื่องมือการให้คะแนนที่สมบูรณ์

ใบความรู้ที่ 16 การประเมินโดยใช้แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio assessment)

จุดมุ่งหมายของการประเมินแฟ้มสะสมผลงาน ความหมายของการประเมินโดยใช้แฟ้มสะสมผลงาน ขั้นตอนของการประเมินโดยใช้แฟ้มสะสมผลงาน หลักการของการประเมินโดยใช้แฟ้มสะสมผลงาน ประเภทของแฟ้มสะสมผลงานของผู้เรียน

ประเภทของแฟ้มสะสมผลงานของผู้เรียน 1. Working portfolio เป็นแฟ้มสะสมผลงานที่ผู้เรียนจัดทำขึ้น เพื่อรวบรวมผลงาน ในระหว่างการเรียนการสอน แสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานและอยู่ใน ระหว่างการคัดเลือกหรือปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น เพื่อที่จะเป็นแฟ้มสะสมผลงานที่สมบูรณ์ 2. Display or show portfolio เป็นแฟ้มสะสมผลงานที่คัดเลือกผลงานที่ดีที่สุดจาก แฟ้มสะสมผลงานที่รวบรวมเอาไว้ ภายใต้คำแนะนำของผู้สอน ซึ่งคัดเลือกตามเกณฑ์ที่ ร่วมกันกำหนดขึ้นกับครูผู้สอน 3. Assessment portfolio เป็นแฟ้มสะสมผลงานที่ผู้เรียนนั้นรวบรวมผลงาน ทั้งหมดหรือบางส่วน เพื่อที่จะให้ผู้สอนทำการประเมินคุณภาพการเรียนรู้ด้านต่าง ๆ ตามเกณฑ์การประเมินที่ได้กำหนดไว้ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน

หลักการของการประเมินโดยใช้แฟ้มสะสมผลงาน เป็นการทำงานระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน เป็นการรวบรวมผลงานตามระยะเวลาที่กำหนด รวบรวมผลงานอย่างมีจุดมุ่งหมายเพื่อเป็นหลักฐานทางความก้าวหน้าของการเรียนรู้ มีการวางแผนล่วงหน้าอย่างเป็นระบบ ผู้เรียนเก็บรวบรวมและคัดเลือกผลงานภายใต้คำแนะนำของผู้สอนหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเลือกผลงาน และการกำหนดเกณฑ์ต่าง ๆ ผู้เรียนมีการสะท้อนความ คิดเห็นต่อผลงาน และประเมินตนเองว่าเป็นอย่างไร แฟ้มสะสมผลงานเป็นแสดงให้คนอื่นได้เห็นถึงการเรียนรู้และความก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน ผู้เรียนเป็นผู้มีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้และการประเมินผล

การประเมินโดยใช้แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio assessment)

ขั้นตอนของการประเมินโดยใช้แฟ้มสะสมผลงาน 1. ขั้นเตรียมการประเมินโดยใช้แฟ้มสะสมผลงาน - เป็นการออกแบบการเรียนรู้ว่าจะจัดแห้มสะสมผลงานแบบใด 2. ขั้นจัดทำแฟ้มสะสมผลงาน 3. ขั้นประเมินแฟ้มสะสมผลงานที่สมบูรณ์ - เป็นการประเมินสรุปรวบยอด หลังจบหน่วยการเรียนรู้หนึ่ง ๆ เพื่อตัดสินคุณภาพของ แฟ้มสะสมผลงานที่สมบูรณ์ของผู้เรียน 4. ขั้นประชาสัมพันธ์ผลงาน - เป็นการจัดนิทรรศการการแสดงแฟ้มสะสมผลงาน ดำเนินการ จริงเพื่อประชาสัมพันธ์ผลงาน และเป็นการเฉลิมฉลองความสำเร็จ และความภาคภูมิใจของทั้งผู้เรียน ผู้สอนและผู้ที่เกี่ยวข้อง

จุดมุ่งหมายของการประเมินแฟ้มสะสมผลงาน เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาปรับปรุงผลงานต่างๆ อย่างต่อเนื่องให้สู่การเป็นผลงานที่สมบูรณ์ เพื่อให้พัฒนาความสามารถในการสะท้อนและ ประเมินผลงานของตนเอง เพื่อให้พัฒนาความ สามารถในการคัดเลือกผลงานและการเก็บ รวบรวมอย่างเป็นระบบ

ความหมายของการประเมินโดยใช้แฟ้มสะสมผลงาน เป็นการประเมินจาก "แฟ้มสะสมผลงาน" โดยการรวบรวม ผลงานจากการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน อย่างมีจุดมุ่งหมาย มีการวางแผนล่วงหน้าอย่างเป็นระบบ มีการสะท้อนความคิดเห็นต่อผลงาน

สรุปใบความรู้ที่ 16 การประเมินโดยใช้แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio assessment)

การประเมินจาก "แฟ้มสะสมผลงาน" โดยการรวบรมผลงานจากการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนอย่างมี

จุดมุ่งหมาย มีการวางแผนล่วงหน้าอย่างเป็นระบบ มีการสะท้อนความคิดเห็นต่อผลงาน จุดมุ่งหมายของการประเมินแฟ้ม สะสมผลงาน เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาปรับปรุงผลงานต่างๆอย่างต่อเนื่องให้สู่การเป็นผลงานที่สมบูรณ์ เพื่อให้พัฒนาความ สามารถในการสะท้อนและประเมินผลงานของตนเอง เพื่อให้พัฒนาความสามารถในการคัดเลือกผลงานและการเก็บรวบรวม อย่างเป็นระบบ ประเภทของแฟ้มสะสมผลงานของผู้เรียน 1. Working portfolio เป็นแฟ้มสะสมผลงานที่ผู้เรียนจัดทำขึ้น เพื่อรวบรวมผลงานในระหว่างการเรียนการสอน แสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานและอยู่ในระหว่างการ คัดเลือกหรือปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น เพื่อที่จะเป็นแฟ้มสะสมผลงานที่สมบูรณ์ 2. Display or show portfolio เป็นแฟ้ม สะสมผลงานที่คัดเลือกผลงานที่ดีที่สุดจากแฟ้มสะสมผลงานที่รวบรวมเอาไว้ ภายใต้คำแนะนำของผู้สอน ซึ่งคัดเลือกตาม เกณฑ์ที่ร่วมกันกำหนดขึ้นกับครูผู้สอน 3. Assessment portfolio เป็นแฟ้มสะสมผลงานที่ผู้เรียนนั้นรวบรวมผลงาน ทั้งหมดหรือบางส่วน เพื่อที่จะให้ผู้สอนทำการประเมินคุณภาพการเรียนรู้ด้านต่าง ๆ ตามเกณฑ์การประเมินที่ได้กำหนดไว้ ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน หลักการของการประเมินโดยใช้แฟ้มสะสมผลงาน เป็นการทำงานระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน เป็นการ รวบรวมผลงานตามระยะเวลาที่กำหนด รวบรวมผลงานอย่างมีจุดมุ่งหมายเพื่อเป็นหลักฐานทางความก้าวหน้าของ การเรียนรู้ มีการวางแผนล่วงหน้าอย่างเป็นระบบ ผู้เรียนเก็บรวบรวมและคัดเลือกผลงานภายใต้คำแนะนำของผู้สอนหรือผู้ที่ เกี่ยวข้อง ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเลือกผลงาน และการกำหนดเกณฑ์ต่าง ๆ ผู้เรียนมีการสะท้อนความคิดเห็นต่อผลงาน และ ประเมินตนเองว่าเป็นอย่างไร แฟ้มสะสมผลงานเป็นแสดงให้คนอื่นได้เห็นถึงการเรียนรู้และความก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน ผู้เรียนเป็นผู้มีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้และการประเมินผล

สัญญาการเรียน

ความรู้สึกที่มีต่ออาจารย์ ความรู้สึกแรกที่รับรู้ตั้งแต่ยังไม่ได้เรียนเลย คือคิดว่าอาจารย์ดูโหดและเป็นคนจริงจัง เมื่อได้เรียนกับอาจารย์แล้วคิดว่าอาจารย์ดู เป็นคนที่มีอารมณ์ขัน และดูเป็นคนที่เข้าใจ นักเรียนไม่ตัดสินแค่สิ่งที่เห็น เป็นคนช่าง สังเกตถึงความผิดปกติของศิษย์สามารถให้ คำแนะนำและปรึกษาได้ อาจารย์มีความ สามารถในการถ่ายทอดความรู้

k n a h T ! u ! o y

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.