ความเคลื่อนไหว แรงงานเด็ก Q4-64_10-03-65 แก้ไข Flipbook PDF

ความเคลื่อนไหว แรงงานเด็ก Q4-64_10-03-65 แก้ไข

42 downloads 100 Views 7MB Size

Recommend Stories


Porque. PDF Created with deskpdf PDF Writer - Trial ::
Porque tu hogar empieza desde adentro. www.avilainteriores.com PDF Created with deskPDF PDF Writer - Trial :: http://www.docudesk.com Avila Interi

EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF
Get Instant Access to eBook Empresas Headhunters Chile PDF at Our Huge Library EMPRESAS HEADHUNTERS CHILE PDF ==> Download: EMPRESAS HEADHUNTERS CHIL

Story Transcript





ก รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 : ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2564 ฉบับนี้ จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเพื่อนำเสนอขอมูลประชากรที่มีอายุ 15 ปขึ้นไป และขอมูลภาวะการทำงานของแรงงานเด็กที่มีอายุ 15 ป แตไมถึง 18 ปบริบูรณ จำแนกตามเพศ สถานภาพสมรส ระดั บ การศึ ก ษา ภาค ประเภทอุ ต สาหกรรม ประเภทอาชี พ สถานภาพการทำงาน ชั ่ ว โมงการทำงาน และระดั บ ค า จ า ง ในการทำงาน/เดือน ประมาณการอัตราการมีสวนรวมของแรงงานเด็กในภาคเอกชน รายงานการจ า งลู ก จ า งเด็ ก การตรวจคุ  ม ครองแรงงานเด็ ก ผลการดำเนิ น คดี และเปรียบเทียบปรับ คดีแรงงานเด็ก และผลการดำเนินงานที่สำคัญ วิธีการวิเคราะหของรายงานฉบับนี้ กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานได นำข อ มู ล จากโครงการสำรวจภาวะการทำงานของประชากรทั ่ ว ราชอาณาจั ก ร ไตรมาส 4 : ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2564 ของสำนักงานสถิติแหงชาติ โดยทำการ ประมวลผลขอมูลประชากรที่มีอายุ 15 ปขึ้นไปและขอมูลภาวะการทำงานของ แรงงานเด็กที่มีอายุ 15 ป แตไมถึง 18 ป และกลุม ลูกจางเอกชนที่มีอายุ 15 ปขึ้นไป แตไมถึง 18 ปบริบูรณ ซึ่งถือเปนแรงงานเด็กตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 รวมถึงนำขอมูลจากระบบสารสนเทศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน มาใชเปนขอมูลในการวิเคราะห ผลการวิเคราะหที่ไดสามารถใชเปนขอมูลประกอบการกำหนดนโยบายและ แนวทางในการกำกับดูแลการใชแรงงานเด็กใหเปนไปอยางเหมาะสมตามที่กฎหมาย กำหนด นอกจากนี้ กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน หวังเปนอยางยิ่งวาขอมูลตาง ๆ ที่นำเสนอนี้จะเปนประโยชนตอนักวิชาการ และผูที่เกี่ยวของตามสมควร กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน มีนาคม 2565



ข (ก) (ข)

คำนำ สารบัญ

(ค)

สารบัญตาราง

1

บทสรุปผูบริหาร

2

บทนำ

4

นิยามความหมายของแรงงานเด็ก

6

ขอกำหนดของการใชแรงงานเด็ก ตามอนุสัญญาแรงงานระหวางประเทศ ฉบับที่ 138 และฉบับที่ 182

9

กฎหมายเพื่อการคุม ครองแรงงานเด็ก

12

ภาวะการทำงานของแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 : ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2564

23

รายงานการจางลูกจางเด็ก ไตรมาส 4 : ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2564

25

การตรวจคุมครองแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 : ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2564

27

ผลการดำเนินคดีและเปรียบเทียบปรับ คดีแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 : ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2564

32

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ไตรมาส 4 : ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2564

37

ภาคผนวก



ค 12

ตารางที่ 1 จำนวนประชากร จำแนกตามสถานภาพแรงงาน ไตรมาส 4 : ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2564

14

ตารางที่ 2 จำนวนและรอยละของผูมีงานทำที่เปนเด็ก (อายุ 15 ปขึ้นไป แตไมถึง 18 ปบริบูรณ) จำแนกตามเพศ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา ภาค ประเภทอุตสาหกรรม อาชีพ สถานภาพ การทำงาน ชั่วโมงการทำงาน/สัปดาห และระดับคาจางใน การทำงาน/เดือน ไตรมาส 4 : ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2564

19

ตารางที่ 3 จำนวนและรอยละของลูกจางในภาคเอกชนที่เปนเด็ก (อายุ 15 ปขึ้นไป แตไมถึง 18 ปบริบูรณ) จำแนกตามเพศ สถานภาพสมรส ระดับ การศึกษา ภาค ประเภทอุตสาหกรรม อาชีพ ชั่วโมงการทำงาน/ สัปดาหและระดับคาจางในการทำงาน/เดือน ไตรมาส 4 : ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2564

22

ตารางที่ 4 จำนวนประชากรเด็ก (อายุ 15 ปขึ้นไป แตไมถงึ 18 ปบริบูรณ) จำแนกตามการเรียนและการทำงาน ไตรมาส 4 : ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2564

24

ตารางที่ 5 จำนวนการแจงการจางลูกจางเด็ก และการแจงสิ้นสุดการจางลูกจาง เด็กตามมาตรา 45 (1) และมาตรา 45 (3) แหงพระราชบัญญัติคุมครอง แรงงาน พ.ศ. 2541 ไตรมาส 4 : ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2563 และ 2564

(ตอ) 26

ตารางที่ 6 จำนวนสถานประกอบกิจการที่ผานการตรวจคุมครองแรงงาน ที่มีการใชแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 : ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2563 และ 2564

26

ตารางที่ 7 จำนวนสถานประกอบกิจการที่ปฏิบัติไมถูกตองตามกฎหมาย เกี่ยวกับการใชแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 : ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2563 และ 2564

27

ตารางที่ 8 จำนวนการดำเนินคดีอาญาสถานประกอบกิจการที่มีการจางแรงงาน เด็กอายุต่ำกวา 15 ป เปนลูกจาง ตามมาตรา 44 แหงพระราชบัญญัติ คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ไตรมาส 4 : ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2564

28

ตารางที่ 9 จำนวนการดำเนินคดีอาญาสถานประกอบกิจการที่มีการจางเด็ก อายุต่ำกวา 18 ป แตไมแจงการจางลูกจางซึ่งเปนเด็กตอพนักงาน ตรวจแรงงานภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด ตามมาตรา 45 แหง พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ไตรมาส 4 : ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2564

29

ตารางที่ 10 จำนวนการดำเนินคดีอาญาสถานประกอบกิจการที่มีการจางเด็กอายุ ต่ำกวา 18 ป เปนลูกจาง ทำงานลวงเวลาหรือทำงานในวันหยุด ตามมาตรา 48 แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ไตรมาส 4 : ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2564



1 รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 : ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2564 ผลการสำรวจภาวะการทำงานของแรงงานเด็ก (อายุ 15 ปขึ้นไป แตไมถึง 18 ปบริบูรณ) ในไตรมาส 4 ป 2564 พบวา จากผูอยูในกำลังแรงงานที่เปนเด็ก จำนวน 157,150 คน จำแนกเปน ผูมีงานทำ จำนวน 140,918 คน ผูวางงาน จำนวน 16,053 คน และผูรอฤดูกาลจำนวน 179 คน ทั้งนี้ เมื่อจำแนกผูมีงานทำตามประเภทอุตสาหกรรม พบวา อยูนอกภาคเกษตรกรรม และในภาค เกษตรกรรม จำนวน 74,996 คน และ 65,922 คน (รอยละ 53.2 และ 46.8) ตามลำดับ และพบวา สวนใหญรอยละ 90.6 ทำงาน 1 – 48 ชั่วโมง/สัปดาห หากพิจารณาเฉพาะที่เปนลูกจางในภาคเอกชน ซึ่งมีจำนวน 50,280 คน พบวา สวนใหญอยูนอกภาคเกษตรกรรม จำนวน 37,136 คน รอยละ 73.9 ประกอบอาชี พงานพื้ น ฐาน (พนักงาน/คนงานทั่ วไป) จำนวน 21,282 คน (รอยละ 42.3) ทั้งนี้ จากขอมูลผูอยูในกำลังแรงงานที่เปนเด็กทั้งหมด จำนวน 157,150 คน พบวา มีเด็กทำงาน จำนวน 140,918 คน จำแนกเปนทำงานอยางเดียว จำนวน 109,224 คน (รอยละ 77.51) และเรียนและทำงาน จำนวน 31,694 คน (รอยละ 22.49) ผลการวิเคราะหขอมูลจากระบบสารสนเทศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน พบวา ในไตรมาส 4 ป 2564 มีสถานประกอบกิจการที่มีการใชแรงงานเด็ก จำนวน 5,635 แหง ลูกจางเด็ก จำนวน 14,010 คน โดยในชวงเวลาดังกลาวมีสถานประกอบกิจการแจงการจาง แรงงานเด็ก ตามแบบ คร.2 จำนวน 755 แหง มีการวาจางลูกจางเด็กทำงาน จำนวน 1,500 คน เพิ่มขึ้น จากชวงเวลาเดียวกันของปกอน คิดเปนรอยละ 56.6 และ 37.2 ตามลำดับ มีสถานประกอบกิจการ แจงสิ้นสุดการจางแรงงานเด็ก ตามแบบ คร.4 จำนวน 339 แหง ลดลงจากชวงเวลาเดียวกัน ของปกอน คิดเปนรอยละ 38.3 และลูกจางเด็กสิ้นสุดจากการทำงานในสถานประกอบกิจการ จำนวน 1,097 คน เพิ่มขึ้นจากชวงเวลาเดียวกันของปกอน คิดเปนรอยละ 24.1 และจากผลการตรวจ คุมครองแรงงาน พบวาจากสถานประกอบกิจการที่ผานการตรวจทั้งหมด 5,389 แหง ลูกจาง 183,421 คน ในจำนวนนี้เปนสถานประกอบกิจการที่มีการใชแรงงานเด็ก 38 แหง เพิ่มขึ้น จากชวงเวลาเดียวกันของปกอน คิดเปนรอยละ 31.03 และลูกจางเด็กผานการตรวจ 92 คน เพิ่มขึ้นจากชวงเวลาเดียวกันของปกอน คิดเปนรอยละ 39.4 ทั้งนี้ ในไตรมาส 4 ป 2564 มีการขออนุมัติดำเนินคดีอาญาสถานประกอบกิจการ ที่ไมปฏิบัติตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 จำแนกรายมาตรา ดังนี้ มาตรา 44 จำนวน 1 คดี มาตรา 45 จำนวน 4 คดี มาตรา 48 จำนวน 1 คดี ซึ่งไมมีการเปรียบเทียบ ปรับนายจางในมาตราใด รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

บทนำ

2

จากรายงานสถานการณการคามนุษยประจำป 2564 (2021 Trafficking in Persons Report) ซึ่งเปนรายงานประจำปที่กระทรวงการตางประเทศสหรัฐอเมริกา จัดทำขึ้นตามกฎหมาย คุ  ม ครองผู  เ สี ย หายจากการค า มนุ ษ ย ค.ศ. 2001 (Trafficking Victims Protection Act of 2001 - TVPA) เพื่อเสนอตอรัฐสภาสหรัฐฯ โดยรายงาน TIP Report เปนการประเมินความพยายาม ของรัฐบาลประเทศตาง ๆ ทั่วโลกในการดำเนินการเพื่อตอตานการคามนุษย ซึ่งในปนี้ประเทศไทย ไดรับการจัดใหอยูในระดับที่ 2 ซึ่งตองจับตามอง (Tier 2 Watch List) ลดลงหลังจากที่ประเทศไทย ไดรับการจัดใหอยูในระดับที่ 2 (Tier 2) มาตอเนื่อง 3 ป โดยในรายงานระบุวา รัฐบาลไทยไมได ปฏิบัติตามมาตรฐานขั้นต่ำอยางเต็มที่ในการขจัดปญหาการคามนุษย แตมีความพยายามอยาง มีนัยสำคัญในการดำเนินการดังกลาว กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานมีความมุงมั่นในการแกไขปญหาการคามนุษยดานแรงงาน ตามนโยบายของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีวาการ กระทรวงกลาโหม พลเอก ประวิตร วงษสุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี และนายสุชาติ ชมกลิ่น รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงาน ที่ดูแลในเรื่องการปองกันและแกไขปญหาการ "คามนุษย" โดยตรง เพื่อยกระดับเทียรใหสูงขึ้น ซึ่งไดกำหนดเปนนโยบายเรงดวนดานการปองกันและแกไข ปญหาการ "คามนุษย" ดานแรงงาน โดยพุงเปาการตรวจสถานประกอบกิจการที่เสี่ยงตอการใช แรงงานเด็ก แรงงานบังคับ แรงงานขัดหนี้ และการคามนุษยดานแรงงาน เพื่อคุมครองแรงงาน ไมใหมีการละเมิดสิทธิดานแรงงานในกิจการประเภทตาง ๆ สำหรับในปงบประมาณ พ.ศ. 2565 (เดือนตุลาคม 2564 - กันยายน 2565) กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน มีแผนการดำเนินงาน เกี่ยวกับการคุมครองแรงงานเด็กที่สำคัญ ตามแผนงานยุทธศาสตร ดังนี้ 1. ยุทธศาสตรดานความมั่นคง 1.1 แผนงานยุทธศาสตรจัดการปญหาแรงงานตางดาวและการคามนุษย เพื่อบริหาร จัดการใหแรงงานตางดาวและบุคคลซึ่งไมมีสัญชาติไทยเขาสูระบบการจางงานอยางถูกตองและ ไดรับการคุมครองตามกฎหมาย และดำเนินการใหประชาชนกลุมเปาหมาย ไดแก เด็ก สตรี แรงงานไทย แรงงานตางดาว และแรงงานประมง ปลอดภัยจากขบวนการคามนุษย โดยดำเนินการ ภายใต 2 โครงการ ไดแก

รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

1) โครงการปองกันและแกไขปญหาการคามนุษยดานแรงงานและการใชแรงงานเด็ก ในรูปแบบที่เลวราย มุงเนนการปองกันและแกไขปญหาการคามนุษยดานแรงงานในกิจการ กลุมเสี่ยง ดวยการตรวจสถานประกอบกิจการกลุมเสี่ยงตอการใชแรงงานเด็ก แรงงานบังคับ แรงงานขัดหนี้ และการคามนุษยดานแรงงาน เพื่อคุมครองแรงงานในสถานประกอบกิจการกลุม เสี่ยงไมใหมีการใชแรงงานบังคับ การใชแรงงานเด็กผิดกฎหมาย หรือการคามนุษยดานแรงงาน และเพื่อคุมครองแรงงานเด็กใหมีสภาพการจางและสภาพการทำงานที่ดี ตลอดจนเสริมสราง ความรู ความเขาใจ และประชาสัมพันธการตอตานการคามนุษยดานแรงงาน และการใช แรงงานเด็กในรูปแบบที่เลวราย โดยมีกิจกรรมหลัก คือ สงเสริม พัฒนา และกำกับดูแลให แรงงานที่เปนกลุมเสี่ยงไดรับการคุมครองตามกฎหมาย ไมนอยกวา 35,000 คน 2) โครงการคุมครองสิทธิแรงงานประมงทะเล เปนการตรวจบูรณาการตรวจคุมครอง แรงงานในเรื อประมงในพื ้นที ่ 22 จังหวัดติดทะเล มีวัตถุประสงค เพื่อ ใหก ารแกไขป ญ หา การคามนุษยดานแรงงานและการใชแรงงานเด็กในรูปแบบที่เลวราย มีการบริหารจัดการ อยางเปนระบบ มีมาตรการที่ชัดเจน และดำเนินการอยางตอเนื่อง รวมถึงการคุมครองแรงงาน ในเรือประมงทะเลไมใหตกเปนเหยื่อการคามนุษยดานแรงงาน และไดรับสิทธิประโยชนตาม กฎหมายคุมครองแรงงาน โดยมีกิจกรรมหลัก คือ กำกับ ดูแลแรงงานในเรือประมงทะเล ใหไดรับการคุมครองตามกฎหมาย ไมนอยกวา 4,000 คน 2. ยุทธศาสตรดานการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 2.1 แผนงานพื้นฐานดานการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม เพื่อดำเนิน ภารกิจตามอำนาจหนาที่ตามกฎหมายดานการสรางความสามารถในการแขงขันของประเทศ โดยสนับสนุนการพัฒนาและยกระดับผลิตภาพแรงงาน ดำเนินการภายใตผลผลิตแรงงานไดรับ การคุมครองสิทธิ และนายจางมีการบริหารจัดการดานแรงงานตามกฎหมายสอดคล องกั บ มาตรฐานแรงงาน มีกิจกรรมหลัก คือ กำกับ ดูแลใหนายจางปฏิบัติถูกตองตามกฎหมาย และ สงเสริมและสนับสนุนใหนายจางมีศักยภาพในการบริหารจัดการดานแรงงาน ไมนอยกวา 1,200,000 คน รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 : ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2565 ฉบับนี้ ไดนำเสนอขอมูลประชากรที่มีอายุ 15 ปขึ้นไป และขอมูลภาวะการทำงานของแรงงานเด็กที่มี อายุ 15 ป แตไมถึง 18 ปบริบูรณ จำแนกตามเพศ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา ภาค ประเภทอุตสาหกรรม ประเภทอาชีพ สถานภาพการทำงาน ชั่วโมงการทำงาน และระดับคาจาง ในการทำงาน/เดือน รวมถึงผูมีงานทำที่เปนเด็กที่อยูในกำลังแรงงาน จำแนกตามการเรียนและ การทำงาน ซึ่งสามารถใชเปนขอมูลประกอบการกำหนดนโยบายและแนวทางในการกำกับดูแล การใชแรงงานเด็กใหเปนไปอยางเหมาะสมตามที่กฎหมายกำหนด

รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

3

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

คำนิยามและคำจำกัดความ

4

● ความหมายของแรงงานเด็ก แรงงานเด็ก ตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 หมายถึง เด็กที่มีอายุ 15 ป แตไมถึง 18 ป ทำงานโดยมีนายจางและไดรับคาจางตอบแทนจากการทำงาน แรงงานเด็ก ตามมาตรฐานแรงงานไทย (มรท.8001-2563) หมายถึง บุคคลที่มีอายุ ตั้งแต 15 ปบริบูรณแตไมถึง 18 ปบริบูรณ องคการแรงงานระหวางประเทศ (ILO) ไดใหคำนิยามของแรงงานเด็ก ตามอนุสัญญา ฉบับที่ 138 กำหนดอายุขั้นต่ำของการใชแรงงานเด็ก โดยจะตองมีอายุไมต่ำกวา 15 ป หรือ อาจกำหนดอายุ ขั้ น ต่ ำ เป น 14 ป (ต อ งแจ ง เหตุ ผ ลในการคงอายุ ขั้ น ต่ ำ 14 ป ไ ว และวั น ที่ จะยกเลิกอายุขั้นต่ำ) และสำหรับอายุขั้นต่ำของแรงงานเด็กในงานที่เปนอันตรายตอสุขภาพ ความปลอดภัย หรือศีลธรรม ตองไมต่ำกวา 18 ป หรืออาจมีการจางงานตั้งแตอายุ 16 ปได โดยมีเงื่อนไขวา สุขภาพ ความปลอดภัย และศีลธรรม จะตองไดรับความคุมครองอยางเต็มที่ และไดรับการฝกอาชีพเฉพาะดานในสาขางานที่เกี่ยวของอยางเพียงพอ บทบัญญัติอนุสัญญานี้ใชบังคับในกิจการการทำเหมืองแรและทำเหมืองหิน การผลิต การกอสราง การไฟฟา กาซและการประปา บริการสุขาภิบาล การขนสง คลังสินคา การสื่อสาร การเพาะปลูกและกิจการทางการเกษตรอื่น ๆ ซึ่งสวนใหญทำการผลิตเพื่อจุดประสงคทางการคา ยกเวนการผลิตภายในครอบครัวและการผลิตขนาดเล็กเพื่อการบริโภคภายในทองถิ่นและไมมีการจาง คนงานเปนประจำ อนุสัญญานี้ไมใชบังคับกับงานที่เกิดขึ้นเพื่อการบริโภค

รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

● คำจำกัดความ หัวขอ ภาวะการงานของแรงงานเด็ก กำลังแรงงาน หมายถึง บุคคลทุกคนที่มีอายุ 15 ปขึ้นไป ซึ่งในสัปดาหแหงการสำรวจเปน ผูที่อยูในกำลังแรงงานปจจุบัน หรือเปนผูถูกจัดจำแนกอยูในประเภทกำลังแรงงานที่รอฤดูกาล ผูมีงานทำ หมายถึง บุคคลทุกคนที่มีอายุ 15 ปขึ้นไป ซึ่งในสัปดาหแหงการสำรวจมี ลักษณะอยางหนึ่งอยางใด ดังตอไปนี้ 1. ไดทำงานตั้งแต 1 ชั่วโมงขึ้นไป โดยไดรับคาจาง เงินเดือน ผลกำไร เงินปนผล คาตอบแทน ลักษณะอยางอื่นสำหรับผลงานที่ทำ เปนเงินหรือสิ่งของ 2. ไมไดทำงาน หรือทำงานนอยกวา 1 ชั่วโมง แตเปนบุคคลที่มีลักษณะอยางหนึ่งอยาง ใด ดังตอไปนี้ (ซึ่งจะถือวาเปน ผูที่ปกติมีงานประจำ) 2.1 ยังไดรรับคาตอบแทน คาจาง หรือผลประโยชนอืน่ ๆ หรือผลกำไรจากงานหรือ ธุรกิจในระหวางที่ไมไดทำงาน แตยังมีงานหรือธุรกิจที่จะกลับไปทำ 2.2 ไมไดรับคาตอบแทน คาจาง หรือผลประโยชนอื่น ๆ หรือผลกำไรจากงานหรือ ธุรกิจในระหวางที่ไมไดทำงาน แตยังมีงานหรือธุรกิจที่กลับไปทำ 3. ทำงานอยางนอย 1 ชั่วโมง โดยไมไดรับคาจางในวิสาหกิจหรือไรนาเกษตรของ หัวหนาครัวเรือนหรือของสมาชิกในครัวเรือน ผูวางงาน หมายถึง บุคคลทุกคนที่มีอายุ 15 ปขึ้นไป และในสัปดาหแหงการสำรวจมี ลักษณะอยางหนึ่งอยางใด ดังตอไปนี้ 1. ไมไดทำงานและไมมีงานประจำ แตไดหางาน สมัครงานหรือรอการบรรจุ ในระหวาง 30 วัน กอนวันสัมภาษณ 2. ไมไดทำงานและไมมีงานประจำ และไมไดหางานทำในระหวา ง 30 วันกอนวั น สัมภาษณ แตพรอมที่จะทำงานในสัปดาหแหงการสำรวจ ผูรอฤดูกาล หมายถึง บุคคลทุกคนที่มีอายุ 15 ปขึ้นไป ในสัปดาหแหงการสำรวจเปนผูไม เขาขายคำนิยามของผูมีงานทำ หรือผูวางงาน แตเปนผูรอฤดูกาลที่เหมาะสมเพื่อที่จะทำงาน และเปนบุคคลที่ตามปกติจะทำงานที่ไมไดรับสิ่งตอบแทนในไรนาเกษตร หรือธุรกิจซึ่งทำ กิจกรรมตามฤดูกาล โดยมีหัวหนาครัวเรือน หรือสมาชิกคนอื่น ๆ ในครัวเรือนเปนเจาของหรือ ผูดำเนินการ

รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

5

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

ขอกำหนดการใชแรงงานเด็ก ตามอนุสัญญาแรงงานระหวางประเทศ ฉบับที่ 138 และฉบับที่ 182

6

การใชแรงงานเด็กเปนปญหาสังคมที่มีความสำคัญ การกระทำบางอยางตอตัวแรงงานเด็ก ถือเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชน ซึ่งประชาคมโลกพยายามกดดันไมใหมีการใชแรงงานเด็ก และไมใหมีการกระทำทารุณตอแรงงานเด็กในประเทศตาง ๆ รวมถึงประเทศไทยดวย การคุมครองแรงงานเด็กนั้น องคการแรงงานระหวางประเทศไดกำหนดมาตรฐาน และกฎเกณฑตา ง ๆ เพื่อคุมครองแรงงานเด็ก ซึ่งประกอบดวยอนุสัญญาหลัก ดังนี้ 1. อนุสัญญาฉบับที่ 138 วาดวยอายุขั้นต่ำ ค.ศ. 1973 (Convention no. 138 concerning the Minimun Age, 1973) มีผลใชบังคับเมื่อวันที่ 19 มิถุนายน ค.ศ. 1973 (พ.ศ. 2516) โดยมีขอกำหนดใหประเทศสมาชิกตองดำเนินนโยบายแหงชาติเพื่อ ก) ยกเลิกการใชแรงานเด็กอยางมีประสิทธิภาพ และเพิ่มอายุขั้นต่ำในการจาง ข) กำหนดอายุขั้นต่ำในการจางงานไวไมต่ำกวาอายุที่สำเร็จการศึกษาภาคบังคับ และในกรณีใด ๆ ก็ตามตองไมต่ำกวา 15 ป และอาจกำหนดอายุขั้นต่ำเปน 14 ปได แตตองแจงถึง เหตุผลในการยังคงอายุขั้นต่ำไว 14 ป หรือวันที่จะยกเลิกอายุขั้นต่ำนั้น ค) อายุขั้นต่ำในการจางงานอันอาจเปนอันตรายตอสุขภาพ ความปลอดภัย หรือศีลธรรม ของผูเยาว ตองไมต่ำกวา 18 ป หรืออนุญาตใหมีการจางงานตั้งแตอายุ 16 ป ไดโดยมีเงื่อนไขวา สุขภาพ ความปลอดภัย และศีลธรรมของผูเยาวที่เกี่ยวของตองไดรับการคุมครองอยางเต็มที่ และผูเยาวไดรับการสอนหรือไดรับการฝกอาชีพเฉพาะดานในสาขางานที่เกี่ยวของอยางเพียงพอ ง) บทบัญญัติของอนุสัญญาตองนำมาใชบังคับกับกิจการตอไปนี้ ไดแก การทำเหมืองแร และการทำเหมืองหิน การผลิต การกอสราง การไฟฟา แกสและการประปา บริการสุขาภิบาล การขนสง คลังสินคาและการสื่อสาร การเพาะปลูกและกิจการทางการเกษตรอื่น ๆ ซึ่งสวนใหญ ทำการผลิตเพื่อจุดประสงคทางการคา แตยกเวนการผลิตภายในครอบครัว และการผลิตขนาดเล็ก เพื่อการบริโภคภายในทองถิ่น และไมมีการจางคนงานเปนประจำ จ) อนุสัญญานี้ไมใชบังคับกับงานที่เด็กและผูเยาวกระทำในโรงเรียนเพื่อการศึกษา ทั่ว ๆ ไป การศึกษาทางอาชีวะหรือทางเทคนิค หรือในสถาบันฝกอบรมอื่น ๆ ฉ) กฎหมายหรือกฎระเบียบภายในประเทศอาจอนุญาตใหมีการจางงานหรือการทำงาน ของบุคคลอายุ 13 ถึง 15 ป ในงานเบาได ซึ่งเปนงานที่ไมนาจะเปนอันตรายตอสุขภาพ หรือการพัฒนา หรือไมสงผลเสียหายตอการศึกษา

รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

ช) อาจยอมใหมีขอยกเวนเพื่อการเขารวมในการแสดงทางศิลปะ โดยไดรับใบอนุญาต เปนราย ๆ ไป ใบอนุญาตที่ออกใหตองจำกัดจำนวนชั่วโมงทำงาน และกำหนดเงื่อนไข ซึ่งการจาง แรงงานหรือการทำงานนั้นไดรับอนุญาต ลักษณะของอนุสัญญาฉบับที่ 138 จะมีลักษณะของการกำหนดอายุขั้นต่ำสำหรับเด็ก เขาทำงาน โดยเปนเกณฑที่มีลักษณะทั่วไปสำหรับทุกประเภทงาน นอกจากนี้ยังกำหนดให ประเทศสมาชิกผูใหสัตยาบันตองกำหนดนโยบายแหงชาติ เพื่อเปนการประกันการใชแรงงานเด็ก ที่เปนธรรมและคำนึงถึงการพัฒนาทั้งทางรางกายและจิตใจของแรงงานเด็กเปนหลัก โดยเปน อนุสัญญาที่เชื่อมตอมาตรการทางดานแรงงานเขากับมาตรการทางดานการศึกษา อยางไรก็ดี องคการแรงงานระหวางประเทศไดออกขอแนะฉบับที่ 146 วาดวยการกำหนดอายุขั้นต่ำที่อนุญาต ให จ  า งทำงาน (Recommendation no. 146 concerning Minimum Age for Admission to Employment) มีผลใชบังคับเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน ค.ศ. 1973 (พ.ศ. 2516) แนบทาย อนุสัญญาฉบับที่ 138 โดยขอแนะฉบับดังกลาวไดกำหนดมาตรการเสริมของรายละเอียดในการ กำหนดอายุขั้นต่ำ รวมทั้งขอเสนอแนะเพื่อเปนแนวทางในการกำหนดนโยบายแหงชาติของ ประเทศสมาชิก โดยเนนใหประเทศสมาชิก ปรับปรุงมาตรฐานหรือเงื่อนไขในการรับแรงงานเด็ก เขาทำงาน โดยเพิ่มอายุขั้นต่ำเปน 16 ป ในทุกประเภทของงานโดยปราศจากเงื่อนไข แตเนื่องจาก ในสภาพปจจุบัน ประชาคมโลกยังมีความหลากหลายและมีความแตกตางทางดานเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม จึงทำใหมาตรการตาง ๆ ในการคุมครองแรงงงานเด็กยังไมสามารถ ใชบังคับไดอ ย า งเขม งวด ทำใหเกิด เงื่อ นไขและขอยกเวน ในการดำเนิ นการตามมาตรการ การคุมครองแรงงานเด็กขององคการแรงงานระหวางประเทศ 2. อนุ ส ั ญญาฉบั บที่ 182 ว าด วยการห ามและการดำเนิ นการโดยทั นที เพื ่ อขจั ด รูปแบบที่เลวรายที่สุดของแรงงานเด็ก ค.ศ. 1999 (Convention no. 182 concerning the Worst Forms of Child Labour, 1999) มีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 2000 (พ.ศ. 2543) โดยมีขอกำหนดใหประเทศสมาชิกตองดำเนินมาตรการเพื่อการหามและการขจัดรูปแบบ ที่เลวรายที่สุดของการใชแรงงานเด็ก โดยฉับพลันในฐานะเปนเรื่องเรงดวน และคำวา "เด็ก" ต อ งหมายถึ ง บุคคลผูมีอายุต่ำกวา 18 ป สวน “รูปแบบที่เลวรายที่สุดของแรงงานเด็ก” ประกอบดวย ก) รู ป แบบทั้ ง ปวงของระบบทาส หรื อ แนวปฏิ บั ติ ที่ ค ล า ยคลึ ง กั บ ระบบทาส แรงงานเกณฑหรือบังคับ รวมทั้งการเกณฑหรือบังคับเด็กเพื่อใชในการตอสูดวยอาวุธ ข) การใช การจัดหา หรือการเสนอเด็กเพื่อการคาประเวณี เพื่อการผลิตสื่อลามก อนาจาร หรือเพื่อการแสดงลามกอนาจาร

รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

7

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

ค) งานที่เปนอันตรายตอสุขภาพ ความปลอดภัย หรือศีลธรรมของเด็ก ประเทศสมาชิกตองดำเนินมาตรการที่มีกำหนดเวลาและมีประสิทธิภาพ โดยคำนึงถึง ความสำคัญของการศึกษาในการขจัดแรงงานเด็กเพื่อ ก) ปองกันการจางงานเด็กในรูปแบบที่เลวรายที่สุดของแรงงานเด็ก ข) จัดใหความชวยเหลือที่จำเปนโดยตรงและเหมาะสม เพื่อทำใหเด็กพนออกจาก รูปแบบทีเ่ ลวรายที่สุดของแรงงานเด็ก และเพื่อการฟนฟูและการบูรณาการทางสังคมของเด็ก ค) ใหมั่นใจวา เด็กทั้งปวงที่ออกจากรูปแบบที่เลวรายที่สุดของแรงงานเด็ก สามารถ ไดรับการศึกษาพื้นฐานและการฝกอบรมอาชีพโดยไมเสียคาใชจาย หากเปนไปไดและเหมาะสม ง) ระบุและใหความชวยเหลือเด็กที่มีความเสี่ยงเปนพิเศษได จ) คำนึงถึงสถานการณพิเศษของเด็กหญิง ประเทศสมาชิกตองดำเนินมาตรการที่เหมาะสมตาง ๆ เพื่อชวยเหลือกันและกัน ในการใหบทบัญญัติของอนุสัญญานี้เปนผล โดยอาศัยความชวยเหลือและหรือความรวมมือ ระหวางประเทศ รวมทั้งการใหการสนับสนุนเพื่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคม การให การสนับสนุนโครงการขจัดความยากจนใหหมดไป และการใหการสนับสนุนการศึกษาทั่วไป

รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

8

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

กฎหมายเพื่อการคุมครองแรงงานเด็ก

9

ปจจุบันประเทศไทยมีกฎหมายคุมครองแรงงานเด็ก คือ พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 โดยมีเจตนารมณเพื่อคุมครองแรงงานเด็กเกี่ยวกับเงื่อนไขการจาง สภาพการทำงาน การพัฒนาและสงเสริมคุณภาพชีวิต ซึ่งมีสาระสำคัญสรุปไดดังนี้ 1. เงื่อนไขการจาง

ดังนี้

● อายุขั้นต่ำของลูกจางเด็ก กฎหมายกำหนดวาหามจางเด็กอายุต่ำกวา 15 ป เปนลูกจาง ● การขออนุญาต การจางเด็กอายุต่ำกวา 18 ป (แตไมต่ำกวา 15 ป) นายจางตองปฏิบัติ

1) แจงการจางเด็กตอพนักงานตรวจแรงงานภายใน 15 วัน นับแตวันที่เด็กเขาทำงาน 2) ทำบันทึกสภาพการจางที่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมโดยเก็บไว ณ สถานประกอบกิจการ หรือสำนักงานของนายจาง พรอมใหพนักงานตรวจแรงงานตรวจไดในเวลาทำการ 3) แจ ง สิ้ น สุ ด การจ า งเด็ ก ต อ พนั ก งานตรวจแรงงานภายใน 7 วั น นั บ แต วั น ที่ เด็กออกจากงาน ● งานที่หามลูกจางเด็กทำ หามมิใหนายจางใหแรงงานเด็กอายุต่ำกวา 18 ป ทำงาน อยางหนึ่งอยางใดดังตอไปนี้ 1) งานหลอม เปา หลอ หรือรีดโลหะ 2) งานปมโลหะ 3) งานเกี่ยวกับความรอ น ความเย็น ความสั่นสะเทือน เสียง และแสงที่มีระดั บ แตกตางจากปกติ อันอาจเปนอันตรายตามที่กำหนดในกฎกระทรวง 4) งานเกี่ยวกับสารเคมีที่เปนอันตรายตามที่กำหนดในกฎกระทรวง 5) งานเกี่ ย วกั บ จุ ล ชี วั น เป น พิ ษ ซึ่ ง อาจเป น เชื้ อ ไวรั ส แบคที เ รี ย รา หรื อ เชื้ อ อื่น ตามที่กำหนดในกฎกระทรวง 6) งานเกี่ ย วกั บ วั ต ถุ มี พิ ษ วั ต ถุ ร ะเบิ ด หรื อ วั ต ถุไ วไฟ เว น แต ง านในสถานี บ ริ ก าร น้ำมันเชื้อเพลิงตามที่กำหนดในกฎกระทรวง 7) งานขับหรือบังคับรถยกหรือปนจั่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง 8) งานใชเลื่อยเดินดวยพลังไฟฟาหรือเครื่องยนต 9) งานที่ตองทำใตดิน ใตน้ำ ในถ้ำ อุโมงค หรือปลองในภูเขาไฟ 10) งานที่เกี่ยวกับกัมมันตภาพรังสี ตามที่กำหนดในกฎกระทรวง

รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

10

11) งานทำความสะอาดเครื่องจักรหรือเครื่องยนตที่กำลังทำงาน 12) งานที่ตองทำบนนั่งรานที่สูงกวาพื้นดินตั้งแตสิบเมตรขึ้นไป 13) งานอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง ● สถานที่หามเด็กทำงาน หามมิใหนายจางใหลูกจางซึ่งเปนเด็กอายุต่ำกวา 18 ป ทำงานในสถานที่ดังตอไปนี้ 1) โรงฆาสัตว 2) สถานที่เลนการพนัน 3) สถานเตนรำ รำวง หรือรองเง็ง 4) สถานที่ที่มีอาหาร สุรา น้ำชา หรือเครื่องดื่มอยางอื่นจำหนายและบริการ โดยมี ผูบำเรอสำหรับปรนนิบัติลูกคา หรือโดยมีที่สำหรับพักผอนหลับนอนหรือมีบริการนวดใหแกลูกคา 5) สถานที่อื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง 2. สภาพการจาง

● เวลาพักของลูกจางเด็ก เมื่อลูกจางซึ่งเปนเด็กทำงานมาแลวไมเกิน 4 ชั่วโมง นายจาง ตองใหพักไมนอยกวา 1 ชั่วโมงติดตอกัน แตใน 4 ชั่วโมงนั้นจะตองใหถูกจางซึ่งเปนเด็กมีเวลาพัก ตามที่นายจางกำหนด ● เวลาที่ ห า มลู ก จ า งเด็ ก ทำงาน ห า มนายจ า งให ลู ก จ า งเด็ ก อายุ ต่ ำ กว า 18 ป ทำงานในระหวาง 22.00 น. ถึง 06.00 น. (เวนแตจะไดรับอนุญาตเปนหนังสือ) ● การทำงานลวงเวลาและการทำงานในวันหยุด หามนายจางใหลูกจางซึ่งเปนเด็ก อายุต่ำกวา 18 ป ทำงานลวงเวลาหรือทำงานในวันหยุด ● พิกัดน้ำหนักการยกของ หามมิใหนายจางใหถูกจางซึ่งเปนเด็กทำงานยก แบก หาม หาบ ทูน ลาก หรือเข็นของหนักเกินอัตราน้ำหนักตามที่กำหนดในกฎกระทรวง คือ สำหรับเด็ก อายุ 15 ป แตไมถึง 18 ป เพศหญิง ไมเกิน 20 กิโลกรัม เพศชาย ไมเกิน 25 กิโลกรัม ● การคุมครองเกี่ยวกับคาจาง หามมิใหนายจางจายคาจางของลูกจางซึ่งเปนเด็ก ให แ ก บุ ค คลอื่ น และถ า นายจ า งจ า ยเงิ น หรื อ ประโยชน ต อบแทนล ว งหน า ก อ นมี ก ารจ า ง ขณะแรกจาง หรือกอนงวดการจายคาจางใหลูกจางซึ่งเปนเด็ก บิดามารดา หรือผูปกครอง มิใหถือวาเปนการจายหรือรับคาจางสำหรับลูกจางเด็กนั้น และหามมิใหนายจางนำเงินหรือ ประโยชนตอบแทนดังกลาวมาหักจากคาจางซึ่งตองจายใหแกลูกจางซึ่งเปนเด็กตามกำหนดเวลา ● เงินประกัน หามมิใหนายจางเรียกหรือรับเงินประกันเพื่อการใด ๆ จากฝายลูกจาง ซึ่งเปนเด็ก

รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

3. การพัฒนาและสงเสริมคุณภาพชีวิต

11

การพัฒนาและการส ง เสริ ม เพื่อประโยชน ในการพัฒ นาและส ง เสริ มคุ ณภาพชี วิ ต และการทำงานของลูกจางซึ่งเปนเด็ก ใหสิทธิลาเพื่อเขาประชุม สัมมนา อบรม รับการฝก หรือ ลาเพื่อการอื่น ซึ่งจัดโดยองคกรของรัฐหรือเอกชนที่อธิบดีเห็นชอบ และใหนายจางจายคาจาง ใหลูกจางซึ่งเปนเด็กเทากับคาจางในวันทำงานตลอดระยะเวลาที่ลาแตปหนึ่งตองไมเกิน 30 วัน

รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

12

ภาวะการทำงานของแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 : ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2564

กรมสวั ส ดิ การและคุ  มครองแรงงาน ได น ำข อ มู ลจากการสำรวจภาวะการทำงาน ของประชากรทั่วราชอาณาจักร ไตรมาสที่ 4 ป 2564 ของสำนักงานสถิติแหงชาติมาประมวลผล เพื่อวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับภาวะการทำงานของแรงงานเด็ก (อายุ 15 ปขึ้นไป แตไมถึง 18 ปบริบูรณ) โดยพบวาในไตรมาสที่ 4 ป 2564 ประเทศไทยมีประชากรที่อายุ (อายุ 15 ปขึ้นไป) จำนวน 57,176,011 คน โดยเปนผูอยูในกำลังแรงงาน 38,630,536 คน ในจำนวนนี้ เปนแรงงานเด็ก จำนวน 157,150 คน คิดเปนรอยละ 0.4 ของกำลังแรงงานทั้งหมด โดยจำแนกเปนผูมีงานทำ 140,918 คน ผูวางงาน 16,053 คน และเปนผูรอฤดูกาล 179 คน (ตารางที่ 1) ตารางที่ 1 จำนวนประชากร จำแนกตามสถานภาพแรงงาน ไตรมาส 4 : ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2564 สถานภาพแรงงาน ประชากร (อายุ 15 ปขึ้นไป) ▨ เด็ก (อายุ 15 ปขึ้นไป แตไมถึง 18 ปบริบูรณ) ▨ ผูใหญ (อายุตั้งแต 18 ปขึ้นไป) ผูอยูในกำลังแรงงาน ▨ เด็ก (อายุ 15 ปขึ้นไป แตไมถึง 18 ปบริบูรณ) ▨ ผูใหญ (อายุตั้งแต 18 ปขึ้นไป) ผูมีงานทำ ▨ เด็ก (อายุ 15 ปขึ้นไป แตไมถึง 18 ปบริบูรณ) ▨ ผูใหญ (อายุตั้งแต 18 ปขึ้นไป) ผูวางงาน ▨ เด็ก (อายุ 15 ปขึ้นไป แตไมถึง 18 ปบริบูรณ) ▨ ผูใหญ (อายุตั้งแต 18 ปขึ้นไป) ผูรอฤดูกาล ▨ เด็ก (อายุ 15 ปขึ้นไป แตไมถึง 18 ปบริบูรณ) ▨ ผูใหญ (อายุตั้งแต 18 ปขึ้นไป) รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

จำนวน (คน) 57,176,011 2,504,344 54,671,667 38,630,536 157,150 38,473,386 37,898,726 140,918 37,757,808 631,885 16,053 615,832 99,925 179 99,746

รอยละ 100.0 4.4 95.6 100 0.4 99.6 100 0.4 99.6 100 2.5 97.5 100 0.2 99.8

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

13

เมื่อพิจารณาเฉพาะกลุมผูมีงานทำที่เปนเด็ก จำนวน 140,918 คน จำแนกตามเพศ พบวา สวนใหญเปนเพศชาย จำนวน 102,996 คน คิดเปนรอยละ 73.1 และเพศหญิง จำนวน 37,922 คน คิดเปนรอยละ 26.9 เมื่อจำแนกตามสถานภาพสมรส พบวา มีสถานภาพโสด มากที่สุด จำนวน 125,603 คน รองลงมามีสถานภาพสมรส (ไมจดทะเบียน) จำนวน 12,852 คน คิดเปนรอยละ 89.1 และ 9.1 ตามลำดับ เมื่อจำแนกตามระดับการศึกษา พบวา มีการศึกษาใน ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต น มากที ่ ส ุ ด จำนวน 81,532 คน คิ ด เป น ร อ ยละ 57.9 รองลงมา มีการศึกษาในระดับประถมศึกษา มีจำนวน 51,433 คน คิดเปนรอยละ 36.5 เมื่อจำแนกตามภาค พบว า อยู  ในภาคใต มากที ่ ส ุ ด มี จำนวน 40,055 คน คิ ดเป นร อยละ 28.4 รองลงมาเป นภาค ตะวันออกเฉียงเหนือมีจำนวน 34,849 คน คิดเปนรอยละ 24.7 เมื่อจำแนกตามประเภทอุตสาหกรรม พบวา อยูในภาคเกษตรกรรม จำนวน 74,996 คน คิดเปนรอยละ 53.2 และนอกภาคเกษตรกรรม จำนวน 65,922 คน คิดเปนรอยละ 46.8 เมื่อจำแนกตามอาชีพ พบวา เปนผูประกอบอาชีพ ผูปฏิบัติงานที่มีฝมือในดานการเกษตร ปาไม และประมงมากที่สุด จำนวน 61,393 คน คิดเปน รอยละ 43.5 รองลงมาเปนผูประกอบอาชีพงานพื้นฐาน มีจำนวน 29,965 คน คิดเปนรอยละ 21.3 เมื่อจำแนกตามสภาพการทำงาน พบวา สวนใหญชวยธุรกิจครัวเรือนโดยไมไดรับคาจาง มีจำนวน 74,446 คน คิดเปนรอยละ 52.8 รองลงมาเปนลูกจางเอกชนจำนวน 50,280 คน คิดเปนรอยละ 35.7 เมื่อจำแนกตามชั่วโมงการทำงาน/สัปดาห พบวา สวนใหญปฏิบัติงาน 1 – 48 ชั่วโมง จำนวน 127,701 คน คิดเปนรอยละ 90.6 ของกลุมจำนวนตัวอยางทั้งหมด และเมื่อจำแนก ระดับคาจางในการทำงาน/เดือน พบวา ไดรับคาจางอยูในชวง 5,501 – 10,000 บาท มากที่สุด จำนวน 32,724 คน คิดเปนรอยละ 23.2 (ตารางที่ 2)

รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

14

ตารางที่ 2 จำนวนและรอยละของผูมีงานทำที่เปนเด็ก (อายุ 15 ปขึ้นไป แตไมถึง 18 ปบริบูรณ) จำแนกตามเพศ สถานภาพสมรส ระดั บ การศึ ก ษา ภาค ประเภทอุ ต สาหกรรม อาชี พ สถานภาพการทำงาน ชั ่ วโมงการทำงาน/สั ปดาห และระดั บค าจ างในการทำงาน/เดื อน ไตรมาส 4 : ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2564

เพศ

จำแนกตาม ยอดรวม

ชาย ▨ หญิง สถานภาพสมรส ▨ โสด ▨ สมรส (จดทะเบียน) ▨ สมรส (ไมจดทะเบียน) ▨ แยกกันอยู ระดับการศึกษา ▨ ไมมีการศึกษา ▨ กอนประถมศึกษา ▨ ประถมศึกษา ▨ มัธยมศึกษาตอนตน ▨ มัธยมศึกษาตอนปลาย ▨ การศึกษาอื่น ๆ ▨ ไมทราบระดับการศึกษา ภาค ▨ กรุงเทพมหานคร ▨ 5 จังหวัดรอบกรุงเทพฯ ▨ กลาง ▨ เหนือ ▨ ตะวันออกเฉียงเหนือ ▨ ใต ▨

รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

จำนวน (คน) รอยละ 140,918 100

อายุ 15 ป 17,359

อายุ 16 ป 49,491

อายุ 17 ป 74,068

102,996 37,922

73.1 26.9

12,016 5,343

36,289 13,202

54,691 19,377

125,603 2,176 12,852 287

89.1 1.6 9.1 0.2

16,636 628 95

44,367 2,176 2,948 -

64,600 9,276 192

1,969 4,623 51,433 81,532 1,168 27 166

1.4 3.3 36.5 57.9 0.8 0.02 0.1

467 11,349 5,543 -

701 1,532 17,051 30,180 27 -

1,268 2,624 23,033 45,809 1,168 166

5,452 4,254 22,066 34,242 34,849 40,055

3.9 3.0 15.7 24.3 24.7 28.4

354 3,215 4,464 3,729 5,597

1,779 2,318 8,075 9,763 11,242 16,314

3,673 1,582 10,776 20,015 19,878 18,144

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

จำแนกตาม จำนวน (คน) รอยละ ประเภทอุตสาหกรรม ในภาคเกษตรกรรม 74,996 53.2 ▨ การเกษตร การปาไม 74,996 53.2 และการประมง นอกภาคเกษตรกรรม 65,922 46.8 ▨ การผลิต 9,629 6.9 ▨ การกอสราง 11,310 8.0 ▨ การขายสงและ 24,843 17.6 การขายปลีก การซอมยานยนตและ รถจักรยานยนต ▨ การขนสง และสถานที่ 1,764 1.3 เก็บสินคา ▨ กิจกรรมโรงแรมและ 13,675 9.7 บริการดานอาหาร ▨ กิจกรรมบริการทาง 38 0.03 การเงินและ การประกันภัย ▨ กิจกรรมทางวิชาชีพ 513 0.4 วิทยาศาสตรและเทคนิค ▨ กิจกรรมดานสุขภาพ 152 0.1 และงานสังคมสงเคราะห ▨ ศิลปะ ความบันเทิง 1,049 0.7 และนันทนาการ ▨ กิจกรรมบริการดานอื่น 2,511 1.8 ▨ กิจกรรมการจางงาน 438 0.3 ในครัวเรือนสวนบุคคล

รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

15

อายุ 15 ป

อายุ 16 ป

อายุ 17 ป

7,431 7,431

27,048 27,048

40,517 40,517

9,928 1,517 1,355 4,263

22,443 4,343 3,478 4,995

33,551 3,769 6,477 15,585

379

307

1,078

1,928

6,615

5,132

-

-

38

-

-

513

-

152

-

98

853

98

388 -

1,566 134

557 304

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

จำแนกตาม

อาชีพ ▨ เสมียน ▨ พนักงานบริการและ ผูจำหนายสินคา ▨ ผูปฏิบต ั ิงานที่มีฝม ือ ในดานการเกษตร ปาไม และประมง ▨ ชางฝมือและผูปฏิบต ั ิงาน ที่เกี่ยวของ ▨ ผูปฏิบต ั ิการเครื่องจักร โรงงานและเครื่องจักร และผูปฏิบัตงิ าน ดานการประกอบ ▨ ผูประกอบอาชีพ งานพื้นฐาน สถานภาพการทำงาน ▨ นายจาง ▨ ทำงานสวนตัวโดย ไมมีลูกจาง ▨ ชวยธุรกิจครัวเรือนโดย ไมไดรับคาจาง ▨ ลูกจางรัฐวิสาหกิจ ▨ ลูกจางเอกชน ▨ ผูรับจางทำงานหลายเจา

รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

จำนวน (คน) รอยละ

16

อายุ 15 ป

อายุ 16 ป

อายุ 17 ป

1,032 29,952

0.7 21.3

4,119

994 8,123

38 17,710

61,393

43.5

6,023

20,056

35,314

15,316

10.9

3,173

3,694

8,449

3,260

2.3

666

1,276

1,318

29,965

21.3

3,378

15,348

11,239

115 15,186

0.1 10.8

2,000

4,963

115 8,223

74,446

52.8

10,702

23,385

40,359

641 50,280 250

0.4 35.7 0.2

4,407 250

641 20,502 -

25,371 -

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

จำแนกตาม ชั่วโมงการทำงาน/สัปดาห ▨ 0 ชั่วโมง ▨ 1 ถึง 48 ชั่วโมง ▨ 49 ชั่วโมงขึ้นไป ระดับคาจางในการทำงาน/ เดือน ▨ ไมเกิน 2,500 บาท ▨ 2,501 – 5,500 บาท ▨ 5,501 - 10,000 บาท ▨ ตั้งแต 10,001 บาท ขึ้นไป ▨ ไมตอบแบบสำรวจ

จำนวน (คน) รอยละ

17

อายุ 15 ป

อายุ 16 ป

อายุ 17 ป

1,758 127,701 11,459

1.3 90.6 8.1

14,454 2,905

887 44,549 4,055

871 68,698 4,499

2,439 8,856 32,724 3,595

1.7 6.3 23.2 2.6

147 1,573 2,270 -

1,381 4,124 11,677 1,601

911 3,159 18,777 1,994

93,304

66.2

13,369

30,708

49,227

หมายเหตุ : 1. ผูตอบแบบสำรวจ หัวขอ ระดับคาจางในการทำงาน/เดือน มีจำนวน 51,705 คน 2. 5 จังหวัดรอบกรุงเทพฯ ประกอบดวย จังหวัดสมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี นครปฐม และสมุทรสาคร 3. ภาคเหนือ ประกอบดวย จังหวัดเชียงใหม ลำพูน ลำปาง อุตรดิตถ แพร นาน พะเยา เชียงราย แมฮองสอน นครสวรรค อุทัยธานี กำแพงเพชร ตาก สุโขทัย พิษณุโลก พิจิตร และเพชรบูรณ 4. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบดวย จังหวัดนครราชสีมา บุรีรัมย สุรินทร ศรีสะเกษ อุบลราชธานี ยโสธร ชัยภูมิ อำนาจเจริญ บึงกาฬ หนองบัวลำภู ขอนแกน อุดรธานี เลย หนองคาย มหาสารคาม รอยเอ็ด กาฬสินธุ สกลนคร นครพนม และมุกดาหาร 5. ภาคกลาง ประกอบดวย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อางทอง ลพบุรี สิงหบุรี ชัยนาท สระบุรี ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี นครนายก สระแกว ราชบุรี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี สมุทรสงคราม เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ 6.. ภาคใต ประกอบดวย จังหวัดนครศรีธรรมราช กระบี่ พังงา ภูเก็ต สุราษฏรธานี ระนอง ชุมพร สงขลา สตูล ตรัง พัทลุง ปตตานี ยะลา และนราธิวาส

รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

18

เมื่อพิจารณาเฉพาะกลุมลูกจางในภาคเอกชนที่เปนเด็ก จำนวน 50,280 คน พบวา เป น เพศชาย จำนวน 38,069 คน คิดเปนรอยละ 75.7 และเปนเพศหญิง จำนวน 12,211 คน คิ ด เป น ร อ ยละ 24.3 เมื่อจำแนกตามสถานภาพสมรส พบวา มีสถานภาพโสดมากที่สุด จำนวน 44,050 คน รองลงมามีสถานภาพสมรส (ไมจดทะเบียน) จำนวน 5,445 คน คิดเปนรอยละ 87.6 และ 10.8 ตามลำดั บ เมื ่ อจำแนกตามระดั บการศึ กษา พบว า ส วนใหญ ม ี การศึ กษาในระดั บ มัธยมศึกษาตอนตน และประถมศึกษา จำนวน 26,920 คน และ 19,536 คน คิดเปนรอยละ 53.5 และ 38.9 ตามลำดับ เมื่อจำแนกตามภาค พบวา สวนใหญทำงานอยูในภาคใต และภาคกลาง จำนวน 15,053 คน และ 11,734 คน คิดเปนรอยละ 29.9 และ 23.3 ตามลำดับ เมื่อจำแนก ตามประเภทอุตสาหกรรม พบวา สวนใหญอยูนอกภาคเกษตรกรรม จำนวน 37,136 คน คิดเปน ร อ ยละ 73.9 และอยู  ใ นภาคเกษตรกรรมเพี ย ง 13,144 คน คิ ด เป น ร อ ยละ 26.1 เมื่ อ จำแนกตามอาชี พ พบว า สวนใหญเปนผูประกอบอาชีพงานพื้นฐาน และเปนพนักงาน บริการและผูจำหนายสินคา จำนวน 21,282 คน และ 10,602 คน คิดเปนรอยละ 42.3 และ 21.1 ตามลำดั บ เมื ่ อ จำแนกตามชั ่ ว โมงการทำงาน/สั ป ดาห พบว า ส ว นใหญ ป ฏิ บ ั ต ิ ง าน 1 – 48 ชั่วโมง จำนวน 44,511 คน คิดเปนรอยละ 88.5 ของกลุมจำนวนตัวอยางทั้งหมด และ เมื่อจำแนกระดับคาจางในการทำงาน/เดือน พบวา ไดรับคาจางอยูในชวง 5,501 – 10,000 บาท มากที่สุด จำนวน 32,082 คน คิดเปนรอยละ 63.8 (ตารางที่ 3)

รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

19

ตารางที่ 3 จำนวนและรอยละของลูกจางในภาคเอกชนที่เปนเด็ก (อายุ 15 ปขึ้นไป แตไมถึง 18 ป บ ริ บ ู ร ณ ) จำแนกตามเพศ สถานภาพสมรส ระดั บ การศึ ก ษา ภาค ประเภท อุตสาหกรรม อาชีพ ชั่วโมงการทำงาน/สัปดาห และระดับคาจ างในการทำงาน/เดื อ น ไตรมาส 4 : ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2564

เพศ

จำแนกตาม ยอดรวม

ชาย ▨ หญิง สถานภาพสมรส ▨ โสด ▨ สมรส (จดทะเบียน) ▨ สมรส (ไมจดทะเบียน) ระดับการศึกษา ▨ ไมมีการศึกษา ▨ กอนประถมศึกษา ▨ ประถมศึกษา ▨ มัธยมศึกษาตอนตน ▨ การศึกษาอื่น ๆ ▨ ไมทราบระดับการศึกษา ภาค ▨ กรุงเทพมหานคร ▨ 5 จังหวัดรอบกรุงเทพฯ ▨ กลาง ▨ เหนือ ▨ ตะวันออกเฉียงเหนือ ▨ ใต ▨

รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

จำนวน (คน) รอยละ 50,280 100

อายุ 15 ป อายุ 16 ป 4,407 20,502

อายุ 17 ป 25,371

38,069 12,211

75.7 24.3

3,943 464

15,815 4,687

18,311 7,060

44,050 785 5,445

87.6 1.6 10.8

4,407 -

18,526 785 1,191

21,117 4,254

1,968 1,663 19,536 26,920 27 166

3.9 3.3 38.9 53.5 0.1 0.3

2,999 1,408 -

701 1,411 8,022 10,341 27 -

1,267 252 8,515 15,171 166

5,452 2,470 11,734 7,573 7,998 15,053

10.9 4.9 23.3 15.1 15.9 29.9

1,822 815 376 1,394

1,779 1,545 3,385 2,237 4,248 7,308

3,673 925 6,527 4,521 3,374 6,351

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

จำแนกตาม ประเภทอุตสาหกรรม ในภาคเกษตรกรรม ▨ การเกษตร การปาไม และการประมง นอกภาคเกษตรกรรม ▨ การผลิต ▨ การกอสราง ▨ การขายสงและ การขายปลีก การซอมยานยนตและ รถจักรยานยนต ▨ การขนสง และสถานที่ เก็บสินคา ▨ กิจกรรมโรงแรมและ บริการดานอาหาร ▨ กิจกรรมบริการทาง การเงินและ การประกันภัย ▨ กิจกรรมทางวิชาชีพ วิทยาศาสตรและเทคนิค ▨ กิจกรรมดานสุขภาพ และงานสังคมสงเคราะห ▨ ศิลปะ ความบันเทิง และนันทนาการ ▨ กิจกรรมบริการดานอื่น ▨ กิจกรรมการจางงาน ในครัวเรือนสวนบุคคล

รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

จำนวน (คน) รอยละ

อายุ 15 ป อายุ 16 ป

20

อายุ 17 ป

13,144 13,144

26.1 26.1

1,366 1,366

6,410 6,410

5,368 5,368

37,136 6,795 8,007 11,833

73.9 13.5 15.9 23.5

3,041 35 764 1,046

14,092 3,468 2,366 3,296

20,003 3,292 4,877 7,491

1,764

3.5

379

307

1,078

5,369

10.7

331

2,947

2,091

38

0.1

-

-

38

513

1.0

-

-

513

152

0.3

-

152

-

196

0.4

98

-

98

2,031 438

4.1 0.9

388 -

1,422 134

221 304

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

จำแนกตาม

อาชีพ ▨ เสมียน ▨ พนักงานบริการและ ผูจำหนายสินคา ▨ ผูปฏิบต ั ิงานที่มีฝม ือ ในดานการเกษตร ปาไม และประมง ▨ ชางฝมือและผูปฏิบต ั ิงาน ที่เกี่ยวของ ▨ ผูปฏิบต ั ิการเครื่องจักร โรงงานและเครื่องจักร และผูปฏิบัตงิ าน ดานการประกอบ ▨ ผูประกอบอาชีพ งานพื้นฐาน ชั่วโมงการทำงาน/สัปดาห ▨ 0 ชั่วโมง ▨ 1 ถึง 48 ชั่วโมง ▨ มากกวา 49 ชั่วโมง

รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

จำนวน (คน) รอยละ

อายุ 15 ป อายุ 16 ป

21

อายุ 17 ป

1,032 10,602

2.0 21.1

629

994 2,995

38 6,978

5,154

10.3

435

1,891

2,828

9,134

18.2

258

2,226

6,650

3,076

6.1

482

1,276

1,318

21,282

42.3

2,603

11,120

7,559

1,353 44,511 4,416

2.7 88.5 8.8

3,232 1,175

597 18,603 1,302

756 22,676 1,939

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

ระดับคาจางในการทำงาน/ เดือน ▨ ไมเกิน 2,500 บาท ▨ 2,501 – 5,500 บาท ▨ 5,501 – 10,000 บาท ▨ ตั้งแต 10,001 บาทขึ้นไป ▨ ไมตอบแบบสำรวจ

22 2,439 8,856 32,082 3,595 3,308

4.9 17.6 63.8 7.1 6.6

147 1,573 2,270 417

1,381 4,124 11,035 1,601 2,361

911 3,159 18,777 1,994 530

หมายเหตุ : 1. ผูตอบแบบสำรวจ หัวขอ ระดับคาจางในการทำงาน/เดือน มีจำนวน 46,972 คน 2. 5 จังหวัดรอบกรุงเทพฯ ประกอบดวย จังหวัดสมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี นครปฐม และสมุทรสาคร 3. ภาคเหนือ ประกอบดวย จังหวัดเชียงใหม ลำพูน ลำปาง อุตรดิตถ แพร นาน พะเยา เชียงราย แมฮองสอน นครสวรรค อุทัยธานี กำแพงเพชร ตาก สุโขทัย พิษณุโลก พิจิตร และเพชรบูรณ 4. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบดวย จังหวัดนครราชสีมา บุรีรัมย สุรินทร ศรีสะเกษ อุบลราชธานี ยโสธร ชัยภูมิ อำนาจเจริญ บึงกาฬ หนองบัวลำภู ขอนแกน อุดรธานี เลย หนองคาย มหาสารคาม รอยเอ็ด กาฬสินธุ สกลนคร นครพนม และมุกดาหาร 5. ภาคกลาง ประกอบดวย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อางทอง ลพบุรี สิงหบุรี ชัยนาท สระบุรี ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี นครนายก สระแกว ราชบุรี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี สมุทรสงคราม เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ 6.. ภาคใต ประกอบดวย จังหวัดนครศรีธรรมราช กระบี่ พังงา ภูเก็ต สุราษฏรธานี ระนอง ชุมพร สงขลา สตูล ตรัง พัทลุง ปตตานี ยะลา และนราธิวาส

เมื่อพิจารณาจากจำนวนประชากรเด็กทั้งหมด จำนวน 2,504,344 คน พบวา มีเด็กที่ทำงาน ทั้งหมด จำนวน 140,918 คน แบงเปน ทำงานอยางเดียว จำนวน 109,224 คน และเรียนและ ทำงาน จำนวน 31,694 คน (ตารางที่ 4) ตารางที่ 4 จำนวนประชากรเด็ก (อายุ 15 ปขึ้นไป แตไมถึง 18 ปบริบูรณ) จำแนกตาม การเรียนและการทำงาน ไตรมาส 4 : ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2564 เพศ

ประชากรเด็ก

รวมทั้งสิ้น ▨ ชาย ▨ หญิง

2,504,344 1,274,572 1,229,772

รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

เด็กที่มีงานทำ (คน) เด็กที่ทำงาน เรียน ทั้งหมด และทำงาน 140,918 31,694 102,996 20,585 37,922 11,109

ทำงาน อยางเดียว 109,224 82,411 26,813

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รายงานการจางลูกจางเด็ก ไตรมาส 4 : ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2564

23

ผลการวิ เ คราะห ข  อ มู ล จากระบบสารสนเทศกรมสวั ส ดิ ก ารและคุ  ม ครองแรงงาน ในไตรมาส 4 ป 2564 มีสถานประกอบกิจการที่มีการใชแรงงานเด็ก จำนวน 5,635 แหง ลูกจางเด็ก จำนวน 14,010 คน โดยพบวา ประเภทอุตสาหกรรมที่มีการใชแรงงานเด็กมากที่สุด 3 อันดับแรก ไดแก 1) การขายสงและขายปลีก การซอมแซมยานยนตและจักรยานยนต จำนวน 3,808 คน คิดเปนรอยละ 27.2 2) ที่พักแรมและบริการดานอาหาร จำนวน 3,129 คน คิดเปนรอยละ 22.3 และ 3) การผลิต จำนวน 2,536 คน คิดเปนรอยละ 18.1  การแจงการจาง/สิ้นสุดการจางลูกจางเด็ก ● การแจงการจางลูกจางเด็ก ในไตรมาส 4 (ต.ค. – ธ.ค.) พ.ศ. 2564 พบวา มีสถานประกอบกิจการที่มีการแจง การจางลูกจางเด็ก ตามมาตรา 45 (1) แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ทั้งหมด 755 แหง เพิ่มขึ้นจากชวงเวลาเดียวกันของปกอนที่มีสถานประกอบกิจการที่มีการแจงการจาง ลูกจางเด็ก 482 แหง คิดเปนรอยละ 56.6 และมีลูกจางเด็กทำงานในสถานประกอบกิจการ 1,500 คน เพิ่มขึ้นจากชวงเวลาเดียวกันของปกอนที่มีลูกจางเด็กทำงานในสถานประกอบกิจการ 1,093 คน คิดเปนรอยละ 37.2 (ตารางที่ 5) ● การแจงสิ้นสุดการจางลูกจางเด็ก ในไตรมาส 4 (ต.ค. – ธ.ค.) พ.ศ. 2564 พบวา มีสถานประกอบกิจการที่มีการแจง สิ้นสุดการจางลูกจางเด็ก ตามมาตรา 45 (3) แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (คร.4) ทั้งหมด 339 แหง ลดลงจากชวงเวลาเดียวกันของปกอนที่มีสถานประกอบกิจการที่มีการแจง สิ้นสุดการจางลูกจางเด็ก 549 แหง คิดเปนรอยละ 38.3 และมีลูกจางเด็กสิ้นสุดจากการทำงาน ในสถานประกอบกิจการ 1,097 คน เพิ่มขึ้นจากชวงเวลาเดียวกันของปกอนที่มีลูกจางเด็กสิ้นสุด จากการทำงานในสถานประกอบกิจการ 884 คน คิดเปนรอยละ 24.1 (ตารางที่ 5)

รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

24

ตารางที ่ 5 จำนวนการแจ ง การจ า งลู ก จ า งเด็ ก และการสิ ้ น สุ ด การจ า งลู ก จ า งเด็ ก ตามมาตรา 45 (1) และมาตรา 45 (3) แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ไตรมาส 4 : ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2563 และ 2564 การแจงการจางลูกจางเด็ก และการแจงสิ้นสุดการจางลูกจางเด็ก การแจงการจางลูกจางเด็ก ▨ สถานประกอบกิจการ (แหง) ▨ ลูกจางเด็ก (คน) การแจงสิ้นสุดการจางลูกจางเด็ก ▨ สถานประกอบกิจการ (แหง) ▨ ลูกจางเด็ก (คน) ขอมูล ณ วันที่ 17 กุมภาพันธ 2565

รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

ป พ.ศ. 2563 2564 482 1,093

755 1,500

549 884

339 1,097

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

การตรวจคุมครองแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 : ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2564

25

ในไตรมาส 4 (ต.ค. - ธ.ค.) พ.ศ. 2564 มี ส ถานประกอบกิ จ การที่ ผ า นการตรวจ คุมครองแรงงานทั้งหมด 5,389 แหง ลูกจาง 183,421 คน พบวา เปนสถานประกอบกิจการ ที่มีการใชแรงงานเด็ก 38 แหง เพิ่มขึ้นจากชวงเวลาเดียวกันของปกอนที่มีสถานประกอบกิจการ ผานการตรวจและมีการใชแรงงานเด็ก 29 แหง คิดเปนรอยละ 31.03 และลูกจางเด็กผานการตรวจ 92 คน เพิ่มขึ้นจากชวงเวลาเดียวกันของปกอนที่มีลูกจางเด็กผานการตรวจ 66 คน คิดเปน รอยละ 39.4 (ตารางที่ 6) ผลการปฏิบัติตามกฎหมายคุมครองแรงงาน พบวา มีสถานประกอบกิจการที่ผานการตรวจ คุมครองแรงงานและปฏิบัติไมถูกตอง 518 แหง ลดลงจากชวงเวลาเดียวกันของปกอนที่มี สถานประกอบกิจการที่ผานการตรวจคุมครองแรงงานและปฏิบัติไมถูกตอง 660 แหง คิดเปน รอยละ 21.5 และมีสถานประกอบกิจการที่ปฏิบัติไมถูกตองตามกฎหมายเกี่ยวกับการใชแรงงานเด็ก 1 แหง ในเรื่องการแจงการจางแรงงานเด็กและเวลาพัก เทากับชวงเวลาเดียวกันของปกอนที่มี สถานประกอบกิจการที่ปฏิบัติไมถูกตองตามกฎหมายเกี่ยวกับการใชแรงงานเด็ก 1 แหง ไดแก เรื่องการจางเด็กอายุต่ำกวา 15 ปเปนลูกจาง (ตารางที่ 7)

สรุป จากขอมูลการตรวจแรงงานในไตรมาส 4 (ต.ค. - ธ.ค.) พ.ศ. 2564 พบวา

มีสถานประกอบกิจการที่มีการใชแรงงานเด็กรอยละ 0.7 ของสถานประกอบกิจการที่ผานการตรวจ ทั้งหมด และมีลูกจางเด็กรอยละ 0.05 ของจำนวนลูกจางที่ผานการตรวจแรงงานทั้งหมด

รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

26

ตารางที่ 6 จำนวนสถานประกอบกิจการที่ผานการตรวจคุมครองแรงงานที่มีการใชแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 : ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2563 และ 2564 สถานประกอบกิจการที่ผานการตรวจคุมครองแรงงาน ที่มีการใชแรงงานเด็ก สถานประกอบกิจการ (แหง) ▨ ลูกจางเด็ก (คน) ขอมูล ณ วันที่ 23 กุมภาพันธ 2565 ▨

ป พ.ศ. 2563 2564 29 38 66 92

ตารางที่ 7 จำนวนสถานประกอบกิจการที่ปฏิบัติไมถูกตองตามกฎหมายเกี่ยวกับการใชแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 : ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2563 และ 2564 สถานประกอบกิจการที่ปฏิบัติไมถูกตองตามกฎหมาย เกี่ยวกับการใชแรงงานเด็ก ▨ สถานประกอบกิจการ (แหง) ▨ ลูกจางเด็ก (คน) ขอมูล ณ วันที่ 23 กุมภาพันธ 2565

รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

ป พ.ศ. 2563 2564 1 1 14 2

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

ผลการดำเนินคดีและเปรียบเทียบปรับ คดีแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 : ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2564

27

● การจางเด็กอายุต่ำกวา 15 ป เปนลูกจาง ในไตรมาส 4 (ต.ค. - ธ.ค.) พ.ศ. 2564 มีการดำเนินคดีอาญาสถานประกอบกิจการ ที่มีการจางเด็กอายุต่ำกวา 15 ป เปนลูกจาง ตามมาตรา 44 แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 โดยสำนักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัดฉะเชิงเทรา จำนวน 1 คดี 3 ราย ซึ่งนิติกร/พนักงานเจ าหน าที่ไดขออนุมั ติดำเนินคดี นายจ างโดยการรองทุ กขกลาวโทษต อ พนักงานสอบสวน และปจจุบันอยูในชั้นพนักงานสอบสวน (ตารางที่ 8) ตารางที่ 8 จำนวนการดำเนินคดีอาญาสถานประกอบกิจการที่มีการจางเด็กอายุต่ำกวา 15 ป เปนลูกจาง ตามมาตรา 44 แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ไตรมาส 4 : ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2564 ขออนุมัติดำเนินคดี หนวยงาน สวนภูมิภาค สสค.ฉะเชิงเทรา รวม

คดี

ผูถูกกลาวหา (ราย)

1 1

3 3

ผลการดำเนินคดี เปรียบเทียบปรับ รองทุกขกลาวโทษ คาปรับ ตอพนักงานสอบสวน คดี (คดี) (บาท) 1 1

หมายเหตุ : 1. พระราชบัญญัติคมุ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 44 กำหนดวา หามนายจางจางเด็กอายุต่ำกวา 15 ป เปนลูกจาง 2. สสค. หมายถึง สำนักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัด

รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

28

● การจางเด็กอายุต่ำกวา 18 ป เปนลูกจาง แตไมแจงการจางลูกจางซึ่งเปนเด็กตอพนักงาน ตรวจแรงงานภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด ในไตรมาส 4 (ต.ค. - ธ.ค.) พ.ศ. 2564 มีการดำเนินคดีอาญาสถานประกอบกิจการ ที่มีการจางเด็กอายุต่ำกวา 18 ป แตไมแจงการจางลูกจางซึ่งเปนเด็กตอพนักงานตรวจแรงงาน ภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด ตามมาตรา 45 แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 โดยสำนักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานกรุงเทพมหานครพื้นที่ 7 จำนวน 1 คดี 4 ราย สำนักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัดศรีสะเกษ จำนวน 1 คดี 2 ราย สำนักงาน สวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัดสกลนคร จำนวน 1 คดี 3 ราย และสำนักงานสวัสดิการ และคุมครองแรงงานจังหวัดเชียงราย จำนวน 1 คดี 3 ราย รวมทั้งสิ้น 4 คดี 12 ราย โดยนิติกร/ พนั ก งานเจา หน า ที่ไดขออนุ มัติดำเนิ นคดีนายจา งโดยการร องทุก ขก ลา วโทษ ต อ พนักงาน สอบสวนทั้ง 4 คดี 12 ราย ซึ่งปจจุบันอยูในชั้นพนักงานสอบสวนทั้งหมด (ตารางที่ 9) ตารางที่ 9 จำนวนการดำเนินคดีอาญาสถานประกอบกิจการที่มีการจางเด็กอายุต่ำกวา 18 ป เปนลูกจาง แตไมแจงการจางลูกจางซึ่งเปนเด็กตอพนักงานตรวจแรงงานภายในระยะเวลาที่ กฎหมายกำหนด ตามมาตรา 45 แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ไตรมาส 4 : ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2564 ขออนุมัติดำเนินคดี หนวยงาน สวนกลาง

สรพ.7 สสค.ศรีสะเกษ สวนภูมิภาค สสค.สกลนคร สสค.เชียงราย รวม

คดี

ผูถูกกลาวหา (ราย)

1 1 1 1 4

4 2 3 3 12

ผลการดำเนินคดี เปรียบเทียบปรับ รองทุกขกลาวโทษ คาปรับ ตอพนักงานสอบสวน คดี (คดี) (บาท) 1 1 1 1 4

หมายเหตุ : 1. พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 45 กำหนดวา ในกรณีที่มีการจางเด็กอายุต่ำกวา 18 ป เปนลูกจาง ใหนายจางแจงการจางลูกจางซึ่งเปนเด็กนั้นตอพนักงานตรวจแรงงานภายในสิบหาวันนับแต วันที่เด็กเขาทำงาน 2. สรพ.7 หมายถึง สำนักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานกรุงเทพมหานครพื้นที่ 7 (รับผิดชอบพื้นที่เขต ตลิ่งชัน ทวีวัฒนา บางแค ภาษีเจริญ หนองแขม) 3. สสค. หมายถึง สำนักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัด

รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

29

● การจางเด็กอายุต่ำกวา 18 ป เปนลูกจาง ซึ่งจัดเวลาพักนอยกวาที่กฎหมายกำหนด ในไตรมาส 4 (ต.ค. - ธ.ค.) พ.ศ. 2564 ไมมีสถานประกอบกิจการที่มีการจางเด็ก อายุต่ำกวา 18 ป แหงใด จัดเวลาพักนอยกวาที่กฎหมายกำหนด ตามมาตรา 46 แหงพระราชบัญญัติ คุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541

● การจางเด็กอายุต่ำกวา 18 ป เปนลูกจาง ทำงานในระหวางเวลา 22.00 นาิกา ถึงเวลา 06.00 นาิกา ในไตรมาส 4 (ต.ค. - ธ.ค.) พ.ศ. 2564 ไมมีสถานประกอบกิจการที่มีการจางเด็ก อายุต่ำกวา 18 ป แหงใด ใหเด็กทำงานในระหวางเวลา 22.00 นาิกา ถึงเวลา 06.00 นาิกา ตามมาตรา 47 แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ● การจางเด็กอายุต่ำกวา 18 ป เปนลูกจาง โดยใหลูกจางเด็กทำงานลวงเวลาหรือทำงาน ในวันหยุด ในไตรมาส 4 (ต.ค. - ธ.ค.) พ.ศ. 2564 มีการดำเนินคดีอาญาสถานประกอบกิจการ ที่ มี ก ารจ า งเด็ ก อายุ ต่ ำ กว า 18 ป ทำงานล ว งเวลาหรื อ ทำงานในวั น หยุ ด ตามมาตรา 48 แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 โดยสำนักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงาน จังหวัดสกลนคร จำนวน 1 คดี 3 ราย ซึ่ ง นิ ติ กร/พนัก งานเจา หนา ที่ ไดข ออนุมั ติ ดำเนินคดี นายจางโดยการรองทุกขกลาวโทษตอพนักงานสอบสวน และปจจุบันอยูในชั้นพนักงานสอบสวน (ตารางที่ 10) ตารางที่ 10 จำนวนการดำเนินคดีอาญาสถานประกอบกิจการที่มีการจางเด็กอายุ ต่ำกวา 18 ป เปนลูกจาง ทำงานลวงเวลาหรือทำงานในวันหยุด ตามมาตรา 48 แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ไตรมาส 4 : ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2564 ขออนุมัติดำเนินคดี หนวยงาน สวนภูมิภาค สสค.สกลนคร รวม

คดี

ผูถูกกลาวหา (ราย)

1 1

3 3

ผลการดำเนินคดี เปรียบเทียบปรับ รองทุกขกลาวโทษ คาปรับ ตอพนักงานสอบสวน คดี (คดี) (บาท) 1 1

หมายเหตุ : 1. พระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 48 กำหนดวา หามมิใหนายจางใหลูกจางซึ่งเปนเด็ก อายุต่ำกวา 18 ป ทำงานลวงเวลาหรือทำงานในวันหยุด 2. สสค. หมายถึง สำนักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัด

รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

30

● การจางเด็กอายุต่ำกวา 18 ป เปนลูกจาง โดยนายจางใหทำงานที่มีลักษณะงานตาม ที่กฎหมายหาม ในไตรมาส 4 (ต.ค. - ธ.ค.) พ.ศ. 2564 ไมมีสถานประกอบกิจการที่มีการจางเด็ก อายุ ต่ ำ กว า 18 ป แห ง ใด จ า งเด็ ก ทำงานตามที่ ก ฎหมายห า ม อั น ได แ ก ง านดั ง ต อ ไปนี้ 1) งานหลอม เปา หลอ หรือรีดโลหะ 2) งานปมโลหะ 3) งานเกี่ยวกับความรอน ความเย็น ความสั่นสะเทือน เสียง และแสง ที่มีระดับแตกตางจากปกติ อันอาจเปนอันตรายตามที่กำหนด ในกฎกระทรวง 4) งานเกี่ ย วกั บ สารเคมี ที่ เ ป น อั น ตรายตามที่ ก ำหนดในกฎกระทรวง 5) งานเกี่ยวกับจุลชีวันเปนพิษซึ่งอาจเปนเชื้อไวรัส แบคทีเรีย รา หรือเชื้ออื่นตามที่กำหนด ในกฎกระทรวง 6) งานเกี่ยวกับวัตถุมีพิษ วัตถุระเบิด หรือวัตถุไวไฟ เวนแตงานในสถานีบริการ น้ำมันเชื้อเพลิงตามที่กำหนดในกฎกระทรวง 7) งานขับหรือบังคับรถยกหรือปนจั่นตามที่กำหนด ในกฎกระทรวง 8) งานใชเลื่อยเดินดวยพลังไฟฟาหรือเครื่องยนต 9) งานตองทำใตดิน ใตน้ำ ในถ้ำ อุโมงค หรือปลองในภูเขา 10) งานเกี่ยวกับกัมมันตภาพรังสีตามที่กำหนดในกฎกระทรวง 11) งานทำความสะอาดเครื่องจักรหรือเครื่องยนตขณะที่เครื่องจักรหรือเครื่องยนตกำลังทำงาน 12) งานที่ตองทำบนนั่งรานที่สูงกวาพื้นดินตั้งแต 10 เมตรขึ้นไป 13) งานอื่นตามที่ก ำหนด ในกฎกระทรวง ตามมาตรา 49 แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ● การจางเด็กอายุต่ำกวา 18 ป เปนลูกจาง ทำงานในโรงงานฆาสัตว สถานที่เลนการพนัน สถานบริการ ตามกฎหมายวาดวยสถานบริการ และสถานที่อื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง ในไตรมาส 4 (ต.ค. - ธ.ค.) พ.ศ. 2564 ไมมีสถานประกอบกิจการที่มีการจางเด็ ก อายุต่ำกวา 18 ป แหงใด จางเด็กทำงานในโรงงานฆาสัตว สถานที่เลนการพนัน สถานบริการ ตามกฎหมายวาดวยสถานบริการ และสถานที่อื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง ตามมาตรา 50 แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541

รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

31

● การจางเด็กอายุต่ำกวา 18 ป เปนลูกจาง และมีการเรียกหรือรับหลักประกันเพื่อการใด ๆ จากฝายลูกจางซึ่งเปนเด็ก ในไตรมาส 4 (ต.ค. - ธ.ค.) พ.ศ. 2564 ไมมีสถานประกอบกิจการที่มีการจางเด็ ก อายุต่ำกวา 18 ป แหงใด เรียกหรือรับหลักประกันเพื่อการใด ๆ จากฝายลูกจางซึ่งเปนเด็ก ตามมาตรา 51 แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541

● การจางเด็กอายุต่ำกวา 18 ป เปนลูกจาง และลูกจางเด็กใชสิทธิลาเขาประชุม สัมมนา รับ การอบรม รับการฝกหรืออบรมเพื่อการอื่น ซึ่งจัดโดยสถานศึกษาหรือหนวยงานของรัฐหรือ เอกชนที่อธิบดีเห็นชอบ โดยไดรับคาจางจากนายจาง ในไตรมาส 4 (ต.ค. - ธ.ค.) พ.ศ. 2564 ไมมีสถานประกอบกิจการที่ไมจายคาจาง ใหแกลูกจางซึ่งเปนเด็กที่ใชสิทธิลาเขาประชุม สัมมนา รับการอบรม รับการฝกหรืออบรม เพื ่ อ การอื่ น ซึ ่ ง จั ด โดยสถานศึ ก ษาหรื อ หน ว ยงานของรั ฐ หรื อ เอกชนที ่ อ ธิ บ ดี เ ห็ น ชอบ ตามมาตรา 52 แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 แตอยางใด

รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

ผลการดำเนินการที่สำคัญ ไตรมาส 4 : ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2564

32

1. รมว.แรงงาน ออกโรงแจง จางเด็กต่ำกวา 15 ป ทำงานไมได เอาจริงหากพบมีโทษ ทั้งปรับทัง้ จำ เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2564 รมว.แรงงาน เตือนประชาชนอยาหลงเชื่อขาวเท็จ กรณีมีขาว ในสื่อออนไลนเกี่ยวกับประเด็นกฎหมายใหม ระบุวาสามารถจางเด็กอายุต่ำกวา 15 ป ทำงานได แบบไมผิดกฎหมาย ยืนยันเปนขาวเท็จ เตือนนายจางหามจางเด็กอายุต่ำกวา 15 ปเขาทำงาน หากฝาฝนมีโทษทั้งปรับทั้งจำ

นายสุชาติ ชมกลิ่น รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงาน เปดเผยถึง กรณีโพสตขอความ หนึ่งในสื่อออนไลนเกี่ยวกับประเด็นกฎหมายใหม ระบุวาสามารถจางเด็กอายุต่ำกวา 15 ป ทำงานได แบบไมผิดกฎหมาย ซึ่งกระทรวงแรงงานขอยืนยันวาขอมูลดังกลาวเปนขาวเท็จและ ขอใหประชาชนอยางหลงเชื่อและแชรขอมูลออกไป เนื่องจากยังไมมีการแกไขกฎหมายให สามารถจางเด็กอายุต่ำกวา 15 ป ทำงานได ทั้งนี้กระทรวงแรงงานภายใตการกำกับดูแลของ พลเอก ประวิตร วงษสุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี มีความมุงมั่นที่จะแกไขปญหาการใชแรงงานเด็ก เพื่อปองกันและแกไขปญหาการใชแรงงานเด็กในรูปแบบที่เลวราย จึงไดกำชับใหกรมสวัสดิการ และคุมครองแรงงานนำมากำหนดเปนนโยบายสำคัญ ในการกำกั บดูแลใหลูกจ างเด็กได รั บ

รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

33

การคุมครองตามกฎหมาย มีมาตรการปองกันการใชแรงงานเด็ก การบังคับใชกฎหมายอยางจริงจัง ซึ่งกฎหมายที่บังคับใชในปจจุบันตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 กำหนดหาม ไมใหนายจางจางเด็กอายุต่ำกวา 15 ป เขาทำงาน เปนลูกจางในงานทั่วไปและงานเกษตรกรรม และอายุต่ำกวา 18 ป เขาทำงานในงานประมงทะเล งานในโรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับสัตวน้ำ ตามกฎหมายวาดวยโรงงาน และในกิจการเกี่ยวกับการแปรรูปสัตวน้ำ หากฝาฝนมีโทษปรับตั้งแต 400,000 บาท ถึง 2,000,000 บาท ตอลูกจาง 1 คน หรือจำคุกสูงสุดไมเกิน 4 ป หรือทั้งปรับทั้งจำ สำหรับเด็กอายุ 15 ป ถึง 18 ป จางเขาทำงานได โดยนายจางตองแจงการจางตอพนักงาน ตรวจแรงงานภายใน 15 วัน นับตั้งแตวันที่รับเด็กเขาทำงาน

นายนิยม สองแกว อธิบดีกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน (กสร.) กลาวเพิ่มเติมวา ในฐานะหนวยงานที่มีภารกิจในการคุมครองสิทธิแรงงานใหไดรับความเปนธรรม ขอย้ำเตือน นายจาง เจาของสถานประกอบกิจการใหปฏิบัติตามกฎหมายอยางเครงครัด หากตรวจพบวา นายจาง สถานประกอบกิ จการใดไม ปฏิบ ัติต ามกฎหมาย โดยจางแรงงานเด็ กอายุต่ ำ กว า ที่กฎหมายกำหนด จะดำเนินคดีกับนายจางรายนั้นทันที ทั้งนี้ หากมีผูพบเห็นการใชแรงงานเด็ก อายุต่ำกวา 15 ป สามารถแจงไดที่ สำนักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัดทุกจังหวัด สำนักงานสวัสดิการและคุมครองแรงงานกรุงเทพมหานครพื้นที่ 1-10 หรือโทร. สายดวน 1506 กด 3 หรือ 1546 และทางสื่อออนไลนของกรมทุกชองทาง

รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

2. กสร. ประกาศนโยบายเน น แก ไ ขป ญ หาการค า มนุ ษ ย ตั้ ง เป า มุ ง สู Tier 1 นำ เทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล สร า งนวั ต กรรมมาใช บ ริ ห ารงาน

34

เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2564 กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน ประกาศนโยบาย เรงดวนเนนย้ำการปองกันและแกปญหาการคามนุษยดานแรงงานอยางเปนรูปธรรม เพื่อมุงสู ระดับ Tier 1 พรอมขับเคลื่อนการทำงานของกรม ตามนโยบายของรัฐบาลและกระทรวง แรงงาน เดินหนาสรางรากฐานการปฏิบัติงานมุงผลสัมฤทธิ์เพื่อประชาชน

นายนิยม สองแกว อธิบดีกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน (กสร.) กลาวในฐานะ ประธานการแถลงนโยบายและแนวทางปฏิบัติราชการของกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน ประจำป 2565 เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2564 ณ หองประชุม ศ.นิคม จันทรวิทุร วาปจจุบันประเทศ ไทยและทั่วโลกกำลังเผชิญกับวิกฤตโควิด-19 นำมาซึ่งผลกระทบตอโครงสรางเศรษฐกิจและ ตลาดแรงงานไทยเปนอยางมาก โดยเฉพาะหลังมาตรการล็อกดาวนการเปลี่ยนแปลงของสภาพ การจางงานเปนผลทำใหภาคธุรกิจตองปรับตัว เพื่อเสริมสภาพคลองทางธุรกิจใหดำเนินตอไปได ซึ่งสงผลใหแรงงานกลุมเปราะบาง เชน แรงงานทักษะต่ำ แรงงานผูหญิง แรงงานขามชาติ ในประเทศ เปนกลุมแรงงานที่กรมตองเขามาดูแลโดยดวน กระทรวงแรงงาน ภายใตการนำของ นายสุชาติ ชมกลิ่น รัฐมนตรีวาการกระทรวงแรงงาน ไดสั่งการใหกรมสวัสดิการและคุมครอง แรงงานดำเนินนโยบายการทำงานเนนการบูรณาการรวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อรวม ขับเคลื่อนโครงการสำคัญตามนโยบายของรัฐบาลและกระทรวงแรงงานใหบรรลุเปาหมายอยาง มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ภายใต ก รอบแนวคิ ด “คนสำราญ งานสั ม ฤทธิ ์ ผ ล ประชาชนพึ ง พอใจ” เนนย้ำการทำงานเชิงรุก ไดแก 1) สานงานตอ โครงการที่ทำแลวมีผลกระทบเชิงบวกตอองคกร และประชาชน เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาองคกรและยกระดับการใหบริการของหนวยงาน รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

35

สู ค วามเป น เลิ ศพร อ มเร งรัด การช ว ยเหลือ ผู ใ ช แรงงานที ่ ไดร ั บ ผลกระทบจากสถานการณ การแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อยางรวดเร็ว ครอบคลุมและทั่วถึง 2) กองานเพิ่ม โดยเนนที่นโยบายเรงดวนดานการปองกันและแกไขปญหาการคามนุษยดานแรงงาน อยางเปน รูปธรรม เพื่อมุงสู Tier 1 โดยพุงเปาการตรวจสถานประกอบกิจการที่เสี่ยงตอการใชแรงงานเด็ก แรงงานบังคับ แรงงานขัดหนี้ และการคามนุษยดานแรงงาน เพื่อคุมครองแรงงานไมใหมี การละเมิดสิทธิดานแรงงานในกิจการประเภทตาง ๆ พรอมสงเสริมใหสถานประกอบกิจการ กลุมเสี่ยงที่อาจเกิดการละเมิดสิทธิแรงงานใหนำแนวปฏิบัติการใชแรงงานที่ดี (GLP) ไปใชใน การบริ ห ารจั ด การแรงงาน นอกจากนี ้ ก รมจะดู แ ลแรงงาน ทั ้ ง ในและนอกระบบให ไ ด รั บ การคุมครองสิทธิตามกฎหมาย การดำเนินมาตรการเชิงรุกดานความปลอดภัยในการทำงาน (Safely & Healthy Thailand) เพื่อใหอัตราการประสบอันตรายจากการทำงานลดลงรอยละ 5 เมื่อเทียบกับปที่ผานมา พรอมสงเสริมแรงงานสัมพันธเชิงรุกในภาวะวิกฤตดวยระบบทวิภาคี และสงเสริมใหสถานประกอบกิจการเขาสูระบบมาตรฐานแรงงานไทย (TLS) ตลอดจนปรับปรุง พั ฒ นากฎหมายให ม ี ค วามเหมาะสมกั บ บริ บ ททางเศรษฐกิ จ และสั ง คมของประเทศ และสอดคลองกับมาตรฐานสากลและพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศใหเปนระบบ Big Data สามารถใหบริการประชาชนไดอยางมีประสิทธิภาพ ในปงบประมาณ 2565 นี้ กรมจะพัฒนาขีดความสามารถการทำงานของบุคลากรองคกร ตลอดจนการบริหารจัดการและการใหบริการใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นดวยโครงการที่เปน งานใหม โดย 3) เติมงานใหม มุงเนนขับเคลื่อนนโยบายของรัฐบาล นโยบายของรัฐมนตรีวาการ กระทรวงแรงงาน เชน โครงการ Factory Sandbox การสงเสริมระบบแรงงานสัมพันธของ สหภาพแรงงาน การพัฒนาเจาหนาที่ความปลอดภัย (จป.) ใหมีความเขมแข็ง การเทียบเคียง มาตรฐานแรงงานไทยกับมาตรฐานอื่น ๆ เชน ISO 45001 ระบบมาตรฐานการจัดการอาชีวอนามัย และความปลอดภัย เปนตน เชนเดียวกับกรอบคุณวุฒิแหงชาติ ที่เทียบเคียงคุณวุฒิการศึกษา กับกรอบคุณวุฒิวิชาชีพและมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ พรอมกันนี้กรมจะมุงพัฒนาการ ใหบริการ การอนุมัติ การอนุญาต เปนระบบอิเล็กทรอนิกสและอยูในแพลตฟอรมเดีย วกัน ตลอดจนเพิ่มประสิทธิภาพการคุมครองแรงงานดวยระบบภูมิสารสนเทศ (Geo-Informatics) และพั ฒ นาระบบการตรวจแรงงานในรู ป แบบการรั บ รองตนเอง (Self – Declaration) เพื ่ อ อำนวยความสะดวกให ส ถานประกอบกิ จ การลดต น ทุ น หรื อ เวลาในการดำเนิ น งาน และพัฒนาไปสูการตรวจสอบโดยใชปญญาประดิษฐในอนาคต “กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน ในฐานะหนวยงานที่ทำหนาที่ในการคุมครองสิทธิ และพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงาน พรอมขับเคลื่อนนโยบายการกำกับดูแลใหแรงงานทั้งในและ นอกระบบใหไดรับการคุมครองสิทธิตามกฎหมาย รวมทั้งพัฒนามาตรฐานแรงงานไทยเทียบเทา สากลพรอมยกระดับการใหบริการประชาชนดวยความสะดวก รวดเร็ว ทั่วถึงและยั่งยืนตอไป” รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

36

3. กสร. จัดประชุมคณะอนุกรรมการเพื่อติดตามและรวบรวมขอมูลการ ดำเนินงานปองกัน และแกไขปญหาการใชแรงงานเด็ก แรงานบังคับ ในกลุมสินคาประเภทกุง ปลา ออย และ เครื่องนุงหม ครั้งที่ 1/2564

เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2564 นายนิยม สองแกว อธิบดีกรมสวัสดิการและคุมครอง แรงงาน เป น ประธานการประชุ ม คณะอนุ ก รรมการเพื ่ อ ติ ด ตามและรวบรวมข อ มู ล การดำเนินงานปองกันและแกไขปญหาการใชแรงงานเด็ก แรงงานบังคับ ในกลุมสินคาประเภท กุง ปลา ออย และเครื่องนุงหม ครั้งที่ 1/2564 โดยมีผูบริหารกรม ผูแทนภาครัฐ ผูแทนนายจาง ผู  แ ทนลูก จ า ง และเจ า หน า ที ่ที ่เ กี ่ย วข องเขา ร วมประชุม เพื ่ อ พิ จ ารณาการจั ดทำรายงาน สถานการณ แ รงงานเด็ ก และแรงงานบั ง คั บ ในกลุ  ม สิ น ค า ประเภทกุ  ง ปลา อ อ ย และ เครื ่ อ งนุ  ง ห ม ของประเทศไทย ระหว า งป พ.ศ. 2563 - 2564 เสนอกระทรวงแรงงาน สหรัฐอเมริกา เพื่อพิจารณาถอดถอนรายการสินคาที่ถูกระบุอยูใน TVPRA List และ EO List ณ หองประชุมตรีเทพ 1 ชั้น 7 อาคาร 25 ป กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

37

ภาคผนวก

รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

แบบแจงการจางลูกจางซึ่งเปนเด็กอายุต่ำกวาสิบแปดป ตามมาตรา 45 (1) แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (คร.2)

รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

38

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

แบบบันทึกการเปลี่ยนแปลงสภาพการจางลูกจางซึ่งเปนเด็กอายุต่ำกวาสิบแปดป ตามมาตรา 45 (2) แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (คร.3)

รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

39

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

แบบแจงการสิ้นสุดการจางลูกจางซึ่งเปนเด็กอายุต่ำกวาสิบแปดป ตามมาตรา 45 (3) แหงพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 (คร.4)

รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

40

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

41

รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

42

รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

43

รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

44

รายงานความเคลื่อนไหวแรงงานเด็ก ไตรมาส 4 ( ต.ค. - ธ.ค. 64)

สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.