วารสารประชาสัมพันธ์ "ราชาวดี" ประจำปี พ.ศ. 2564 Flipbook PDF

วารสารประชาสัมพันธ์ "ราชาวดี" ประจำปี พ.ศ. 2564

26 downloads 99 Views 11MB Size

Story Transcript

เนื่องในศุภมงคลสมัยขึ้นปีใหม พุทธศักราช 2564 ผมรูสึกชื่นชมและขอเป็นกําลังใจตอบุคลากรของ กระทรวงศึกษาธิการทุกทานทั้งในสวนกลางและเขตพื้นที่การศึกษาที่ทุมเททั้งกําลังกาย กําลังใจ และสติปัญญา อยางเต็มกําลังความสามารถ ในการรวมสงเสริมสนับสนุน และขับเคลื่อนการศึกษาของประเทศชาติใหเจริญ กาวหนาอยางมั่นคง ยั่งยืน เพื่อเตรียมความพรอมทรัพยากรมนุษยใหกาวสูเวทีระดับโลกอยางสงางาม ในโอกาสนี้ ผมขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัย และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายที่ทุกทานเคารพนับถือ ตลอดจนพระบุญญาบารมีของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกลาอยูหัว โปรดดลบันดาลประทานพรใหบุคลากรของกระทรวงศึกษาธิการทุกทานและครอบครัว จงประสบแตความสุขความเจริญ มีสุขภาพพลานามัยแข็งแรงสมบูรณ ปราศจากภยันอันตราย ภัยพิบัติทั้งปวง ประสบความสําเร็จในหนาที่การงานและสัมฤทธิผลในสิ่งพึงปรารถนาทุกประการ เนื่องในศุภวาระดิถีขึ้นปใหม พุทธศักราช 2564 ผมขอสงความรัก และปรารถนาดีมายังพี่นองชาวกระทรวงศึกษาธิการทุกทาน และขออาราธนา คุณพระศรีรัตนตรัย และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายในสากลโลก ตลอดจนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่ทุกทานเคารพนับถือ อีกทั้ง พระบารมีแหงพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดี ศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกลาเจาอยูหัว โปรดดลบันดาลประทานพร ใหทุกทานและครอบครัวประสบแตสิริสวัสดิ์พิพัฒนมงคล สมบูรณพูนผลดวย จตุรพิธพรชัยมีจิตใจที่สดใสดีงาม สมหวังในสิ่งที่ ปรารถนาทุกประการ เนื่องในวาระอันเปนมงคลวันขึ้นปใหม พุทธศักราช 2564 กระผมในนามตัวแทน ของสํานักงานศึกษาธิการภาค 3 ขออํานาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย โปรดดลบันดาล ใหทานและครอบครัว ประสบแตความสุข ความเจริญ ดวยจตุรพิธพรชัยและสัมฤทธิผล ปรีดิ์เปรมเกษมสมัย กิจกาวไกล สุขสวัสดิ์พิพัฒนผล สิ่งศักดิ์สิทธิ์เสกสรรบันดาลดล พรมงคลใหพรอมพรั่งยั่งยืนนาน ขอใหปฏิบัติหนาที่ที่ไดรับมอบหมายอยางมีความสุข ปราศจากทุกข มีสุขภาพแข็งแรง และสัมฤทธิ์ผลในสิ่งอันพึงปรารถนา (นายสุภัทร จําปาทอง) ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (นายรังสรรค อวนวิจิตร) รองศึกษาธิการภาค รักษาการในตําแหนงศึกษาธิการภาค 3 (นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ) รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ สาร อวยพรเนื่องในศุภมงคลสมัยขึ้นปีใหม พุทธศักราช 2564 ประสบความสําเร็จในหนาที่การงานและสัมฤทธิผลในสิ่งพึงปรารถนาทุกประการ เนื่องในศุภมงคลสมัยขึ้นปีใหม พุทธศักราช 2564 ผมรูสึกชื่นชมและขอเป็นกําลังใจตอบุคลากรของ Rachawadee Journal 3


ตําแหนงทางราชการ - เขารับราชการเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2531 ตําแหนง สถาปนิก 3 กรมการฝกหัดครู - ผูชวยเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา (22 มี.ค. 2556) - ผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ (11 ธ.ค. 2557) - รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา (20 ม.ค. 2558) - รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (1 ต.ค. 2558) - เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา (1 ต.ค. 2559) - เลขาธิการสภาการศึกษา (25 ธ.ค. 2561) - ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (1 ต.ค. 2563) เครื่องราชอิสริยาภรณ - มหาปรมาภรณชางเผือก (ม.ป.ช.) พ.ศ. 2560 - มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.) พ.ศ. 2558 วัน เดือน ปเกิด 14 กันยายน 2505 ประวัติการศึกษา - มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน - สถ.บ. (สถาปตยกรรม) คณะสถาปตยกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง - ร.ม. (บริหารรัฐกิจ) คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - ปร.ด. (รัฐประศาสนศาสตร) คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง การฝกอบรม - หลักสูตรการปองกันราชอาณาจักร (วปอ. รุนที่ 57) วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร - หลักสูตรการบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน (ปรม. รุนที่ 7) สถาบันพระปกเกลา - หลักสูตรนักบริหารการงบประมาณระดับสูง (นงส. รุนที่ 4) ส านักงบประมาณ - หลักสูตรนักบริหารการเงินการคลังภาครัฐระดับสูง (บงส. รุนที่ 1) กรมบัญชีกลาง - Regional Labor Market Course for East Asia and Pacific : The World Bank - APEC e-Learning Cooperation Training Program (รุนที่ 25) : APEC รางวัลที่ไดรับ - ศิษยเการัฐศาสตรดีเดน ดานการบริหาร พ.ศ. 2559 คณะรัฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - ศิษยเกาดีเดน พ.ศ. 2560 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน - ศิษยเกาเกียรติยศ พ.ศ. 2561 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 4 Rachawadee Journal


ดร.วีระ แข็งกสิการ รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เปนประธานการจัดงานแลกเปลี่ยนเรียนรู เพื่อสงเสริมสนับสนุนการยกระดับ คุณภาพการศึกษา ณ โรงแรม ณ เวลา อําเภอเมือง จังหวัดราชบุรี ในวันที่ 21 กันยายน 2563 และ ดร.รังสรรค อวนวิจิตร รองศึกษาธิการภาค รักษาการในตําแหนงศึกษาธิการภาค 3 เปนประธานเปดงาน ในวันที่ 22 กันยายน 2563 ตามโครงการ 4 โครงการ ไดแก 1. โครงการสรางและสงเสริมความเปนพลเมืองดีตามรอยพระยุคลบาทดานการศึกษาสูการปฏิบัติ มีวัตถุประสงค 1) เพื่อสงเสริม ใหผูเรียนมีเจตคติที่ดีตอบานเมือง มีโอกาสทําหนาที่เปนพลเมืองดี และมีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคงและมีคุณธรรม 2) เพื่อติดตามผลการสงเสริม สนับสนุนการดําเนินงานตามพระบรมราโชบายดานการศึกษาสูการปฏิบัติในพื้นที่รับผิดชอบ และ 3) เพื่อนําเสนอผลการดําเนินงาน และแลกเปลี่ยนเรียนรูผลการสงเสริม สนับสนุนการดําเนินงานตามพระบรมราโชบายดานการศึกษาสูการปฏิบัติในพื้นที่รับผิดชอบ 2. โครงการ Coaching Teams เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา มีวัตถุประสงค 1) เพื่อสรางเครือขายความรวมมือในการนิเทศ ติดตาม ประเมินผล และการสนับสนุนการบริหารการจัดการศึกษา ในระดับภาค/จังหวัด เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา 2) เพื่อพัฒนา รูปแบบ/แนวทางการนิเทศ ติดตามและประเมินผลในการบริหารจัดการศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาที่เหมาะสม สอดคลอง กับความตองการและบริบทของพื้นที่ 3) เพื่อขยายผลรูปแบบ/แนวทางการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารการจัดการศึกษา ดวยกระบวนการ Coaching ทุกสังกัดในระดับภาค/จังหวัด ที่สอดคลองกับความตองการและบริบทของพื้นที่ 3. โครงการ TFE (Teams For Education) มีวัตถุประสงค 1) เพื่อเปนศูนยกลางขอมูลสารสนเทศทางการศึกษา กระบวนการ จัดการเรียนรูเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาและที่เกี่ยวของของจังหวัด/ภาค 2) เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู และถายทอด องคความรูเกี่ยวกับรูปแบบ/แนวทางการพัฒนานักเรียนของสถานศึกษาที่มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน แตละวิชาตํ่ากวาเกณฑคะแนนรอยละ 50 เพิ่มขึ้น 3) เพื่อใหสถานศึกษามีรูปแบบในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่สงผลใหมีรอยละของนักเรียน ที่คะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแตละวิชาผานเกณฑเพิ่มขึ้น 4. โครงการสงเสริมเวทีและประชาคมเพื่อการจัดทํารูปแบบและแนวทางพัฒนาหลักสูตรตอเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐาน กับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา มีวัตถุประสงค เพื่อพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีความเชื่อมโยงการจัดการเรียนรูในระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาที่สอดคลองกับบริบทของพื้นที่ในระดับจังหวัดและภูมิภาค กิจกรรมประกอบดวย 1. กิจกรรมการฝกอบรมจิตอาสา 904 “หลักสูตรหลักประจํา” “เปนเบาเปนแมพิมพ” โดยทีมงานจากมณฑลทหารบกที่ 17 2. การแลกเปลี่ยนเรียนรู 2 กิจกรรม โดยสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี กาญจนบุรี และสุพรรณบุรี ไดแก 2.1 การจัดนิทรรศการตามวัตถุประสงคและเปาหมายของโครงการแบบบูรณาการ 4 โครงการเปนภาพจังหวัดแตละจังหวัด 2.2 การนําเสนอบนเวที มีคณะวิทยากรผูทรงคุณวุฒิจากมหาวิทยาลัยใหแนวคิดในการยกระดับคุณภาพการศึกษา ในวันที่21 กันยายน 2563 ไดแก 1) รศ.ดร. พรชัย หนูแกว 2) รศ.ดร.กรัณยพล วิวรรธมงคล และ 3) ดร.เกรียงวุธ นีละคุปต และในวันที่ 22 กันยายน 2563 ไดแก 1) ผศ.ดร.ชนสิทธิ์ สิทธิ์สูงเนิน และ 2) ดร.เกรียงวุธ นีละคุปต ผูเขารวมกิจกรรมเปนบุคลากรจากหนวยงานทางการศึกษาและสถานศึกษาในพื้นที่ ประกอบดวย ผูบริหาร ครู ศึกษานิเทศก นักวิชาการศึกษา นักเรียน/นักศึกษา และผูเกี่ยวของ ทั้ง 2 วัน รวมจํานวน 800 คน Rachawadee Journal 5


POWER Teams For Education model 2.1.2 รูปแบบการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรูของสถานศึกษาที่มีผลการทดสอบ O-net ในแตละวิชาสูงกวารอยละ 50 ในระดับตํ่า ผลการจัดกิจกรรม 1. ระดับความพึงพอใจของผูเขารวมกิจกรรมอยูในระดับมาก หรือคิดเปนรอยละ 87.6 2. การพัฒนารูปแบบการยกระดับคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน นําขอมูลการประชุมไปใชประกอบในการจัดทําโมเดลเพื่อยกระดับ การศึกษาไดดังนี้ 2.1 รูปแบบการพัฒนาการจัดการเรียนรูในสถานศึกษาที่คะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน 2.1.1 รูปแบบการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรูของสถานศึกษาที่มีผลการทดสอบ O-net ในแตละวิชาตํ่ากวารอยละ 50 6 Rachawadee Journal


2.2 รูปแบบของนักเรียนที่คะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแตละวิชาผานเกณฑ ภาพกิจกรรม Rachawadee Journal 7


มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 4 ธันวาคม 2560 มาตรา 65 รัฐจัดใหมียุทธศาสตรชาติ เปนเปาหมายการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน เพื่อเปนกรอบในการจัดทําแผนตางๆ เกิดการผลักดันไปสูเปาหมายเดียวกัน หนาที่ของทุกหนวยงานของรัฐ ตาม พ.ร.บ.การจัดทํายุทธศาสตรชาติ พ.ศ.2560 - มีหนาที่ดําเนินการเพื่อใหบรรลุเปาหมายตามที่กําหนดไวในยุทธศาสตรชาติ - ตองมุงเนนการบรรลุเปาหมายของแผนแมบทฯ รวมทั้งการจัดทํางบประมาณรายจายประจําป งบประมาณตองสอดคลอง กับแผนแมบทดวย ตามหลักการความสัมพันธเชิงเหตุและผล (Causal Relationship : XYZ) ยุทธศาสตรชาติ 20 ป แผนแมบท 23 ประเด็น 6 ยุทธศาสตรชาติ 23 37 39 85 140 163 แผนแมบทฯ เปาหมายประเด็น ตัวชี้วัด แผนแมบทยอย เปาหมายยอย ตัวชี้วัด ยุทธศาสตรชาติ 23 85 1. ความมั่นคง 2. การตางประเทศ 3. การเกษตร 4. อุตสาหกรรมและบริการแหงอนาคต 5. การทองเที่ยว 6. พื้นที่และเมืองนาอยูอัจฉริยะ 7. โครงสรางพื้นฐาน ระบบโลจิสติกส และดิจิทัล 8. ผูประกอบการและวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมยุคใหม 9. เขตเศรษฐกิจพิเศษ 10. การปรับเปลี่ยนคานิยมและวัฒนธรรม 11. ศักยภาพคนตลอดชวงชีวิต 12. การพัฒนาการเรียนรู 13. การเสริมสรางใหคนไทยมีสุขภาวะที่ดี 14. ศักยภาพการกีฬา 15. พลังทางสังคม 16. เศรษฐกิจฐานราก 17. ความเสมอภาคและหลักประกันทางสังคม 18. การเติบโตอยางยั่งยืน 19. การบริหารจัดการน้าทั้งระบบ 20. การบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ 21. การตอตานการทุจริตและประพฤติมิชอบ 22. กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม 23. การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม 8 Rachawadee Journal


แผน ระดับที� แผน ระดับที� แผน ระดับที� อางอิงจาก สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ www.nesdc.go.th Rachawadee Journal 9


เป‡าประสงคและตัวชี้วัดที่สําคัญ ของแผนพัฒนาการศึกษา กลุ‹มจังหวัดภาคกลางตอนล‹าง 1 (พ.ศ. 2563 – 2565) ของสํานักงานศึกษาธิการภาค 3 เปาประสงค ตัวชี้วัดที่สําคัญ 1.ประชากรทุกชวงวัย ไดรับโอกาสทางการศึกษา ที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน อยางทั่วถึง และเทาเทียม รอยละของผูเรียนที่มี คุณลักษณะและทักษะที่จําเปน ในศตวรรษที่ 21 รอยละของผูเรียนตอประชากร วัยเรียน ทุกระดับ รอยละของระบบเครือขาย เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา ที่มีประสิทธิภาพทันสมัย สนองตอบความตองการ ของผูเรียนไดอยางทั่วถึง สัดสวนผูเรียนอาชีวศึกษา ตอสายสามัญศึกษา รอยละความพึงพอใจของ ผูประกอบการตอผูสําเร็จ การศึกษาในระดับอาชีวศึกษา และอุดมศึกษาเพิ่มขึ้น รอยละของสถานศึกษาที่ใช กระบวนการเรียนรู สรางเสริม คุณธรรม จริยธรรม เพื่อดําเนินชีวิต ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง เพิ่มขึ้น รอยละของผูเรียน ผานการประเมินตามหลักสูตร เสริมสรางทักษะชีวิต รอยละของสถานศึกษา ที่ไดรับการนิเทศ ดวยรูปแบบ ที่หลากหลายทันสมัย และสมํ่าเสมอ จํานวนหนวยงาน องคกรภาครัฐ/ เอกชน/สถานประกอบการ ที่มีสวนรวมในการจัดการศึกษา ที่ตอบสนองความตองการของ ประชาชนและพื้นที่ อัตราการไดงานทํา / ประกอบ อาชีพอิสระ ของผูสําเร็จ การศึกษาภายในระยะเวลา 1 ปเพิ่มขึ้น รอยละของสถานศึกษาที่มี การจัดการเรียนการสอน/กิจกรรม เพื่อเสริมสรางความเปนพลเมือง (Civic Education) เพิ่มขึ้น มีคลังขอมูลสารสนเทศ ดานการศึกษาและดานที่เกี่ยวของ ที่สามารถใชประโยชนใน การวางแผน การบริหารจัดการศึกษา การติดตาม ประเมินและรายงานผล 2. ประชากรมีทักษะอาชีพ มีงานทํา สอดคลอง กับบริบท และความตองการ ของตลาดแรงงาน 3. ผูเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ดําเนินชีวิตอยางมีความสุข ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 4. หนวยงานการศึกษา มีระบบบริหารจัดการที่มี ประสิทธิภาพเนนการมีสวนรวม จากทุกภาคสวน ตามหลักธรรมาภิบาล :: แผนพัฒนาการศึกษา กลุ‹มจังหวัดภาคกลาง ตอนล‹าง 1 (จังหวัดกาญจนบุร� จังหวัดราชบุร� และ จังหวัดสุพรรณบุร�) พ.ศ.2563 – 2565 1. สงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตอยางทั่วถึง และมีคุณภาพ 2. สงเสริมการผลิต พัฒนากําลังคน ใหสอดคลองความตองการ ของทองถิ่น ตลาดแรงงาน และรองรับการพัฒนาประเทศ 3. สงเสริมคุณธรรม จริยธรรม การดําเนินชีวิตตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง 4. สงเสริม พัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษา โดยยึดหลักธรรมาภิบาล  พันธกิจ (MISSION) กลุมยุทธศาสตรการศึกษา สํานักงานศึกษาธิการภาค 3 สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ โทร. 032-323384 ตอ 113 - 114 สําหรับดาวนโหลด แผนพัฒนาการศึกษา 10 Rachawadee Journal


เป‡าประสงคและตัวชี้วัดที่สําคัญ ของแผนพัฒนาการศึกษา กลุ‹มจังหวัดภาคกลางตอนล‹าง 1 (พ.ศ. 2563 – 2565) ของสํานักงานศึกษาธิการภาค 3 Rachawadee Journal 11


มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) เพื่อเสริมสรางความจงรักภักดีตอสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข 2) เพื่อปลูกฝงและเสริมสรางความรักและเทิดทูนในสถาบันพระมหากษัตริย สรางจิตสํานึกและคานิยม ที่ถูกตองใหแกเด็ก เยาวชน และประชาชน โดยมีขอบเขตการดําเนินงาน 3 กิจกรรม คือ 1. กิจกรรมเทิดพระเกียรติ 2. กิจกรรมบําเพ็ญ สาธารณประโยชน 3. กิจกรรมใหความรู เรื่อง “สถาบันพระมหากษัตริยกับประเทศไทย” 1. กิจกรรมเทิดพระเกียรติฯ เพื่อเปนการแสดงออกถึงความจงรักภักดี และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย โดยจัดขึ้น ณ สํานักงาน ศึกษาธิการภาค 3 ถนนไกรเพชร อําเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี 3. กิจกรรมใหความรู เรื่อง “สถาบันพระมหากษัตริยกับประเทศไทย” และกิจกรรมบําเพ็ญประโยชน สํานักงานศึกษาธิการภาค 3 รวมกับวิทยาลัยเทคนิคราชบุรี จังหวัดราชบุรี จัดกิจกรรมเพื่อใหครู นักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี เกิดความตระหนักและรําลึกถึง พระมหากรุณาธิคุณของพระมหากษัตริยไทย และสรางจิตสํานึกในการเสียสละเวลาแรงกาย แรงใจ อุทิศตนเพื่อสาธารณประโยชน ณ วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี ตําบลหนาเมือง อําเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี โดยไดรับเกียรติจากวิทยากรหลักสูตรจิตอาสา 904 “หลักสูตรหลักประจํา” รุน 2/61 “เปนเบา เปน แมพิมพ” มีผูเขารวมกิจกรรมทั้งหมด จํานวน 344 คน 2. กิจกรรมบําเพ็ญสาธารณประโยชน เพื่อเปนการแสดงออกถึงความจงรักภักดี และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย และสรางจิตสํานึกในการเสียสละเวลาแรงกาย แรงใจ อุทิศตนเพื่อสาธารณประโยชน จัดขึ้น ณ วัดพญาไม ตําบลโคกหมอ อําเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี และ สํานักงานศึกษาธิการภาค 3 ถนนไกรเพชร ตําบลหนาเมือง อําเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี ผลการดําเนินงานในแตละกิจกรรม 2. กิจกรรมบําเพ็ญสาธารณประโยชน “หลักสูตรหลักประจํา” รุน 2/61 “เปนเบา เปน แมพิมพ” มีผูเขารวมกิจกรรมทั้งหมด จํานวน 344 คน 3. กิจกรรมใหความรู เรื่อง “สถาบันพระมหากษัตริยกับประเทศไทย” และกิจกรรมบําเพ็ญประโยชน 2. กิจกรรมบําเพ็ญสาธารณประโยชน เพื่อเปนการแสดงออกถึงความจงรักภักดี และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย “หลักสูตรหลักประจํา” รุน 2/61 “เปนเบา เปน แมพิมพ” มีผูเขารวมกิจกรรมทั้งหมด จํานวน 344 คน 3. กิจกรรมใหความรู เรื่อง “สถาบันพระมหากษัตริยกับประเทศไทย” และกิจกรรมบําเพ็ญประโยชน เพื่อเปนการแสดงออกถึงความจงรักภักดี และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย 12 Rachawadee Journal


1) เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการคุณธรรมและความโปร่งใสในการปฏิบัติงาน ร่วมต่อต้าน การทุจริตและประพฤติมิชอบ 2) สร้างความตระหนักรู้ ปรับทัศนคติ และค่านิยมในการปฏิบัติงาน มีจิตส�านึกในความซื่อสัตย์สุจริต มีคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน 3) ยกระดับคุณธรรม และความโปร่งใสของบุคลากรส�านักงานศึกษาธิการภาค 3 1) บุคลากรของส�านักงานศึกษาธิการภาค 3 ที่เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริม คุณธรรมและความโปร่งใสในการปฏิบัติงานร่วมต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ ร้อยละ 100 2) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมตระหนักรู้ มีทัศนคติและค่านิยมในการปฏิบัติงาน มีจิตส�านึกในความซื่อสัตย์สุจริต มีคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน ร้อยละ 100 3) ข้อมูลองค์ประกอบของการเปิดเผยข้อมูลและการป้องกันการทุจริต ร้อยละ 100 วัตถุประสงค์การด�าเนินการ ผลการด�าเนินการ ส�านักงานศึกษาธิการภาค 3 ด�าเนินโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ ส�านักงานศึกษาธิการภาค 3 ส�านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ประกอบด้วย 3 กิจกรรมย่อย โดยมีกลุ่มเป้าหมายร่วมโครงการ คือ บุคลากร ส�านักงานศึกษาธิการภาค 3 ส�านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ประกอบด้วยกิจกรรมต่าง ๆ ดังนี้ 1. กิจกรรมประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสของหน่วยงานภาครัฐ โดยเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจให้บุคลากรภายในหน่วยงานทราบเกี่ยวกับ การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสของหน่วยงานภาครัฐ และจัดท�าข้อมูลส�าหรับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการด�าเนินงานของหน่วยงาน ภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ตามแบบตรวจการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment : OIT) และเผยแพร่ข้อมูลบนเว็บไซต์ www. reo3.moe.go.th รวมข้อมูลทั้งหมด 39 ข้อมูล โดยส�านักงาน ศึกษาธิการภาค 3 มีผลการประเมินฯ ในระดับ AA (คะแนน 95 – 100) และเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2563 ส�านักงานศึกษาธิการภาค 3 และได้รับรางวัล การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการด�าเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ส�าหรับส�านักงานศึกษาธิการภาคและส�านักงานศึกษาธิการจังหวัด (OPS ITA Awards) ประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 2. กิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้หลักสูตร “ปลุกจิตส�านึกปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสู่การยึดมั่น ความซื่อสัตย์สุจริต ส�านักงานศึกษาธิการภาค 3 เมื่อวันที่ 25 – 26 มิถุนายน 2563 ณ โรงแรมชูชัยบุรี ศรีอัมพวา อ�าเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม 3. กิจกรรมศึกษาหน่วยงานต้นแบบหน่วยงานต้นแบบแห่งการด�าเนินงานในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต และเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2563 ณ พิพิธภัณฑ์ต้านโกง ส�านักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร Rachawadee Journal 13


การติดตามการบริหารการจัดการศึกษาของสถานศึกษาสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ในพื้นที่สํานักงานศึกษาธิการภาค 3 ปงบประมาณ พ.ศ.2563 มีวัตถุประสงคเพื่อทราบ และรายงานผลการดําเนินงานการบริหารการจัดการศึกษา รวมทั้งปญหาอุปสรรค และขอเสนอแนะ ของสถานศึกษาสังกัดกระทรวงศึกษาธิการในพื้นที่สํานักงานศึกษาธิการภาค 3 การเก็บรวบรวมขอมูลเชิงคุณภาพโดยใชวิธีการสัมภาษณ ผูใหขอมูลประกอบดวย ผูบริหารโรงเรียน จํานวน 12 คน ครูผูสอน จํานวน 12 คน และนักเรียน จํานวน 30 คน รวมทั้งหมด 54 คน ขอบเขตดานเนื้อหา เปนการติดตามผลการดําเนิน งานการบริหารการจัดการศึกษาของสถานศึกษาสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ โครงการการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ เปนภาษาอังกฤษแบบ English Program/Mini English Program (EP/MEP) โดยนําเปาหมายตามยุทธศาสตรของแผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ยุทธศาสตรที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกชวงวัย และการสรางสังคมแหงการเรียนรู และนําจุดเนนเชิงนโยบายของรัฐมนตรี วาการกระทรวงศึกษาธิการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 มาเปนกรอบการติดตามและประเมินผลการบริหารการจัดการศึกษา การวิเคราะห ขอมูลโดยการนําขอมูลจากคําถามปลายเปด (Open–ended) มาวิเคราะหเชิงเนื้อหา (Content analysis) และนําเสนอรูปแบบความเรียง ผลการติดตามการบริหารการจัดการศึกษาของสถานศึกษาสังกัดกระทรวงศึกษาธิการในพื้นที่สํานักงานศึกษาธิการภาค 3 ปงบประมาณ พ.ศ.2563 ดังนี้ การบริหารการจัดการศึกษา โครงการการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ เปนภาษาอังกฤษแบบ English Program/Mini English Program ใชโครงสรางหลักสูตรรายวิชาโดยบูรณาการหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งสอดคลองกับบริบทของแตละพื้นที่ สภาพความพรอม แหลงทองเที่ยวในแตละพื้นที่ และสอดคลองกับความตองการของนักเรียน ผูปกครอง ชุมชน ตลอดจนทองถิ่น การจัดการเรียนการสอนเนนการใชทักษะภาษาตางประเทศในชีวิตประจําวันได สถานศึกษามีการจัดวิเคราะหปรับปรุง หลักสูตรโดยบุคลากรประจําหลักสูตรและคณะกรรมการที่เกี่ยวของ เชน ผูทรงคุณวุฒิ ครู ผูปกครอง นักเรียน ไดนําแนวทางของหลักสูตรที่ใช อยูมาปรับปรุงเนื้อหา การจัดการเรียนการสอน กิจกรรมและสื่อตางๆ ใหสอดคลองกับสถานการณปจจุบัน การจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมเสริมหลักสูตร การจัดการเรียนการสอนเปนไปตามแนวทางที่สํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ กําหนด ครูผูสอนจัดกิจกรรม การเรียนการสอนตามโครงสรางหลักสูตร จํานวนครูผูสอนชาวตางประเทศ และครูชาวไทย เหมาะสมกับจํานวนนักเรียน จํานวนนักเรียนตอหองเรียนไมเกิน 30 คนตอหองเรียน ครูชาวตางประเทศมีจรรยาบรรณ ความเปนครู มีความใสใจผูเรียน เปดโอกาสใหนักเรียนซักถามเพิ่มเติมทั้งในชั่วโมงเรียน และนอกเวลาเรียน มีการใชแอพลิเคชั่นรับสงขอความทั้งแบบกลุมและ สงแบบสวนตัว หรือสื่อออนไลนใหนักเรียนติดตอได นักเรียนไดเขารวมกิจกรรมเสริมหลักสูตรกับทางโรงเรียนเชนเดียวกับนักเรียนโครงการปกติ ครูและเพื่อนรวมชั้นเรียนมีการชวยเหลือกัน สามารถนําเพื่อนที่เขาใจบทเรียนไดชาใหเรียนไดทันไปพรอมกัน 14 Rachawadee Journal


ผลการเรียนและความพึงพอใจของนักเรียน จากการติดตามพบวากอนเขาเรียนในโครงการ English Program/Mini English Program นักเรียนสวนใหญมีทักษะดานการฟง การพูดในระดับดี และทักษะดานการอาน การเขียนในระดับปานกลาง เมื่อนักเรียนไดเขาเรียนในโครงการ English Program/Mini English Program แลว ทักษะดานการฟง การพูด การอาน และการเขียน อยูในระดับที่ดีขึ้นทุกดานเมื่อเทียบกับกอน เขาเรียน ดานผลการเรียนของนักเรียน วิชาที่นักเรียนมีผลการเรียนดีขึ้น คือ วิชาทางดานภาษา เชน ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ฯลฯ และวิชาที่ นักเรียนมีผลการเรียนในระดับที่ลดลง คือ วิชาที่มีเนื้อหาที่ตองทองจํามาก เชน วิชาสังคมศึกษา พระพุทธศาสนา ประวัติศาสตร ศิลปศึกษา เนื่องจากมีความยากในเนื้อหาที่มีมากและตองอาศัยการทองจํา หรือเนื่องจากมีคําศัพทเฉพาะในวิชา เชน วิชาวิทยาศาสตร วิชาคณิตศาสตร ความพึงพอใจของนักเรียน จากการเรียนการสอนที่ครูเปดโอกาสใหนักเรียนทุกคนไดพูด โดยใหมีการนําเสนอเปนภาษาอังกฤษ หนาชั้นเรียนเปนรายบุคคลทุกวัน นักเรียนสวนใหญมีความมั่นใจกับการใชภาษาอังกฤษมากยิ่งขึ้น ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นคือนักเรียนมีความสนใจ ในเรื่องการเรียน การศึกษาตอ เรื่องอาชีพในอนาคต ฯลฯ ซึ่งหากนักเรียนไมไดเขาเรียนโครงการ English Program/Mini English Program แลวนั้น อาจทําใหไมใสใจในเรื่องการเรียน หรืออาจไมมีความคิดที่จะไปศึกษาตอตางประเทศ ความพึงพอใจของผูปกครอง ผลจากการติดตาม พบวา ผูปกครองเห็นวาเนื่องจากในพื้นที่มีสถานที่ทองเที่ยวหลากหลายใหชาวไทยและชาวตางชาติมาเยี่ยมชม ธุรกิจดานการทองเที่ยวที่มีแนวโนม ที่ดี ผูปกครองจึงเห็นวาในอนาคต ครอบครัวหรือบุตรหลานอาจประกอบอาชีพดานการทองเที่ยว หรือเปนมัคคุเทศก จึงมีความตองการให นักเรียนไดเขาเรียนในหลักสูตรภาษาอังกฤษ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตอสถานศึกษาและผูปกครอง พบวานักเรียนโครงการ English Program/Mini English Program รอยละ 100 มีความเขาใจ ความมั่นใจ ความกลาในการใชภาษาอังกฤษ มีความโดดเดนในการสื่อสารกับชาวตางชาติไดอยางมั่นใจ สามารถเขาแขงขัน โครงการตาง ๆ และไดผลการแขงขันในลําดับที่ดี นักเรียนมีเจตคติที่ดีตอการเรียนการสอนในโครงการ English Program/Mini English Program นักเรียนมีผลการทดสอบตามกรอบมาตรฐานการประเมินความสามารถทางภาษาจากประเทศในกลุมสหภาพยุโรป (Common European Framework of Reference : CEFR) ในระดับสูง ผลการทดสอบการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Education Test: O-NET) ผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผูเรียนระดับชาติ (National Test : NT) อยูในระดับสูง ผูปกครองใหการยอมรับและชื่นชอบ ในการจัดการเรียนการสอนตามโครงการ English Program/Mini English Program ใหความสําคัญ ยอมรับและชื่นชอบการจัดการเรียน การสอนตามโครงการ English Program/Mini English Program ในระดับมากที่สุด ขอเสนอแนะ หนวยงานตนสังกัดควรมีระบบสนับสนุนครูชาวตางประเทศใหกับ โรงเรียนตามโครงการ English Program/Mini English Program เชน สํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) เปนผูจางครูชาวตางประเทศที่มีคุณวุฒิ ตรงตามเกณฑกําหนด และจัดสงครูชาวตางชาติมาสอนใหกับทางโรงเรียนที่มีความตองการ ครูและควรมีศึกษานิเทศกดานภาษาอังกฤษสําหรับการติดตาม สงเสริมและสนับสนุน การจัดการเรียนการสอน ในโครงการ English Program/Mini English Program โดยเฉพาะ ขอเสนอแนะจากนักเรียน นักเรียนตองการใหสถานศึกษามีการแนะแนว ขอสอบที่มีโจทยภาษาไทย เนื่องจากเมื่อพบโจทยขอสอบเปนภาษาไทย ทําใหเกิด ความสับสนหรือไมเขาใจและทําขอสอบไดชา และตองการใหมีครูจากหลายประเทศ เพื่อไดมีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม อีกทั้งยังตองการเพิ่มเติมการเรียนหรือใหความรู ภาษาที่สาม Rachawadee Journal 15


1. เพื่อกํากับ ดูแล เรงรัด ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของขาราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบของสํานักงานศึกษาธิการภาค 3 ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ใหเปนไปตามเปาหมาย และบรรลุตามวัตถุประสงค 2. เพื่อใหทราบผลการปฏิบัติงาน ปญหาและอุปสรรคในการดําเนินงานดานการบริหารงานบุคคลของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด ในพื้นที่รับผิดชอบ 3. เพื่อสรางขวัญและกําลังใจ สรางความเขมแข็งใหกับเจาหนาที่กลุมบริหารงานบุคคลของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดในพื้นที่ รับผิดชอบ ประกอบดวยจังหวัดราชบุรี กาญจนบุรี และสุพรรณบุรี - ติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาของสํานักงาน ศึกษาธิการจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบของสํานักงานศึกษาธิการภาค 3 ไดแก - การติดตามการสอบคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุและแตงตั้งใหดํารงตําแหนงรองผูอํานวยการสถานศึกษา สังกัดสํานักงานคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ป พ.ศ. 2563 ไดแก สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดกาญจนบุรี สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดกาญจนบุรี สนามสอบโรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี สนามสอบโรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรีจังหวัดราชบุรี สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดสุพรรณบุรี สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดสุพรรณบุรี สนามสอบโรงเรียนอนุบาลวัดปาเลไลยก จังหวัดสุพรรณบุรี ผลการดําเนินงาน วัตถุประสงค 16 Rachawadee Journal


- การติดตามการสอบคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุและแตงตั้งเขารับราชการเปนขาราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ตําแหนง ครูผูชวย กรณีที่มีความจําเปนหรือมีเหตุพิเศษ สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ป พ.ศ. 2563 ไดแก - การติดตามและกํากับดูแลการสอบแขงขันเพื่อบรรจุและแตงตั้งเขารับราชการเปนขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตําแหนงครูผูชวย สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ป พ.ศ. 2563 ไดแก - การติดตามการสอบคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุและแตงตั้งใหดํารงตําแหนงผูอํานวยการสถานศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ป พ.ศ. 2563 ไดแก สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดกาญจนบุรี สนามสอบโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระศรีนครินทร กาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดกาญจนบุรี สนามสอบโรงเรียนวิสุทธรังษี จังหวัดกาญจนบุรี สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดกาญจนบุรี สนามสอบโรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี สนามสอบโรงเรียนอนุบาลราชบุรี จังหวัดราชบุรี สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดกาญจนบุรี สนามสอบโรงเรียนกาญจนานุเคราะห จังหวัดกาญจนบุรี สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี สนามสอบโรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดราชบุรี สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดสุพรรณบุรี สนามสอบโรงเรียนอนุบาลวัดปาเลไลยก จังหวัดสุพรรณบุรี สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี สนามสอบโรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดราชบุรี สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดสุพรรณบุรี สนามสอบโรงเรียนอนุบาลวัดปาเลไลยก จังหวัดสุพรรณบุรี Rachawadee Journal 17


ในปที่ผานมา ประเทศไทยตองพบกับการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โควิด -19 ซึ่งสถานการณดูเหมือน จะดีขึ้นเรื่อยๆ แตแลวก็ตองแยลงอีกครั้ง และแยลงกวาเดิม เพราะครั้งนี้เปน “การแพรระบาดระลอกใหม” ระบาดระลอกใหม เปนศัพทเชิงวิชาการ หมายถึง การแพรระบาดจากกลุมกอนหนึ่ง ซึ่งหมายถึงแรงงานตางดาว ไมไดมีการเชื่อมโยง กับการระบาดในระลอกแรก ในสถานการณปจจุบันมีการแพรเชื้อไปเปนวงกวางทั่วประเทศไทย ซึ่งในขณะนี้ผูที่เกี่ยวของทางดานสาธารณสุขไดปฏิบัติงาน อยางเขมแข็ง เพื่อรักษาผูปวย และปองกันการแพรกระจายของเชื้อไวรัสดังกลาว สิ่งที่ทุกคนทําไดดีที่สุดในขณะนี้ คือการดูแลตัวเอง กรมควบคุมโรค จึงแนะนําใหประชาชนปองกันตนเอง โดยยึดหลัก D-M-H-T-T ไดแก • D : Social Distancing เวนระยะหาง 1-2 เมตร เลี่ยงการอยูในที่แออัด • M : Mask Wearing สวมหนากากผาหรือหนากากอนามัยตลอดเวลา • H : Hand Washing ลางมือบอยๆ ดวยนํ้าและสบู หรือเจลแอลกอฮอล • T : Testing การตรวจวัดอุณหภูมิและตรวจหาเชื้อโควิด 19 ในกรณีที่มีอาการเขาขาย • T: Thai Cha Na สแกนไทยชนะกอนเขา-ออกสถานที่สาธารณะทุกครั้ง เพื่อใหมีขอมูลในการประสานงานไดงายขึ้น หากทุกคนดูแลตัวเองใหดี ทําตามวิธีการปองกันอยางถูกตองและเหมาะสม หมั่นสังเกตอาการตัวเอง จะเปนตัวชวยที่ดีมาก ในการยับยั้งการแพรเชื้อไปสูคนรอบขาง ทําใหลดการเกิดผูติดเชื้อในวงกวางได และเราจะสามารถกาวขามสถานการณนี้ไดอยางดี และปลอดภัยกับทุกคนทุกฝาย ขอมูลจาก กรมควบคุมโรค 18 Rachawadee Journal


Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.