PA1 ครู พนิดา ส่ง Flipbook PDF


66 downloads 103 Views 5MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript

ข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) ส าหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ต าแหน่ง ครู(ยังไม่มีวิทยฐานะ) โรงเรียนบึงศรีราชาพิทยาคม ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ระหว่างวันที่1 เดือน ตุลาคม พ.ศ.2565 ถึงวันที่30 เดือน กันยายน พ.ศ. 2566 ผู้จัดท าข้อตกลง ชื่อ นางสาวพนิดา นามสกุล สวามิชัย ต าแหน่ง ครู(ยังไม่มีวิทยฐานะ)d สถานศึกษา โรงเรียนบึงศรีราชาพิทยาคม สังกัด ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง รับเงินเดือนในอันดับ คศ.1 อัตราเงินเดือน 19,600 บาท ประเภทห้องเรียนที่จัดการเรียนรู้ (สามารถระบุได้มากกว่า 1 ประเภทห้องเรียน ตามสภาพการจัด การเรียนรู้จริง) ห้องเรียนวิชาสามัญหรือวิชาพื้นฐาน ห้องเรียนปฐมวัย ห้องเรียนการศึกษาพิเศษ ห้องเรียนสายวิชาชีพ ห้องเรียนการศึกษานอกระบบ / ตามอัธยาศัย ข้าพเจ้าขอแสดงเจตจ านงในการจัดท าข้อตกลงในการพัฒนางาน ต าแหน่งครู (ยังไม่มีวิทยฐานะ) ซึ่งเป็นต าแหน่งที่ด ารงอยู่ในปัจจุบันกับผู้อ านวยการสถานศึกษา ไว้ดังต่อไปนี้ ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานต าแหน่ง ภาคเรียนที่ 2/2565 1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. ก าหนด 1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจ านวน 18.33 ชั่วโมง/สัปดาห์ ดังนี้ -กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาวิทยาศาสตร์2 รหัสวิชา ว21102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 1/5 1/8 จ านวน 9 คาบ/สัปดาห์ รวม 7.5 ชั่วโมง/สัปดาห์ -กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาโลกดาราศาสตร์และอวกาศ รหัสวิชา ว33262 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 จ านวน 2 คาบ/สัปดาห์ รวม 1.67 ชั่วโมง/สัปดาห์ -กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาวิทยาศาสตร์4 รหัสวิชา ว22102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/5 2/6 จ านวน 6 คาบ/สัปดาห์ รวม 5 ชั่วโมง/สัปดาห์ – กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี จ านวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์ กิจกรรมชุมนุม จ านวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์ กิจกรรมสาธารณะประโยชน์ จ านวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์ กิจกรรมติวโอเน็ต จ านวน 1.67 ชั่วโมง/สัปดาห์ PA1/ส


1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จ านวน 8 ชั่วโมง/สัปดาห์ PLC จ านวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ งานอื่นๆตามค าสั่งที่ได้รับมอบหมาย จ านวน 5 ชั่วโมง/สัปดาห์ งานที่ปรึกษา ดูแลนักเรียน โฮมรูม จ านวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ 1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จ านวน 8 ชั่วโมง/สัปดาห์ หัวหน้างานส านักงานฝ่ายกิจการนักเรียน จ านวน 5 ชั่วโมง/สัปดาห์ ผู้ช่วยงานระดับชั้น จ านวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ 1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จ านวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ ภาคเรียนที่ 1/2566 (คาดการณ์) 1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. ก าหนด 1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจ านวน 19.99 ชั่วโมง/สัปดาห์ ดังนี้ -กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาวิทยาศาสตร์1 รหัสวิชา ว21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 1/5 1/8 จ านวน 9 คาบ/สัปดาห์ รวม 7.5 ชั่วโมง/สัปดาห์ -กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาวิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ รหัสวิชา ว33110 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 6/2 6/3 6/4 จ านวน 3 คาบ/สัปดาห์ รวม 10 ชั่วโมง/สัปดาห์ – กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี จ านวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์ กิจกรรมชุมนุม จ านวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์ กิจกรรมสาธารณะประโยชน์ จ านวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์ 1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จ านวน 8 ชั่วโมง/สัปดาห์ PLC จ านวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ งานอื่นๆตามค าสั่งที่ได้รับมอบหมาย จ านวน 5 ชั่วโมง/สัปดาห์ งานที่ปรึกษา ดูแลนักเรียน โฮมรูม จ านวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ 1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จ านวน 8 ชั่วโมง/สัปดาห์ หัวหน้างานส านักงานฝ่ายกิจการนักเรียน จ านวน 5 ชั่วโมง/สัปดาห์ ผู้ช่วยงานระดับชั้น จ านวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ 1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จ านวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์


2. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานต าแหน่งครู(ให้ระบุรายละเอียดของงานที่จะปฏิบัติในแต่ละด้านว่าจะ ด าเนินการอย่างไร โดยอาจระบุระยะเวลาที่ใช้ในการด าเนินการด้วยก็ได้) ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานต าแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะด าเนินการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (ภาคเรียนที่2/2565 และ 1/2566) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน (ภาคเรียนที่ 2/2565 และ 1/2566) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (ภาคเรียนที่ 2/2565 และ 1/2566) 1. ด้านการจัดการเรียนรู้ ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุม ถึงการสร้างและหรือพัฒน า หลักสูตร การออกแบบก า ร จัดการเรียนรู้ การจัดกิจกรรม การเรียนรู้ การสร้างและหรือ พัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ การวัดและ ประเมินผลการจัดการเรียนรู้ การศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการ เรียนรู้ การจัดบรรยากาศที่ ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน และ ก า ร อ บ ร ม 2แ ล ะ พั ฒ น า คุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน 1.1 สร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร มีการจัดท ารายวิชาและหน่วยการ เรียนรู้ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการ เรียนรู้ และตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้ ตาม หลักสูตรเพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาสมรรถนะ และการเรียนรู้ เต็มตามศักยภาพ โดยมี การปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับบริบท ของสถานศึกษา ผู้เรียน และท้องถิ่น 1) ผู้เรียนเกิดความรู้ความ เข้าใจเรื่องหน่วยวัดอุณหภูมิ อย่างถูกต้อง 2) ผู้เรียนสามารถน าองค์ ความรู้จากการใช้ปัญหาที่ เกิดขึ้นไปปรับใช้ใน ชีวิตประจ าวันได้ 1) ผู้เรียนร้อยละ 80 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง กว่าที่โรงเรียนก าหนด 2) ผู้เรียนร้อยละ 80 มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สูงกว่าที่โรงเรียนก าหนด 3) ผู้เรียนร้อยละ 80 สามารถอ่าน คิด วิเคราะห์ เขียนสื่อความจากเรื่องที่ เรียนรู้สูงกว่าที่โรงเรียน ก าหนด 1.2 ออกแบบการจัดการเรียนรู้ เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ เพื่อให้ผู้เรียนมี ความรู้ ทักษะ คุณลักษณะประจ าวิชา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะ ที่ส าคัญ ตามหลักสูตร โดยมีการปรับ ประยุกต์ให้สอดคล้องกับบริบทของ สถานศึกษา ผู้เรียน และท้องถิ่น 1) ผู้เรียนมีความรู้ตาม มาตรฐานและตัวชี้วัด ตามธรรมชาติวิชา 2) ผู้เรียนมีกระบวนการ คิด และค้นพบองค์ความ รู้ด้วย ตนเองและสร้างแรง บันดาล ใจตามที่คาดหวังประสงค์ และสมรรถนะ ส าคัญตามหลักสูตร 3) ผู้เ รียนได้ค วาม รู้และ ทักษะในการค้นหาความคิด รวบยอด ซึ่งจะเป็นทักษะ ส าคัญติดตัวผู้เรียนไปตลอด ชีวิต 1) ผู้เรียนร้อยละ 80 มีผลการประเมินตามที่ สถานศึกษาก าหนด 2) ผู้เรียนร้อยละ 80 ของผู้เรียนมีผลการ ประเมินในด้าน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์สูงขึ้นเป็นไปตามค่า เป้าหมายที่ สถานศึกษาก าหนด


ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานต าแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะด าเนินการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (ภาคเรียนที่2/2565 และ 1/2566) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน (ภาคเรียนที่ 2/2565 และ 1/2566) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (ภาคเรียนที่ 2/2565 และ 1/2566) 1.3 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีการอ านวยความสะดวกในก าร เรียนรู้ และส่งเสริมผู้เรียนได้พัฒนาเต็ม ตามศักยภาพ เรียนรู้และท างานร่วมกัน โดยมีการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับ ความแตกต่างของผู้เรียน 1) ผู้เรียนได้รับการ พัฒนาตามศักยภาพ ตามความแตกต่างของ แต่ละบุคคล 2) ผู้เรียนมีนิสัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการ ท างานและสามารถ ท างานร่วมกับผู้อื่นได้ เป็นอย่างดี 1) ผู้เรียนร้อยละ 80 ของผู้เรียนมีความรู้ผ่าน เกณฑ์การประเมิน ตามที่สถานศึกษา ก าหนด 2) ผู้เรียนร้อยละ 80 ของผู้เรียนมีนิสัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการ ท างาน และสามารถ ท างานร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างดีเป็นไปตามค่า เป้าหมายที่สถานศึกษา ก าหนด 1.4 สร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้ มี ก า ร ส ร้ าง แ ล ะ ห รื อ พั ฒ น า สื่ อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและ แหล่งเรียนรู้สอดคล้องกับกิจกรรมการ เ รียนรู้ โดยมีกา รป รับป ระยุ ก ต์ให้ สอดคล้องกับความแตกต่างของผู้เรียน และท าให้ผู้เรียนมีทักษะการคิดและ สามารถสร้างนวัตกรรมได้ 1) ผู้เรียนได้รับความรู้ จากการใช้สื่อที่ หลากหลาย สอดคล้อง กับกิจกรรมการเรียนรู้ และทันสมัย 2) ผู้เรียนได้รับความรู้ จากการใช้แหล่งเรียนรู้ที่ หลากหลาย และ สอดคล้องกับการเรียนรู้ 1) ผู้เรียนร้อยละ 80 ของผู้เรียนมีความรู้ผ่าน เกณฑ์การประเมิน ตามที่สถานศึกษา ก าหนด 2) ผู้เรียนร้อยละ 80 ของผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น เป็นไปตามค่า เป้าหมายที่สถานศึกษา ก าหนด 1.5 วัดและประเมินผลการเรียนรู้ มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้วยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสม และ สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ให้ ผู้เรียนพัฒนาการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 1) ผู้เรียนได้รับการ ประเมินผลการเรียนรู้ อย่างต่อเนื่องหลากหลาย 2) น าผลการประเมิน มาใช้ในการส่งเสริม หรือปรับปรุงแก้ไขการ เรียนรู้ของผู้เรียน 1) ผู้เรียนได้รับการพัฒนา และแก้ไขปัญหาการ จัดการ เรียนรู้โดยใช้ผลจากการวัด ประเมินผล เป็นไปตามค่า เป้าหมาย ที่สถานศึกษา ก าหนด


ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานต าแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะด าเนินการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (ภาคเรียนที่2/2565 และ 1/2566) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน (ภาคเรียนที่ 2/2565 และ 1/2566) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (ภาคเรียนที่ 2/2565 และ 1/2566) 1.6 ศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ เพื่อ แก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ มี ก า ร ศึ ก ษ า วิ เ ค ร า ะ ห์ แ ล ะ สังเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการ เรียนรู้ที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน 1) ผู้เรียนได้รับการศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ เพื่อแก้ไขปัญหาหรือ พัฒนาการเรียนรู้ที่ส่งผล ต่อ คุณภาพปัญหาหรือ พัฒนาการจัดการเรียนรู้ เป็นไปตามค่าเป้าหมาย ที่ สถานศึกษาก าหนด 1) ผู้เรียนร้อยละ 60 ได้รับการศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์เพื่อแก้ไข ปัญหาหรือพัฒนาการ เรียนรู้ที่ส่งผลต่อคุณภาพ ปัญหาหรือ พัฒนาการ จัดการเรียนรู้ ส าคัญตาม หลักสูตรสูงขึ้นเป็นไปตามค่า เป้าหมายที่สถานศึกษา ก าหนด 1.7 จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนา ผู้เรียน มีการจัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและ พัฒนาผู้เรียน ให้เกิดกระบวนการคิด ทักษะชีวิต ทักษะการท างาน ทักษะการ เ รี ย น รู้ แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม ทั ก ษ ะ ด้ า น สารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี 1) ผู้เรียนเกิดกระบวน การ คิดทักษะชีวิต ทักษะ การ ท างาน ทักษะการ เรียนรู้ และนวัตกรรม ทักษะด้าน สารสนเทศและเทคโนโลยี เป็นไป ตามค่าเป้าหมายที่ สถาน ศึกษาก าหนด กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน ความรับผิดชอบในการส่ง ภาระงาน และมีความ ซื่อสัตย์ต่อตนเอง 1) ผู้เรียนร้อยละ 80 เกิดกระบวนการคิด ทักษะ ชีวิต ทักษะการ ท างาน ทักษะการเรียนรู้และ นวัตกรรม ทักษะด้าน สารสนเทศ สื่อ และ เทคโนโลยีเป็นไปตาม ค่า เป้าหมายที่สถานศึกษา ก าหนด 1.8 อบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของ ผู้เรียน มีการอบรมบ่มนิสัยให้ผู้เรียนมี คุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ และค่านิยมความเป็นไทยที่ดี งาม 1) ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะ อัน พึงประสงค์และค่า นิยม ความเป็นไทยที่ดี งาม โดย ค านึงถึงความ แตกต่างของ ผู้เรียนเป็น รายบุคคล 1) ผู้เรียนร้อยละ 80 ของผู้เรียนมี คุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ และค่านิยมความ เป็นไทยที่ดีงาม โดยค านึงถึง ความแตกต่างของผู้เรียน


ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานต าแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะด าเนินการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (ภาคเรียนที่2/2565 และ 1/2566) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน (ภาคเรียนที่ 2/2565 และ 1/2566) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (ภาคเรียนที่ 2/2565 และ 1/2566) 2.ด้านการส่งเสริมและ สนับสนุน การจัดการเรียนรู้ลักษณะงานที่ เสนอให้ครอบคลุมถึงการจัดท า ข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและ รายวิชาการด าเนินการตาม ระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน การ ปฏิบัติงานวิชาการ และงานอื่น ๆ ของสถานศึกษา และการ ประสานความร่วมมือกับ ผู้ปกครองภาคีเครือข่าย และ หรือสถานประกอบการ 2.1 จัดท าข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียน และรายวิชา มีการจัดท าข้อมูลสารสนเทศของ ผู้เรียนและรายวิชาเพื่อใช้ในการส่งเสริม สนับสนุนการเรียนรู้ และพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน 1) ผู้เรียนได้รับการ สนับสนุน ช่วยเหลือ ดูแลทั้งด้านวิชาการ ลักษณะนิสัยอันพึง ประสงค์รวมทั้ง สมรรถนะส าคัญผู้เรียน 2) ผู้เรียนได้รับการ แก้ไขหรือพัฒนาทั้งด้าน วิชาการ ลักษณะนิสัย อันพึงประสงค์รวมทั้ง สมรรถนะส าคัญผู้เรียน 1) ผู้เรียนร้อยละ 100 ได้รับ การดูแลช่วยเหลือตามข้อมูล สารสนเทศที่ครูจัดท าขึ้น 2) ผู้เรียนร้อยละ 100 เข้าถึง ข้อมูลสารสนเทศรายวิชา 3) ผู้เรียนร้อยละ 100 ได้รับ การจัดการเรียนการสอน แบบเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ 2.2 ด าเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือ ผู้เรียน มีการใช้ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับ ผู้เรียนรายบุคคล และประสานความ ร่วมมือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนา และแก้ปัญหาผู้เรียน 1) ผู้เรียนได้รับการ สนับสนุน ช่วยเหลือ ดูแลทั้งด้านวิชาการ ลักษณะนิสัยอันพึง ประสงค์รวมทั้ง สมรรถนะส าคัญผู้เรียน 2) ผู้เรียนได้รับการ แก้ไขหรือพัฒนาทั้งด้าน วิชาการ ลักษณะนิสัย อันพึงประสงค์รวมทั้ง สมรรถนะส าคัญผู้เรียน 1) ผู้เรียนมีความ พึงพอใจ ที่ ได้รับการ ช่วยเหลือ พัฒนาและแก้ไข ปัญหา ด้วยการด าเนินตาม ระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน 2.3 ปฏิบัติงานวิชาการ และงานอื่นๆ ของสถานศึกษา ร่วมปฏิบัติงานทางวิชาการ และ งานอื่น ๆ ของสถานศึกษาเพื่อยกระดับ คุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 1) ผู้เรียนมีความรู้ ตาม มาตรฐานและตัวชี้วัด 2) ผู้เรียนได้รับการ พัฒนาที่ดีขึ้น 1) ผู้เรียนได้รับความรู้ อย่าง เต็มที่ และเต็ม ศักยภาพ โดยท าง โ รงเ รียนมีก า ร จัดการเรียนการสอนแบบ เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ


ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานต าแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะด าเนินการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (ภาคเรียนที่2/2565 และ 1/2566) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน (ภาคเรียนที่ 2/2565 และ 1/2566) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (ภาคเรียนที่ 2/2565 และ 1/2566) 2.4 ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ภ า คี เ ค รื อ ข่ า ย แ ล ะ ห รื อ ส ถ า น ประกอบการ ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ภ า คี เ ค รื อ ข่ า ย แ ล ะ ห รื อ ส ถ า น ประกอบการ เพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียน 1) ผู้เรียนได้รับการพัฒนา แ ล ะ แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า ด้ ว ย ด าเนินการตามระบบ ดูแล ช่วยเหลือผู้เรียน ด้วยการ ประสานความ ร่วมมือกับ ผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และหรือ สถานประกอบการ 1) ผู้เรียนมีความ พึงพอใจ ที่ได้รับการดูแล ช่ ว ย เ ห ลื อ ร่ ว ม กั บ ก า ร ประสาน ความร่วมมือกับ ผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และสถาน ประกอบการ 3. ด้านการพัฒนาตนเองและ วิชาชีพ ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุม ถึงการพัฒนาตนเองอย่างเป็น ระบบและต่อเนื่อง การมีส่วน ร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ท าง วิ ช า ชีพ เพื่ อพัฒน าก า ร จัดการเรียนรู้ และการน าความรู้ ความสามารถ ทักษะที่ได้จาก การพัฒนาตนเองและวิชาชีพมา ใช้ในก า รพัฒน าก า รจัดการ เ รี ยน รู้ ก า รพัฒน าคุณภ าพ ผู้เรียน และการพัฒนานวัตกรรม การจัดการเรียนรู้ 3.1 พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและ ต่อเนื่อง เพื่อให้มีความรู้ความสามารถ ทั กษ ะ โ ด ยเ ฉพ า ะ อ ย่ าง ยิ่ง ก า รใ ช้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อการ สื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อ การศึกษาสมรรถนะวิชาชีพครูและ ความรอบรู้ในเนื้อหาวิชาและวิธีการ สอน 1) ผู้เรียนมีความพึงพอใจใน การได้รับการบริการด้าน ความรู้และด้านอื่นๆ ใน รูปแบบที่ทันสมัยขึ้น 2) ผู้เรียนมีความพึงพอใจใน การได้รับการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ ใหม่ๆ ด้วยนวัตกรรมที่ครู สร้างขึ้น 1) ผู้เรียนมีความ พึงพอใจในการจัดการเรียน การรู้ของครูโดยรวม ผ่าน กิจกรรม “การประเมิน คุณภาพการจัดการเรียนการ สอนของครูตามความ คิดเห็นของนักเรียน” อยู่ใน ระดับ มาก ขึ้นไป


ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานต าแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะด าเนินการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (ภาคเรียนที่2/2565 และ 1/2566) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน (ภาคเรียนที่ 2/2565 และ 1/2566) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (ภาคเรียนที่ 2/2565 และ 1/2566) 3.2 มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทางวิชาชีพ เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ 1) ผู้เรียนมีความ พึงพอใจในการได้รับ บรรยากาศและ ประสบการณ์ใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมนิเทศ การสอน 2) นักเรียนได้รับการ แก้ปัญหาหรือพัฒนา ด้านคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ 3) นักเรียนได้รับการ แก้ปัญหาหรือพัฒนา ด้านสมรรถนะส าคัญ ผู้เรียน 1) ผู้เรียนมีความ พึงพอใจ ในการได้รับ บรรยากาศ และ ประสบการณ์ใหม่ๆ ที่ เกิดขึ้นจากกิจกรรม นิเทศ การสอน 3.3 น าความรู้ ความสามารถ ทักษะที่ได้ จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ใน การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การพัฒนา คุณภาพผู้เรียน และการพัฒนานวัตกรรม การจัดการเรียนรู้ 1) ผู้เรียนมีความพึงพอใจใน การได้รับการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ ใหม่ๆ ด้วยนวัตกรรมที่ครู สร้างขึ้น 2) นักเรียนได้รับการ แก้ปัญหาหรือพัฒนาใน ด้านการเรียนรู้ 3) นักเรียนได้รับการ แก้ปัญหาหรือพัฒนา ด้านสมรรถนะส าคัญ ผู้เรียน 1) ผู้เรียนร้อยละ 100 ได้รับ การจัดการเรียนการสอน แบบเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ


หมายเหตุ 1. รูปแบบการจัดท าข้อตกลงในการพัฒนางาน.ตามแบบ.PA.1.ให้เป็นไปตามบริบทและสภาพการจัดการเรียนรู้ของ แต่ละสถานศึกษา โดยความเห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้อ านวยการสถานศึกษาและข้าราชการครูผู้จัดท าข้อตกลง 2. งาน (Tasks) ที่เสนอเป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน ต้องเป็นงานในหน้าที่ความรับผิดชอบหลักที่ส่งผลโดยตรงต่อ ผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน และให้น าเสนอรายวิชาหลักที่ท าการสอน โดยเสนอในภาพรวมของรายวิชาหลักที่ท าการสอน ทุกระดับชั้น ในกรณีที่สอนหลายรายวิชา สามารถเลือกรายวิชาใดวิชาหนึ่งได้ โดยจะต้องแสดงให้เห็นถึงการปฏิบัติงานตาม มาตรฐานต าแหน่ง และคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลงสามารถประเมินได้ตามแบบการประเมิน PA 2 3. การพัฒนางานตามข้อตกลง ตามแบบ PA 1 ให้ความส าคัญกับผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน (Outcomes)และ ตัวชี้วัด (Indicators) ที่เป็นรูปธรรม และการประเมินของคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลง ให้ คณะกรรมการด าเนินการประเมิน ตามแบบ PA 2 จากการปฏิบัติงานจริงสภาพการจัดการเรียนรู้ในบริบทของแต่ละ สถานศึกษา และผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนที่เกิดจากการพัฒนางานตามข้อตกลงเป็นส าคัญ โดยไม่เน้นการประเมินจาก เอกสาร ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ของผู้จัดท าข้อตกลง ซึ่งปัจจุบัน ด ารงต าแหน่ง ครู (ยังไม่มีวิทยฐานะ )ต้องแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง คือ การปรับประยุกต์ การจัดการเรียนรู้และการพัฒนา คุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนามากขึ้น (ทั้งนี้ ประเด็นท้าทายอาจจะ แสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังที่สูงกว่าได้) ประเด็นท้าทาย เรื่อง การพัฒนาทักษะการค านวนทางวิทยาศาสตร์ เรื่องการเปลี่ยนหน่วยของอุณหภูมิ โดยใช้แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน2 รหัสวิชา ว21102 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่1/2 ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา 2565 1. สภาพปัญหาของผู้เรียนและการจัดการเรียนรู้ จากปัญหาการเรียนการสอนในห้องเรียนที่ครูผู้สอนได้พบเจอพบว่า ปัญหาการเรียนรู้ของนักเรียนเนื่อง ด้วยพัฒนาการทักษะการค านวณของนักเรียน วิธีการเรียนรู้ที่ไม่เหมาะสม ความรับผิดชอบ หรือวิธีการสอนของครูที่อาจจะ เข้าไม่ถึงความเข้าใจของนักเรียน ท าให้คะแนนทักษะการค านวณทางการเรียนต่ า และนักเรียนเกิดความเบื่อหน่ายในการ เรียนในรายวิชา ครูผู้สอนจึงได้ใช้เทคนิคการเรียนการสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะซึ่งเป็นวิธีที่เหมาะสมในการแก้ปัญหาดังกล่าว 2. วิธีการด าเนินการให้บรรลุผล 1. จัดท าแผนการจัดการเรียนรู้ 1.1 วิเคราะห์หลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ตามหลักสูตร สถานศึกษาและหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2561) 2. จัดกระบวนการเรียนรู้แบบสร้างองค์ความรู้มีดังนี้ 2.1 ขั้นแนะน า (Orientation) เป็นขั้นที่ผู้เรียนจะรับรู้ถึงจุดมุ่งหมายของบทเรียนและมี แรงจูงใจในการ เรียนรู้ 2.2 ขั้นทบทวนความรู้เดิม (Elicitation of the Prior Knowledge) เป็นขั้นที่ผู้เรียน แสดงออกถึง ความรู้ความเข้าใจเดิมที่มีอยู่ในเรื่องที่ก าลังจะเรียนรู้


2.3 ขั้นปรับเปลี่ยนความคิด (Turning Restructuring of Ideas) เป็นขั้นตอนที่ส าคัญของ การจัดการ เรียนรู้ตามแนวทางสร้างองค์ความรู้ ซึ่งประกอบด้วย ขั้นตอนย่อยดังนี้ 2.3.1 ท าความกระจ่าง และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน (Clarification and Exchange of Ideas) เป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียนใช้ทักษะการคิดเพื่อให้เกิดองค์ความรู้ 2.3.2 การสร้างความคิดใหม่ (constructivism of new ideas) จากการอภิปราย ร่วมกัน และสาธิต ท าให้ผู้เรียนสามารถก าหนดความคิดใหม่ หรือความรู้ใหม่ขึ้นได้ 2.3.3 ประเมินความคิดใหม่ (evaluation of the new ideas) โดยการทดลองหรือการ คิด อย่างลึกซึ้ง 2.4 ขั้นน าความคิดไปใช้ (application of ideas) เป็นขั้นตอนที่ผู้เรียนมีโอกาสใช้แนวคิดหรือ ความรู้ ความเข้าใจมาพัฒนาท าให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย 2.5 ขั้นทบทวน (review) เป็นขั้นตอนสุดท้าย ผู้เรียนจะได้ทบทวนความคิด ความเข้าใจ โดย การ เปรียบเทียบความคิดระหว่างความคิดเดิมกับความคิดใหม่ 3. การตรวจสอบประเมินผล (Check) 3.1 ใช้แบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3.2 ประเมินความพึงพอใจโดยใช้แบบสอบถามความพึงพอใจในการเรียนด้วยสื่อด้าน นวัตกรรมและ เทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน 4. การปรับปรุงและพัฒนา (Action) 4.1 น าข้อเสนอแนะจากแบบสอบถามความพึงพอใจไปปรับปรุงพัฒนาสื่อด้านนวัตกรรมและ เทคโนโลยี เพื่อการเรียนการสอน 4.2 จัดท าสื่อด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน บูรณาการให้สามารถใช้ได้ กับเรื่องอื่น 4.3 ขยายเครือข่ายความรู้สู่หน่วยงานภายนอก


Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.