SVI Safety Manual Flipbook PDF


17 downloads 102 Views 22MB Size

Recommend Stories


DICCIONARIO MANUAL TEOLOGICO PDF
Get Instant Access to eBook Diccionario Manual Teologico PDF at Our Huge Library DICCIONARIO MANUAL TEOLOGICO PDF ==> Download: DICCIONARIO MANUAL TE

STC-200. MANUAL DE AJUSTE PDF disponible en
    Act   Link Act  Act  2x DVB-S/S2  1x DVB-T TRANSMODULATOR Link  Link 

ABBYY PDF Transformer+ Manual del administrador del sistema
ABBYY® PDF Transformer+ Manual del administrador del sistema © 2013 ABBYY Production LLC. Todos los derechos reservados. La información contenida e

Story Transcript

คู่มือความปลอดภัย SAFETY MANUAL หลักสูตรความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท างาน จัดท าโดย หน่วยงานความปลอดภัยในการท างาน บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน)


บทนำ “ปลอดภัยไว้ก่อน” เป็ นค ากล่าวที่ทุกท่านได้ยินได้ฟังโดยทั่วไป แต่ส าหรับ “ความปลอดภัยในการ ท างาน” นั้น เป็ นค ากล่าวที่มาพร้อมความตระหนัก ความรับผิดชอบ และหน้าที่ของหัวหน้างาน และพนักงานทุก คน ซึ่งความปลอดภัยในการท างานนั้น จะรักษาชีวิต ร่างกาย จิตใจ และสุขภาพ รวมทั้งยกระดับคุณภาพชีวิตของ พนักงานและเป็ นความอยู่รอดขององค์กร ควบคู่กับคุณธรรมที่ผู้บริหารพึงมอบให้แก่ผู้ปฏิบัติงานของตนเอง รวมถึงการรักษาทรัพย์สิน และความสูญเสียที่เกิดขึ้นจากอุบัติภัยทั้งปวงด้วย บริษัทฯ ตระหนักถึงความปลอดภัยของพนักงานทุกคน จึงได้จัดท าคู่มือความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการท างานขึ้น เพื่อมุ่งหวังให้พนักงานทุกคนมีความปลอดภัยในการท างาน และเพื่อย ้าเตือนถึง รับผิดชอบในเรื่องของความปลอดภัยต่อตัวพนักงานเอง และเพื่อนร่วมงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งพนักงานงานภายใต้ การบังคับบัญชาของหัวหน้างานทุกคน ซึ่งเป็ นความรับผิดชอบโดยรวมของความรับผิดชอบต่อองค์กรของเรา นั่นเอง ตลอดจนการดูแลและการปฏิบัติตามหน้าที่ซึ่งกันและกัน เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการท างานอันจะ น าไปสู่คุณภาพชีวิตในการท างานที่ดีต่อไป สุดท้ายนี้ ขอให้พนักงานทุกท่านศึกษาคู่มือ และน าไปปฏิบัติตามเพื่อความปลอดภัยของท่าน ในการ ปฏิบัติงานและการด าเนินชีวิตประจ าวัน ขอขอบคุณคณะผู้บริหาร ที่ให้การสนับสนุนและผลักดันในด้านความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท างานด้วยดีตลอดมา ขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ แผนกความปลอดภัย


สารบัญ 1.นโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการท างาน 2 2. ค าจ ากัดความที่เกี่ยวข้อง 3 3. อุบัติเหตุจากการท างาน 5 4. การเจ็บป่วยจากสภาพแวดล้อมในการท างาน 5. การป้องกันอุบัติเหตุและการเจ็บป่วยจากการท างาน 8 9 30 54 14 6. การบริหาร จัดการ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการท างาน 7. ความปลอดภัยในการท างานตามลักษณะงาน 8. ป้ ายหรือสัญลักษณ์ความปลอดภัย 9. อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล 10. แผนป้ องกันและระงับเหตุฉุกเฉิน 19 51


คู่มือความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท างาน บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) 1 1.วัตถ ุประสงค์ เพื่อที่จะพัฒนาการด าเนินงานทางด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยตลอดจนสอดคล้องตาม กฎหมายและข้อก าหนดต่างๆที่เกี่ยวข้องโดยจะอบรมพัฒนาอย่างต่อเนื่องและเพื่อส่งเสริมให้พนักงาน ปฎิบัติงานด้วยความปลอด ตลอดจนการลดการประสบอันตรายจากการท างาน 2.ขอบเขต ใช้ส าหรับการอบรมความปลอดภัยให้กับพนักงาน ตลอดจนการส่งเสริมให้พนักงานปฎิบัติงานด้วย ความปลอดภัย ภายในบริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) 3.หน้าที่ความรับผิดชอบ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท างาน มีหน้าที่จัดท าและปรับปรุงคู่มือความปลอดภัยให้เป็ นปัจจุบัน และสอดคล้องกับข้อก าหนดของกฎหมายและข้อก าหนดอื่นๆ พนักงานและผู้มาติดต่อ มีหน้าที่ปฎิบัติตามคู่มือความปลอดภัย 4.วันที่มีผลบังคับใช้ 10 พฤษภาคม 2565


2 1.นโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท างาน บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) นโยบายอาชีวอนามยัความปลอดภยัและสิ่งแวดล้อม “ส่งเสริมความปลอดภยัในที่ทา งานและชุมชน” บริษัท เอสวีไอ, และกลุ่มบริษัทในเครือฯ มีความมุ่งมั่นอย่างยิ่งต่อภาระหน้าที่ของบริษัท ในการพัฒนา ระบบการจัดการ อาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง โดยมุ่งเน้นให้มีการบริการจัดการ สภาพแวดล้อมในการท างานของพนักงานให้มีความปลอดภัย เพื่อป้องกันการบาดเจ็บ, การเจ็บป่วยจากการ ท างาน, และปัจจัยด้านสังคมต่างๆ (ปริมาณงาน, ชั่วโมงการท างาน, การใส่ร้าย และการล่วงละเมิด) พร้อมทั้ง การดูแลสุขภาพและเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีให้กับ ชุมชน, ประเทศ และสังคมโลก โดยเราจะปฏิบัติตามสิ่ง เหล่านี้ 1. ปฏิบัติตามกฎหมาย, กฎระเบียบ, ข้อบังคับ และข้อก าหนดอื่น ทั้งระดับท้องถิ่นและระดับประเทศที่เกี่ยวข้อง กับอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม นอกเหนือจากที่ระบุไว้ในจรรยาบรรณของบริษัทฯ 2. ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการพัฒนาและปรับปรุงสภาพแวดล้อมการท างาน และวิธีการปฏิบัติงานที่ปลอดภัย โดยจัดหาเครื่องมืออุปกรณ์ให้เพียงพอกับสภาพการท างาน และจูงใจให้พนักงานได้ตระหนักถึงอันตรายต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นในการท างานเหล่านั้นด้วย 3. บริหารจัดการการใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชน์สูงสุด จัดหาวัสดุทดแทนเพื่อลดความเสี่ยงและ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม โดยให้การสนับสนุนทรัพยากรที่จ าเป็น เพื่อให้บรรลุเป้าหมายฯ 4. ก าหนดและท าให้บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของระบบการจัดการอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและ สิ่งแวดล้อม 5. มุ่งเน้นในด้านการให้ค าปรึกษาและให้ความส าคัญในการมีส่วนร่วมของผู้ปฏิบัติงาน และตัวแทนของ ผู้ปฏิบัติงานอย่างเหมาะสม 6. รวบรวมทุกกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม สุขภาพและความปลอดภัยไว้ใน โครงการความรับผิดชอบต่อ สังคมขององค์กร (Corporate Social Responsibilities: CSR) ของทุกบริษัทในเครือ SVI ทั่วโลก พวกเราชาว SVI มีความตระหนักถึงการเสริมสร้างจิตส านึกในความรับผิดชอบด้านอาชีวอนามัย ความ ปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งปกป้องสิ่งแวดล้อมในสภาพปัจจุบันและอนาคต.


3 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) 2.คำจำกัดความที่เกี่ยวข้อง (1) พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท างาน พ.ศ.2554 ได้ให้จ ากัดความของค าว่า ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท างาน หมายถึง การกระท าหรือสภาพการ ท างานซึ่งปลอดจากเหตุอันจะท าให้เกิดการประสบอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย จิตใจหรือสุขภาพอนามัย อันเนื่องจากการท างานหรือเกี่ยวกับการท างาน โดยทั่วไปค าว่า ความปลอดภัยในการท างาน หรือความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยในการ ท างาน (Safety and Health at Work) หรืออาชีวอนามัยและความปลอดภัย(Occupational Health and Safety) หรือความปลอดภัยและอาชีวอนามัย (Occupational Safety and Health) หรือความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท างาน ล้วนมีความหมายเหมือนกันคือ หมายถึง ความ ปลอดภัยและสุขภาพอนามัยในการท างานของลูกจ้าง นายจ้าง หมายถึง นายจ้างตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานและให้หมายความ รวมถึงผู้ประกอบกิจการซึ่งยอมให้บุคคลหนึ่งบุคคลใดมาท างานหรือท าผลประโยชน์ให้หรือในสถาน ประกอบกิจการ ไม่ว่าการท างานหรือการท าผลประโยชน์นั้นจะเป็นส่วนหนึ่งส่วนใดหรือทั้งหมดใน กระบวนการผลิตหรือธุรกิจในความรับผิดชอบของผู้ประกอบกิจการนั้นหรือไม่ก็ตาม ลูกจ้าง หมายถึง ลูกจ้างตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานและให้หมายความรวมถึงผู้ซึ่งได้รับ ความยินยอมให้ท างานหรือท าผลประโยชน์หรือในสถานประกอบกิจการของนายจ้างไม่ว่าจะเรียกชื่อ อย่างไรก้ตาม เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท างาน หมายถึง ลูกจ้างซึ่งนายจ้างแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ด้านความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท างาน (2) พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 ได้ให้ค าจ ากัดความ ประสบอันตราย หมายถึง การที่ลูกจ้างได้รับอันตรายแก่กายหรือผลกระทบแก่จิตใจหรือถึงแก่ ความตายเนื่องจากการท างาน หรือป้องกันรักษาประโยชน์ให้แก่นายจ้างหรือตามค าสั่งของนายจ้าง เจ็บป่วย หมายถึง การที่ลูกจ้างเจ็บป่วยหรือถึงแก่ความตายด้วยโรคซึ่งเกิดขึ้นตามลักษณะ หรือสภาพของงาน หรือเนื่องจากการท างาน


4 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) โดยทั่วไป การประสบอันตรายจากการท างาน มีความหมายครอบคลุมถึงการเกิดอุบัตเหตุจาก การท างาน การเจ็บป่วย การเกิดโรคจากการท างาน และการเกิดโรคอันเกี่ยวเนื่องจากการท างาน ทั้งนี้ การเจ็บป่วยจากการท างานมีสาเหตุมาจากสภาพแวดล้อมการท างานและท่าทางการท างาน เช่น ปวดหลังจากการยกของผิดวิธีอาการตาล้าจากการท างาน เป็นต้น ส่วนโรคจากการท างาน หรือ โรคจากการประกอบอาชีพ หมายถึง โรคที่เกิดจากปัจจัยจากการท างานโดยตรง เช่น หูตึงจากเสียง ดังในโรงงานปั๊มโลหะ โรคปอดฝนทรายในโรงงานโม่บดหิน เป็นต้น (3) มาตรฐานระบบการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการท างาน (สสปท.1-4-01-00-2562) ได้ให้ค าจ ากัดความของค าว่า อันตราย หมายถึง สภาวการณ์ที่มีเหตุอันจะท าใหเกิดความสูญเสีย อุบัติเหตุ หมายถึง เหตุการณ์ที่ไม่มีผู้ใดตั้งใจให้เกิด เมื่อเกิดขึ้นแล้วมีผลให้เกิดการบาดเจ็บ หรือเสียชีวิต หรือทรัพยสินเสียหาย เหตุการณ์เกือบเกิดเป็นอุบัติเหตุ หมายถึง เหตุการณ์ที่ไม่มีผู้ใดตั้งใจให้เกิด เมื่อเกิดขึ้น แล้วไม่มีผลให้เกิดการบาดเจ็บ หรือเสียชีวิต หรือทรัพยสินเสียหาย ความสูญเสีย หมายถึง การบาดเจ็บ หรือเสียชีวิต หรือทรัพย์สินเสียหาย หรือเจ็บป่วยหรือเป็นโรค ความเสี่ยง หมายถึง ระดับของอันตรายที่บ่งบอกว่ายอมรับได้หรือยอมรับไม่ได้ ระเบียบการปฏิบัติงาน หมายถึง การอธิบายภาพรวมของการท างานในกระบวนการท างานว่า เกี่ยวข้องกับอะไร ใคร เมื่อไหร่ ที่ไหน อย่างไร มีเอกสารอะไรบ้างที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงาน หมายถึง การอธิบายว่าแต่ละขั้นตอนงานมีรายละเอียดการปฏิบัติ งานอยางไร


5 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) 3. อุบัต ิ เหตุจากการ ท างาน จากนิยามค าว่าอุบัติเหตุหมายถึง เหตุการณ์ที่ไม่มีผู้ใดตั้งใจให้เกิด เมื่อเกิดขึ้นแล้วมีผลให้ เกิดการบาดเจ็บ หรือเสียชีวิต หรือทรัพย์สินเสียหาย ในที่นี่จะกล่าวถึงอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจากการ ท างานเท่านั้น เช่น ลูกจ้างตกจากที่สูงขณะท างานบนหลังคา ลูกจ้างถูกใบเลื่อยบาดขณะเลื่อยไม้ ลูกจ้างถูกสารเคมีกระเด็นเข้าตาขณะผสมสารเคมีเป็นต้น 2.1 สาเหตุของอุบัติเหตุ การเกิดอุบัติเหตุที่ท าให้เกิดการบาดเจ็บและความเสียหายต่าง ๆ เป็นผลที่สืบเนื่อง โดยตรงมาจากการกระท าที่ไม่ปลอดภัย และ/หรือสภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย ได้แก่ (1) การกระท าที่ไม่ปลอดภัย เป็นการกระท าของผู้ปฏิบัติงานในขณะท างาน ซึ่งอาจ จะก่อให้เกิดอุบัติเหตุได้ตัวอย่างเช่น 1) ใช้เครื่องจักร เครื่องกล เครื่องมือ หรืออุปกรณ์ต่าง ๆ โดยพลการหรือโดยไม่ได้ รับมอบหมาย 2 3 4 5 6 7 8 9 1 ) ท างานเร็วเกินสมควรและใช้เครื่องจักรในอัตราที่เร็วเกินก าหนด ) ซ่อมแซมหรือบ ารุงรักษาในขณะที่เครื่องยนต์ก าลังหมุน ) ถอดอุปกรณ์ความปลอดภัยจากเครื่องจักรโดยไม่มีเหตุอันสมควร ) หยอกล้อกันในขณะท างาน ) ท างานในที่ที่ไม่ปลอดภัย ) ใช้เครื่องมือที่ช ารุดหรือไม่ถูกวิธี ) ยกหรือเคลื่อนย้ายวัสดุด้วยท่าทางหรือวิธีการที่ไม่ปลอดภัย ) ไม่สวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่จัดให้ 0) ไม่ปฏิบัติตามข้อบังคับ ข้อห้าม ป้ายหรือสัญลักษณ์เตือนต่าง ๆ


6 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) (2) สภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย เป็นสภาพแวดล้อมที่อยู่รอบๆ ตัวผู้ปฏิบัติงานในขณะ ท างานซึ่งอาจเป็นสาเหตุก่อให้เกิดอุบัติเหตุได้ตัวอย่างเช่น 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ) ไม่มีที่ครอบหรือการ์ดปิดคลุมส่วนที่หมุนได้และส่วนส่งถ่ายก าลังของเครื่องจักร ) ที่ครอบหรือการ์ดของเครื่องจักรไม่ปลอดภัยหรือไม่เหมาะสม ) เครื่องจักร เครื่องมือที่ใช้มีการออกแบบที่ไม่เหมาะสม ) บริเวณพื้นที่ท างานลื่น ขรุขระ หรือสกปรก ) บริเวณที่ท างานมีการวางของไม่เป็นระเบียบ กีดขวางทางเดิน ) การกองวัสดุสูงเกินไป หรือการซ้อนวัสดุไม่ถูกวิธี ) การจัดเก็บสารเคมีสารไวไฟต่างๆ ไม่เหมาะสม ) แสงสว่างไม่เหมาะสม เช่น แสงอาจสว่างไม่เพียงพอ หรือแสงจ้าเกินไป เป็นต้น ) ไม่มีระบบการระบายและถ่ายเทอากาศที่เหมาะสม 2.2 ความสูญเสียจากการเกิดอุบัติเหตุ ความสูญเสียหรือค่าใช้จ่ายอันเนื่องมาจากอุบัติเหตุจากการท างาน อาจแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้ (1) ความสูญเสียทางตรง หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับผู้ประสบอุบัติเหตุโดยตรง ได้แก่ 1) ค่ารักษาพยาบาล 2) ค่าทดแทน 3) ค่าท าขวัญ ค่าท าศพ 4) ค่าประกันชีวิต


7 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) (2) ความสูญเสียทางอ้อม หมายถึง ค่าใช้จ่ายอื่นๆ (ซึ่งส่วนใหญ่จะค านวณเป็นตัวเงินได้ยาก) นอกเหนือจากค่าใช้จ่ายจากความสูญเสียทางตรง ได้แก่ 1) การสูญเสียเวลาท างานของ ก. ผู้ปฏิบัติงานที่ได้รับบาดเจ็บ เพื่อรักษาพยาบาล ข. ผู้ปฏิบัติงานอื่นที่ต้องหยุดงานชั่วคราว เนื่องจาก - การช่วยเหลือผู้บาดเจ็บโดยการปฐมพยาบาล หรือน าส่งโรงพยาบาลความอยากรู้ อยากเห็น การวิพากษ์วิจารณ์ - ความตื่นตระหนก ตกใจ และเสียขวัญ ค. หัวหน้างานหรือผู้บังคับบัญชา เนื่องจาก - การช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ - การสอบสวนหาสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ - การบันทึกและจดท ารายงานการเกิดอุบัติเหตุ - การจัดหาและฝึกสอนผู้ปฏิบัติงานอื่นให้เข้าท างานแทนผู้บาดเจ็บ - การแก้ไขและป้องกันอุบัติเหตุไม่ให้เกิดขึ้นซ ้าอีก 2) ค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมเครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์ที่ได้รับความเสียหาย 3) วัตถุดิบหรือสินค้าที่ได้รับความเสียหายต้องทิ้ง ท าลาย หรือขายทิ้ง 4) ผลผลิตลดลง เนื่องจากกระบวนการผลิตขัดข้อง ต้องหยุดชะงัก 5) ค่าสวัสดิการต่างๆ ของผู้บาดเจ็บ 6) สถานประกอบกิจการต้องจ่ายค่าจ้างให้แก่ผู้บาดเจ็บตามปกติแม้จะท างานได้ ไม่เต็มที่ หรือต้องหยุดท างาน 7) การสูญเสียโอกาสทางการค้า เช่น ผลผลิตลดลง ท างานไม่ได้ตามเป้าหมาย เป็นต้น 8) การเสียชื่อเสียง และภาพลักษณ์ของสถานประกอบกิจการ 9) ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ดต่างๆ เช่น ค่าเช่า ค่าไฟฟ้า ค่าน ้าประปา และค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่ สถานประกอบกิจการยังคงต้องจ่ายตามปกติแม้ว่าจะต้องหยุด หรือปิดกิจการในกรณี เกิดอุบัตเหตุร้ายแรง นอกจากนี้ผู้ประสบอุบัติเหตุที่ได้รับบาดเจ็บจนถึงขึ้นพิการหรือทุพพลภาพไม่สามารถกลับเข้าสู่ กระบวนการท างานดั้งเดิมได้ท าให้ไม่สามารถด ารงชีวิตได้ตามปกติกลายเป็นภาระของสังคมที่ต้อง รับผิดชอบดูแลร่วมกัน ดังนั้นความสูญเสียทางอ้อมนั้นมีมูลค่ามากกว่าความสูญเสียทางตรง ซึ่งปกติ เรามักจะไม่ค านึงถึงความสูญเสียดังกล่าว


8 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) 4. การเจ็บป่วยจากสภาพแวดล้อมในการท างาน 3.1 สภาพแวดล้อมในการท างานที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ สภาพแวดล้อมในการท างานที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ หมายถึง สิ่งหรือสภาพต่างๆ ที่อยู่ รอบตัวผู้ปฏิบัติงาน เช่น ความร้อน ความเย็น แสงสว่าง เสียงดัง ความสั่นสะเทือน รังสีก๊าซ ไอสาร ฝน ฟูม ละออง สารเคมีเชื้อโรค และสัตว์ต่างๆ นอกจากนี้ยังรวมถึงสภาพการท างานที่ซ ้าซาก การ เร่งรีบท างาน การท างานล่วงเวลา สัมพันธภาพระหว่างเพื่อนร่วมงาน ค่าตอบแทน และชั่วโมงการ ท างาน เป็นต้น ความไม่เหมาะสมของสภาพแวดล้อมในการท างาน นับว่าเป็นปัจจัยที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ในการก่อให้เกิดการเจ็บป่วยจากการท างานได้ สภาพแวดล้อมในการท างานที่อยู่รอบตัวผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งอาจท าให้เกิดการเจ็บป่วย หรือโรค จากการท างาน แบ่งเป็น 5 กลุ่ม ได้แก่สภาพแวดล้อมทางกายภาพ ทางเคมีทางชีวภาพ ทางการยศาสตร์ และทางจิตวิทยาสังคม ดังภาพที่1 ภาพที่1 : สภาพแวดล้อมในการท างานที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ


9 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) (1) สภาพแวดล้อมทางกายภาพ เช่น ความร้อน ความเย็น แสงสว่าง เสียงดัง ความสั่นสะเทือน รังสีและความกดดันบรรยากาศ เป็นต้น (2) สภาพแวด้ลอมทางเคมีเช่น สารเคมีชนิดต่างๆ ที่เป็นวัตถุดิบ หรือผลผลิต หรือของเสียที่ต้องก าจัด โดยทั่วไปสารเคมีดังกล่าวอาจจะอยู่ในรูป ก๊าซ ไอสาร ฝุ่น ฟูม ควัน ละออง หรืออยู่ในรูปของเหลว ตัวอย่างสารเคมีเช่น ก๊าซคาร์บอนมอนนอกไซด์ตะกั่ว แมงกานีส ปรอท เบนซิน คาร์บอนเตตระคลอไรด์แอสเบสตอส (ใยหนู) เป็นต้น สารเคมีเหล่านี้อาจเข้าสู่ร่างกาย โดยการหายใจ การกิน หรือการดูดซึมผ่านทางผิวหนังของผู้ปฏิบัติงาน ปริมาณของสารเคมี นับว่ามีบทบาทอย่างมากที่ส่งผลให้เกิดโรคจากการท างานช้าหรือเร็ว ถ้าหากผู้ปฏิบัติงาน ได้รับสารเคมีในปริมาณที่สูงมาก การเกิดโรคจะเห็นได้ชัดในระยะเวลาอันสั้น แต่ถ้าได้รับในปริมาณ ไม่มากนัก การเกิดโรคก็จะใช้เวลานาน (3) สภาพแวดล้อมทางชีวภาพ เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เชื้อรา ไร้ฝุ่น พยาธิและสัตว์อื่น ๆ เช่น ยุง หนูงูเป็นต้น (4) สภาพแวดล้อมทางการยศาสตร์เช่น การท างานที่มีท่าทางการท างานที่ไม่เหมาะสม การก้มยกย้ายของผิดวิธีการบิดเอียวตัว การท างานซ ้าซาก การท างานหนักเกินขีดความสามารถ ของผู้ปฏิบัติงาน การท างานที่สถานงานมีระดับความสูงไม่เหมาะสมกับความสูงของผู้ปฏิบัติงาน เป็นต้น (5) สภาพแวดล้อมทางจิตวิทยาสังคม เช่น งานที่ก่อให้เกิดความเครียดต่อจิตใจ ที่เกิดจากการท างานแข่งกับเวลาต้องท างานด้วยความเร่งรีบ การท างานกะ การได้รับค่าจ้าง ที่ไม่เหมาะสม สัมพันธภาพระหว่างผู้ปฏิบัติงาน เป็นต้น จากการที่ผู้ปฏิบัติงานต้องท างานในสภาพแวดล้อมในการท างานที่ไม่เหมาะสม อาจเป็นผลท าให้เกิดการเจ็บป่วยหรือเกิดโรคจากการท างานขึ้น เมื่อเกิดการเจ็บป่วย ผู้ปฏิบัติงาน นั้นอาจได้รับการตรวจวินิจฉัย รักษาพยาบาล และฟื้นฟูสภาพให้หายได้แต่เมื่อผู้ปฏิบัติงานนั้น กลับเขาท างานในสภาพแวดล้อมการท างานที่ไม่เหมาะสมเช่นเดิมอีก ผู้ปฏิบัติงานนั้นก็อาจได้รับ อันตรายท านองเดียวกับที่เกิดขึ้นแล้วไม่มีที่สิ้นสุดดังภาพที่ 2 ภาพที่2 : วงจรสัมพันธระหว่างสภาพแวดล้อมในการท างานและผู้ปฏิบัติงาน


10 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) 3.2 องค์ประกอบที่ท าให้เกิดการเจ็บป่วย/โรคจากการท างาน องค์ประกอบหลักที่ท าให้เกิดอาการเจ็บป่วย และ/หรือโรคจากการท างาน มี3 ปัจจัย ได้แก่ (1) ผู้ปฏิบัติงาน ปัจจัยที่เกี่ยวกับตัวผู้ปฏิบัติงานทนบวามอิทธิพลต่อการเจ็บป่วย และ/ หรือโรคจากการท างานมีหลายประการ เช่น อายุ เพศ กรรมพันธุ์ เชื้อชาติภาวะโภชนาการ ของแต่ละบุคคล โรคประจ าตัว ความไวต่อการเกิดโรค พื้นฐานการศึกษาของผู้ปฏิบัติงาน องค์ประกอบด้านจิตใจ และองค์ประกอบด้านพฤติกรรม เป็นต้น (2) สภาพแวดล้อมในการท างานที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ คือสาเหตุที่ส าคัญของการ เกิดการเจ็บป่วยและ/หรือโรคจากการท างาน ซึ่งแบ่งได้เป็นกลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่ สภาพแวดล้อมทาง กายภาพ ทางเคมีทางชีวภาพ ทางการยศาสตร์และทางจิตวิทยาสังคม (3) สิ่งแวดล้อมทั่วไป เป็นปัจจัยภายนอกที่กระตุ้นและส่งเสริม ทั้งทางตรงและทางอ้อม ที่จะท าให้โรคเกิดเร็วขึ้น เช่น สภาพที่พักอาศัยไม่ถูกสุขลักษณะ สภาพภูมิอากาศ และสภาพ เศรษฐกิจ เป็นต้น 3.3 โรคจากการท างาน โรคจากการท างาน หรืออาจเรียกว่าโรคจากการประกอบอาชีพ ซึ่งบางครั้งอาจปรากฏ อาการขึ้นอย่างเฉียบพลัน เนื่องจากได้รับสิ่งที่ท าให้เกิดโรคในปริมาณความเข้มข้นสูงในระยะเวลสั้นๆ เช่น กรณีหายใจเอาก๊าซแอมโมเนียที่เกิดการรั่วไหลจากกระบวนการผลิต จะท าให้เกิดผลต่อระบบ ทางเดินหายใจ เกิดการเจ็บป่วยขึ้น แต่บางครั้งโรคจากการท างานอาจปรากฏอาการแบบเรื้อรัง เนื่องจากผู้ปฏิบัติงานได้รับสิ่งที่ท าให้เกิดโรคนั้นทีละเล็กทีละน้อย สะสมเป็นเวลานานหลายเดือนหรือ หลายปีเช่น หูตึงจากเสียงดัง โรคปอดฝุ่นฝาย โรคปอดฝุ่นทราย เป็นต้น


11 = บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) 5.การป้องกันอุบัติเหตุและการเจ็บป่วยจากการทำงาน ล าดับมาตรการป้องกันอันตราย หรือควบคุมความเสี่ยง มาตรการป้องกันอันตราย หรือควบคุมความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นจากการท างาน เป็นการด าเนินการเพื่อขจัดหรือลดอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการท างานให้หมดไปหรืออยู่ในระดับ ที่ยอมรับได้ซึ่งควรด าเนินการตามล าดับ โดยเริ่มจากมาตรการล าดับที่ 1 จนถึงมาตรการล าดับที่ 5 แต่โดยทั่วไปแล้วจะใช้มาตรการควบคุมมากกว่า 1 มาตรการ เพื่อให้การควบคุมอันตรายและลด ความเสี่ยงเป็นไปอย่างได้ผล ล าดับมาตรการควบคุมอันตรายหรือความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการ ท างาน มีดังนี้ มาตรการล าดับที่ 1 การขจัดอันตราย ในการควบคุมความเสี่ยง มาตรการที่ต้องพิจารณาเป็นล าดับแรกคือการขจัดอันตราย ซึ่งถ่อเป็นมาตรการคุ้มครองดูแลที่ดีที่สุด เพราะช่วยลดความเสี่ยงต่อการสัมผัสอันตรายได้ท าให้ ลูกจ้างมีโอกาสได้รับอันตรายน้อยที่สุด และเป็นการควบคุมที่ถาวร เช่น การใช้หุ่นยนต์ท างานแทน มนุษย์การแยกเส้นทางคนเดินกับเส้นทางยานพาหนะ เป็นต้น


12 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) หากสามารถควบคุมความเสี่ยงด้วยมาตรการล าดับที่ 1 ได้อันตรายที่อาจเกิดขึ้นก็จะ หมดไป ดังนั้นอาจไม่จ าเป็นต้องควบคุมความเสี่ยงด้วยมาตรการล าดับถัดไป แต่หากไม่สามารถ ควบคุมอันตรายด้วยมาตรการล าดับที่ 1 ได้ก็จะต้องควบคุมอันตรายด้วยมาตรการล าดับถัดไป มาตรการล าดับที่ 2 การทดแทนด้วยสิ่งที่มีอันตรายน้อยกว่า มาตรการควบคุมอันตรายหรือความเสี่ยงที่ต้องพิจารณาเป็นล าดับที่ 2 คือ การทดแทน ด้วยวัสดุวิธีการท างาน หรืออุปกรณ์ที่มีอันตรายน้อยกว่า ถือเป็นมาตรการที่ช่วยลดความเสี่ยงต่อ การสัมผัสอันตราย ท าให้มีโอกาสได้รับอันตรายจากการท างานน้อยลง เช้น การเลือกใช้สารเคมีที่มี อันตรายน้อยกว่าแทนการใช้สารเคมีที่มีอันตรายมาก หรือการใช้สีที่ใช้น ้าเป็นตัวท าละลายแทนการใช้ สีที่ใช้สารประเภทน ้ามันเป็นตัวท าละลาย การน าขั้นตอนการท างานที่มีความเสี่ยงบนที่สูงลงมาท าใน ระดับพื้นดิน เป็นต้น มาตรการล าดับที่ 3 การควบคุมทางวิศวกรรม หากไม่สามารถควบคุมอันตรายหรือความเสี่ยงด้วยการขจัดอันตราย (มาตรการล าดับ ที่ 1) และการทดแทนด้วยสิ่งที่มีอันตรายน้อยกวา (มาตรการล าดับที่ 2) ได้ก็ให้พิจารณา ด าเนินการควบคุมด้วยการควบคุมทางวิศวกรรม ซึ่งเป็นการด าเนินการควบคุมเพื่อให้สถานที่ ท างานปลอดภัย เช่น การติดตั้งการ์ดส่วนที่เป็นอันตรายของเครื่องจักร การติดตั้งระบบระบาย อากาศ การลดความดังของเสียง การยกย้ายวัสดุโดยใช้อุปกรณ์เครื่องกล การป้องกันการตกจากที่ สูงโดยการติดตั้งราวกันตก เป็นต้น มาตรการล าดับที่ 4 การควบคุมเชิงบริหารจัดการ การควบคุมอันตรายหรือความเสี่ยงมาตรการที่ 4 เป็นการควบคุมเชิงบริหารจัดการ โดยการให้ข้อมูลความรู้และการอบรมที่เหมาะสม การตรวจสอบอุปกรณ์ความปลอดภัย มีระบบการ อนุญาตเข้าปฏิบัติงาน การตรวจวัดสภาพแวดล้อมในการท างาน การจัดให้มีโครงการเฝ้าระวัง สุขภาพส าหรับผู้ปฏิบัติงานที่ได้มีการชี้บ่งว่ามีความเสี่ยง เช่น ผู้ที่สัมผัสกับเสียงดัง ผู้ที่ใช้เครื่องมือที่ มีความสั่นสะเทือน ผู้ที่มีความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ เป็นต้น


13 ความปลอดภย อาชวอนามย และสภาพแวดลอมในการทำงาน สำหรบลกจางทวไปและลกจางเขาทำงานใหม มาตรการล าดับที่ 5 การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล ในกรณีที่สถานประกอบกิจการไม่สามารถควบคุมอันตรายด้วยมาตรการล าดับที่ 1 - 4 อย่างได้ผล จึงเลือกใช้มาตรการล าดับที่ 5 เป็นมาตรการสุดท้าย คือ การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความ ปลอดภัยส่วนบุคคล เช่น การใช้หน้ากากกันฝุ่ น ชุดกันความร้อน ครอบหูหรือที่อุดหูลดเสียง เป็นต้น มาตรการใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลนี้ไม่ควรน ามาใช้เป็นมาตรการหลักในการ ป้องกันอันตราย เนื่องจากมาตรการล าดับที่ 5 เป็นมาตรการควบคุมเพื่อลดความรุนแรงของการเกิด อุบัติเหตุ ไม่ใช่เป็นการลดความเสี่ยงของการเกิดอุบัติเหตุหากจ าเป็นต้องใช้ให้เลือกใช้อย่าง ถูกต้องและเหมาะสมกับลักษณะงาน เนื่องจากลูกจ้างมักมีปัญหากับการใช้อุปกรณ์คุ้มครองความ ปลอดภัยส่วนบุคคล เช่น อุปกรณ์มีขนาดไม่พอดีกับผู้สวมใส่ ผู้ใช้ไม่บ ารุงรักษาความสะอาด อุปกรณ์ท าให้ไม่ถูกสุขอนามัย ผู้ใช้ไม่เคยชินกับการใช้อุปกรณ์การสวมใส่เป็นเวลานานท าให้รู้สึก ร้อน อึดอัด ร าคาญ ไม่สะดวกสบาย เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงาน ท าให้อาจไม่ได้รับความร่วมมือ ที่ดีในการใช้อุปกรณ์จากผู้ปฏิบัติงาน อย่างไรก็ตามควรให้ผู้ใช้มีส่วนร่วมในการเลือกใช้อุปกรณ์ คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล ตลอดจนมีการให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการใช้การบ ารุงรักษา อุปกรณ์อย่างถูกต้อง


14 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) 6. การบริหาร จัดการ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการท างาน หน่วยงานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท างาน - สถานประกอบกิจการที่มีลูกจ้างตั้งแต่สองร้อยคนขึ้นไป จัดให้มีหน่วยงาน - ให้หน่วยงานความปลอดภัยขึ้นตรงต่อผู้บริหารสูงสุดในสถานประกอบกิจการนั้น โดยมีฐานะและระดับ ที่ประสานกับหน่วยงานต่างๆ ได้ดีมีบุคลากรและงบประมาณที่สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ➢หน้าที่ความรับผิดชอบหน่วยงานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท างาน 1. วางแผนการด าเนินงานส าหรับการขจัดความเสี่ยงของสถานประกอบกิจการและดูแลให้มีการ ด าเนินการอย่างต่อเนื่อง 2. จัดท าข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการป้ องกันอันตรายจากอุบัติเหตุ อุบัติภัยและควบคุมความเสี่ยงภายใน สถานประกอบกิจการ 3. จัดท าคู่มือและมาตรฐานว่าด้วยความปลอดภัยในการท างานไว้ในสถานประกอบกิจการ เพื่อให้ ลูกจ้างหรือผู้ที่เกี่ยวข้องได้ใช้ประโยชน์ 4. ก าหนดชนิดของอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่เหมาะสมกับลักษณะความเสี่ยงของ งานเสนอต่อนายจ้าง เพื่อจัดให้ลูกจ้างหรือผู้ที่เกี่ยวข้องสวมใส่ขณะปฏิบัติงาน 5. ส่งเสริม สนับสนุน ด้านวิชาการและการปฏิบัติงานของหน่วยงานต่างๆ ในสถานประกอบกิจการ เพื่อให้ลูกจ้างปลอดจากเหตุอันจะท าให้เกิดการประสบอันตรายหรือการเจ็บป่ วยอันเนื่องมาจากการท างาน รวมทั้งด้านการควบคุมป้ องกันอัคคีภัยและอุบัติภัยร้ายแรงด้วย 6. จัดอบรมเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานและข้อปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการท างานแก่ลูกจ้างที่เข้า ท างานใหม่ก่อนให้ปฏิบัติงาน รวมทั้งลูกจ้างซึ่งต้องท างานที่มีความแตกต่างไปจากงานเดิมที่เคยปฏิบัติอยู่และ อาจเกิดอันตรายด้วย 7. ประสานการด าเนินงานความปลอดภัยในการท างานกับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภายในและภายนอก สถานประกอบกิจการ รวมทั้งหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง 8. ตรวจประเมินระบบความปลอดภัยในการท างานในภาพรวมของสถานประกอบกิจการ 9. รวบรวมผลการด าเนินงานของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท างานทุกระดับและติดตามผลการ ด าเนินงานด้านความปลอดภัยในการท างานให้เป็ นไปตามนโยบายและแผนงานของสถานประกอบกิจการ พร้อมทั้งรายงานให้นายจ้างและคณะกรรมการทราบทุกสามเดือน 10. ปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยในการท างานอื่นตามที่นายจ้างมอบหมาย


15 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท างาน ➢หน้าที่และความรับผิดชอบคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อม ในการท างาน 1. พิจารณานโยบายและแผนงานด้านความปลอดภัยในการท างาน รวมทั้งความปลอดภัยนอก งาน เพื่อป้ องกันและลดการเกิดอุบัติเหตุ การประสบอันตราย การเจ็บป่ วย หรือการเกิดเหตุ เดือดร้อนร าคาญอันเนื่องจากการท างาน หรือความไม่ปลอดภัยในการท างานเสนอต่อนายจ้าง 2. รายงานและเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้องตามกฎหมายเกี่ยวกับ ความปลอดภัยในการท างานและมาตรฐานความปลอดภัยในการท างานต่อนายจ้าง เพื่อความ ปลอดภัยในการท างานของลูกจ้าง ผู้รับเหมา แลบุคคลภายนอกที่เข้ามาปฏิบัติงานหรือเข้ามา ใช้บริการในสถานประกอบกิจการ 3. ส่งเสริม สนับสนุน กิจกรรมด้านความปลอดภัยในการท างานของสถานประกอบกิจการ 4. พิจารณาข้อบังคับและคู่มือความปลอดภัยในการท างาน รวมทั้งมาตรฐานด้านความปลอดภัย ในการท างานของสถานประกอบกิจการเสนอต่อนายจ้าง 5. ส ารวจการปฏิบัติการด้านความปลอดภัยในการท างาน และตรวจสอบสถิติการประสบ อันตรายที่เกิดขึ้นในสถานประกอบกิจการนั้น อย่างน้อยเดือนละหนึ่งครั้ง 6. พิจารณาโครงการหรือแผนงานการฝึ กอบรมเกี่ยวกับความปลอดภัยในการท างานรวมถึง โครงการหรือแผนการอบรมเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบในด้านความปลอดภัยของ ลูกจ้าง หัวหน้างาน ผู้บริหาร นายจ้าง และบุคลากรทุกระดับเพื่อเสนอความเห็นต่อนายจ้าง 7. วางระบบการรายงานสภาพการท างานที่ไม่ปลอดภัยให้เป็ นหน้าที่ของลูกจ้างทุกคนทุกระดับ ต้องปฏิบัติ 8. ติดตามผลความคืบหน้าเรื่องที่เสนอนายจ้าง 9. รายงานผลการปฏิบัติงานประจ าปี รวมทั้งระบุปัญหา อุปสรรค และหนึ่งปี เพื่อเสนอต่อ นายจ้าง 10.ประเมินผลการด าเนินงานด้านความปลอดภัยในการท างานของสถานประกอบกิจการ 11.ปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยในการท างานอื่นตามที่นายจ้างมอบหมาย


16 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) ➢หน้าที่และความรับผิดชอบหน้าที่เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท างานระดับบริหาร 1. ก ากับ ดูแล เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท างานทุกระดับซึ่งอยู่ในบังคับบัญชาของ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท างานระดับบริหาร 2. เสนอแผนงานโครงการด้านความปลอดภัยในการท างานในหน่วยงานที่รับผิดชอบต่อ นายจ้าง 3. ส่งเสริม สนับสนุน และติดตามการด าเนินงานเกี่ยวกับความปลอดภัยในการท างานให้เป็ นไป ตามแผนงานโครงการเพื่อให้มีการจัดการด้านความปลอดภัยในการท างานที่เหมาะสมกับสถาน ประกอบกิจการ 4. ก ากับ ดูแล และติดตามให้มีการแก้ไขข้อบกพร่องเพื่อความปลอดภัยของลูกจ้างตามที่ได้รับ รายงานหรือ ตามข้อเสนอแนะของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท างาน คณะกรรมการ หรือ หน่วยงานความปลอดภัย ➢หน้าที่และความรับผิดชอบหน้าที่เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท างานระดับวิชาชีพ 1. ตรวจสอบและเสนอแนะให้นายจ้างปฏิบัติตามกฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท างาน 2. วิเคราะห์งานเพื่อชี้บ่งอันตราย รวมทั้งก าหนดมาตรการป้ องกัน หรือขั้นตอนการท างาน อย่างปลอดภัยเสนอต่อนายจ้าง 3. ประเมินความเสี่ยงด้านความปลอดภัยในการท างาน 4. วิเคราะห์แผนงานโครงการ รวมทั้งข้อเสนอแนะของหน่วยงานต่างๆ และเสนอแนะมาตรการ ความปลอดภัยในการท างานต่อนายจ้าง 5. ตรวจประเมินการปฏิบัติงาน ของสถานประกอบกิจการให้เป็ นไปตามแผนงานโครงการ หรือ มาตรการความปลอดภัยในการท างาน 6. แนะน าให้ลูกจ้างปฏิบัติตามข้อบังคับ และคู่มือตามข้อ 3 7. แนะน า ฝึ กสอน อบรมลูกจ้างเพื่อให้การปฏิบัติงานปลอดจากเหตุอันจะท าให้เกิดความไม่ ปลอดภัยในการท างาน 8. ตรวจวัดและประเมินสภาพแวดล้อมในการท างาน หรือด าเนินการร่วมกับบุคคลหรือหน่วยงาน ที่ขึ้นทะเบียนกับกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานเป็ นผู้รับรอง หรือตรวจสอบเอกสาร หลักฐานรายงานในการตรวจสอบสภาพแวดล้อมในการท างานภายในสถานประกอบกิจการ 9. เสนอแนะต่อนายจ้างเพื่อให้มีการจัดการด้านความปลอดภัยในการท างานที่เหมาะสมกับสถาน ประกอบกิจการ และพัฒนาให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง 10.ตรวจสอบหาสาเหตุ และวิเคราะห์การประสบอันตราย การเจ็บป่ วย หรือการเกิดเหตุเดือดร้อน ร าคาญอันเนื่องจากการท างาน และรายงานผล รวมทั้งเสนอแนะต่อนายจ้างเพื่อป้ องกันการ เกิดเหตุโดยไม่ชักช้า 11.รวบรวมสถิติ วิเคราะห์ข้อมูล จัดท ารายงาน และข้อเสนอแนะ เกี่ยวกับการประสบอันตราย การเจ็บป่ วย หรือการเกิดเหตุเดือดร้อนร าคาญอันเนื่องจากการท างานของลูกจ้าง 12.ปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยในการท างานอื่นตามที่นายจ้างมอบหมาย


17 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) ➢หน้าที่และความรับผิดชอบหน้าที่เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท างานระดับหัวหน้างาน 1. ก ากับ ดูแล ให้ลูกจ้างในหน่วยงานที่รับผิดชอบปฏิบัติตามข้อบังคับและคู่มือตามข้อ 3 2. วิเคราะห์งานในหน่วยงานที่รับผิดชอบเพื่อค้นหาความเสี่ยงหรืออันตรายเบื้องต้นโดยอาจ ร่วมด าเนินการกับเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท างานระดับเทคนิค ระดับเทคนิคขั้นสูง หรือระดับวิชาชีพ 3. สอนวิธีการปฏิบัติงานที่ถูกต้องแก่ลูกจ้างในหน่วยงานที่รับผิดชอบเพื่อให้เกิดความปลอดภัย ในการปฏิบัติงาน 4. ตรวจสอบสภาพการท างาน เครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์ให้อยู่ในสภาพที่ปลอดภัยก่อน ลงมือปฏิบัติงานประจ าวัน 5. ก ากับ ดูแล ใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลของลูกจ้างในหน่วยงานที่ รับผิดชอบ 6. รายงานการประสบอันตราย การเจ็บป่ วย หรือการเกิดเหตุเดือดร้อนร าคาญอันเนื่องจาก การท างานของลูกจ้างต่อนายจ้าง และแจ้งต่อเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท างานระดับ เทคนิค ระดับเทคนิคขั้นสูง หรือระดับวิชาชีพ ส าหรับสถานประกอบการที่มีหน่วยงานความ ปลอดภัยให้แจ้งต่อหน่วยงานต่อหน่วยงานความปลอดภัยทันทีที่เกิดเหตุ 7. ตรวจสอบหาสาเหตุการประสบอันตราย การเจ็บป่ วย หรือการเกิดเหตุเดือดร้อนร าคาญอัน เนื่องจากการท างานของลูกจ้างร่วมกับเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท างานระดับเทคนิค ระดับเทคนิคขั้นสูง หรือระดับวิชาชีพ และรายงานผล รวมทั้งเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหา ต่อนายจ้างโดยไม่ชักช้า 8. ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมความปลอดภัยในการท างาน 9. ปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยในการท างานอื่นตามที่เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท างาน ระดับบริหารมอบหมาย


➢หน้าที่และความรับผิดชอบของพนักงาน 1. พนักงานต้องท างานด้วยจิตส านึกในด้านความปลอดภัยอยู่เสมอทั้งต่อตนเองและผู้อื่น 2. พนักงานทุกคนต้องรายงานสภาพการท างานที่ไม่ปลอดภัยและอุปกรณ์ที่ช ารุดเสียหายต่อ ผู้บังคับบัญชาหรือผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ 3. พนักงานทุกคนต้องเอาใจใส่และปฏิบัติงานตามกฎข้อบังคับในการท างานอย่างปลอดภัยอยู่ เสมอ 4. พนักงานทุกคนต้องให้ความร่วมมือกับบริษัทฯ เกี่ยวกับข้อปฏิบัติที่ให้เกิดความปลอดภัยใน การท างาน 5. พนักงานทุกคนต้องใช้อุปกรณ์ป้ องกันอันตรายส่วนบุคคล(PPE)ที่บริษัทฯ จัดให้ตลอด ระยะเวลาที่ปฏิบัติงาน 6. พนักงานทุกคนต้องไม่ปฏิบัติงานโดยไม่มีหน้าที่ หรือทักษะหรือไม่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้า งาน 7. พนักงานทุกคนต้องปฏิบัติตามป้ ายความปลอดภัย โดยเคร่งครัด 8. พนักงานทุกคนเมื่อพบสภาพผิดปกติให้หยุดเครื่องจักร เรียกหัวหน้างาน หรือพนักงานซ่อม บ ารุงมาท าการแก้ไข ห้ามท าการแก้ไขโดยล าพัง 18 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน)


19 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) 7.ความปลอดภัยในการท างานตามลักษณะงาน กฎระเบียบความปลอดภัยทั่วไป 1. ผู้ปฏิบัติงานจะต้องปฏิบัติงานตามขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ถูกต้องอย่างเคร่งครัด 2. พนักงานต้องตรวจสอบสภาพของเครื่องจักร อุปกรณ์ที่ใช้ในการปฏิบัติงานทุกครั้งก่อนว่าอุปกรณ์ อยู่ในสภาพที่สามารถใช้งานได้อย่างปลอดภัย หากพบว่าอุปกรณ์ช ารุดเสียหายหรืออยู่ในสภาพที่ไม่พร้อม ใช้งานให้แจ้งหัวหน้างานเพื่อท าการตรวจสอบ 3. ไม่อนุญาตให้ผู้ที่ไม่เกี่ยวข้อง หรือผู้ที่ยังไม่ผ่านการฝึกอบรม ใช้เครื่องจักรหรืออุปกรณ์โดยเด็ดขาด 4. พนักงานจะต้องแต่งด้วยชุดปฏิบัติงานที่ถูกต้องและปลอดภัยตามกฎระเบียบของบริษัทฯ 5. พนักงานจะต้องสวมใส่อุปกรณ์ป้ องกันอันตรายส่วนบุคล และปฏิบิตามกฎข้อบังคับเกี่ยวกับหน้า งานที่ปฏิบัติ 6. ขณะปฏิบัติงานหรืออยู่ในพื้นที่การปฏิบัติงานห้ามหยอกล้อกับเพื่อนร่วมงาน หรือผู้อื่น 7. เมื่อเกิดอุบัติเหตุหรือพบเหตุผิดปกติให้แจ้งหัวหน้างานทันที 8. ห้ามน าอุปกรณ์ดับเพลิงออกมาฉีดเล่น หรือวางสิ่งของกีดขวางอุปกรณ์ดับเพลิงโดยเด็ดขาด 9. ห้ามสูบบุหรี่ หรือก่อเหตุที่อาจก่อให้เกิดประกายไฟในพื้นที่การปฏิบัติงาน และพื้นที่ภายในอาคาร 10. อย่าแตะต้องอุปกรณ์ไฟฟ้ า และสายไฟขณะที่มือเปียก 1. ควรให้พื้นส านักงานมีความสะอาดอยู่เสมอ 2. ไม่วิ่งเล่น หรือหยอกล้อกันในส านักงานหรือบันไดเพราะอาจท าให้เกิดการลื่นล้มหรือสะดุดล้ม 3. อุปกรณ์ของมีคม เช่น มีด กรรไกร เข็มหมุด ฯลฯ ควรจัดเก็บให้เรียบร้อย 4. ไม่ควรจัดเก็บเอกสารบนหลังตู้มากเกินไป 5. บริเวณที่ท างานควรจัดให้มีแสงสว่างและการระบายอากาศที่เพียงพอ 6. ในกรณีที่มีน ้า น ้ามัน หรือสิ่งที่ผิดปกติบนพื้นที่การปฏิบัติงาน ให้แจ้งเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบเข้ามา ด าเนินการแก้ไข 7. ควรจัดเก็บสายไฟให้เรียบร้อย กรณีพบสายไฟหรืออุปกรณ์ไฟฟ้ าช ารุด ควรแจ้งให้เจ้าที่ที่ รับผิดชอบเข้ามาด าเนินการแก้ไข กฎระเบียบความปลอดภัยทั่วไป ความปลอดภัยในการท างานเกี่ยวกับงานส านักงาน


20 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) 1 กฎความปลอดภัยเกี่ยวกับอุปกรณ์ความปลอดภัย 1) อยาถอดถอน เคลื่อนย้ายอุปกรณ์ความปลอดภัยต่างๆ โดยไม่ได้รับอนุญาต 2) เมื่อพบเครื่องจักรไม่มีอุปกรณ์ความปลอดภัยให้หยุดเครื่องจักร และรายงานให้หัวหน้างาน ทราบทันที 3) การถอดถอน หรือการเคลื่อนย้ายอุปกรณ์ฉุกเฉิน จะกระท าได้ก็ต่อเมื่อได้รับอนญาต จากผู้บังคับบัญชา และอยู่ภายใต้การก ากับดูแลของหัวหน้างานเท่านั้น


21 กฎความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟ้า 1) อย่าเข้าใกล้หรือจับต้องอุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีป้ายห้ามใช้ โดยไม่จ าเป็น 2) ผู้ไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้อง ห้ามเข้าบริเวณติดตั้งหม้อแปลง ไฟฟ้าหรืออุปกรณ์ไฟฟ้าแรงดันสูง 3 4 5 6 7 8 9 ) หากตัวเปียกชื้น ห้ามจับต้องอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า ) ห้ามวางวัตถุไวไฟใกล้กับเต้ารับ หรืออุปกรณ์ไฟฟ้า ) ต้องปิดสวิทช์ก่อนท าความสะอาดอุปกรณ์ไฟฟ้าทุกครั้ง ) การซ่อมบ ารุงต้องท าโดยช่างไฟฟ้าเท่านั้น ) การเสียบหรือถอดเต้าเสียบต้องจับที่ตัวเต้าเสียบ ห้ามใช้วิธีดึงหรือจับที่สายไฟ ) ห้ามคลุมหลอดไฟฟ้าด้วยกระดาษหรอผ้า เพราะอาจท าใหเกิดอัคคีภัยได้ ) การติดตั้งสายไฟฟ้าและอุ์ปกรณ์ไฟฟ้าต้องใช้สายและอุปกรณ์ที่เหมาะสมและติดตั้งอย่าง ถูกต้อง 10) ควรระวังอย่าวางสายไฟฟ้าสอดไว้ใต้พรมปูพื้น ใต้บานประตูหน้าต่างหืรอขวางทางเดิน เพราะเมื่อถูกเหยียบย ่าหรือกดทับนานเข้า ฉนวนหุ้มสายไฟฟ้าจะช ารุดฉีกขาดอันตรายยอมเกิดขึ้น ได้ง่าย 11) อย่าให้หลอดไฟฟ้าซึ่งมีความร้อนสูงอยู่ติดกับวัตถุซึ่งเป็นเชื้อเพลิงติดไฟง่าย เช่น ผ้า หรือกระดาษ 12) หลอดไฟฟ้าที่ขาดแล้ว ควรใส่ไว้กับกระจับตลอดเวลาจนกว่าจะเปลี่ยนหลอดใหม่ เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ที่รู้เท่าไม่ถึงการณ์หรือเผอเรอเอานิ้วแหย่เข้าไป หากหลอดไฟฟ้ากระพริบติดๆ ดับๆ ควรแจ้งให้มีการเปลี่ยนหรือซ่อมบ ารุง 13) เมื่อจะใช้โคมไฟฟ้านอกชายคา หรือใช้งานสมบึกสมบันแม้จะเป็นการชั่วคราว เช่น อู่ซ่อมรถ ควรเลือกใช้โคมไฟฟ้าที่ดีได้มาตรฐาน มีตะแกรงครอบหลอดและมีสายชนิดที่มีฉนวน หุ้มหนา 14) อย่าเข้าใกล้บริเวณที่มีการใช้กระแสไฟฟ้าแรงสูง หม้อแปลง หรืออุปกรณ์ไฟฟ้าแรงสูง อื่นๆ เพราะเมื่อเข้าใกล้ก็อาจเกิดอันตรายได้โดยไม่สัมผัส หากจุดที่ปฏิบัติงานอยู่ใกล้ สายไฟฟ้าแรงสูงต้องทราบอันตรายและแนวทางป้องกัน และอยู่ห่างในระยะที่ปลอดภัย 15) เมื่อประสบเหตุไฟไหมุ้อปกรณ์ไฟฟ้า หรือมีลูกจ้างถูกไฟฟ้าช็อค ให้ด าเนินการดังนี้ ก. ปิดสวิทช์ไฟ ถ้าไม่สามารถท าได้ให้แจ้งช่างไฟฟ้าทันที ข. กรณีไม่สามารถปิดสวิทช์ไฟได้ทันทีเมื่อพบเห็นเหตุพบผู้ถูกไฟฟ้าช็อค ใหพยายามช่วยเหลือผู้ประสบอันตรายออกจากกระแสไฟฟ้า โดยใช้วัตถุที่ไม่เป็นสื่อไฟฟ้า เช่น ผ้าแห้ง ไม้แห้งเชือกแห้ง สายยางแห้ง เป็นตน เขี่ยสายไฟออกจากร่างกายผู้ประสบภัย อย่าช่วยเหลือด้วยการจับต้องตัวผู้ก าลังถูกไฟฟ้าช็อคโดยตรง เพราะจะถูกไฟฟ้าช็อคด้วย บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน)


22 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน)


23 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) กฎความปลอดภัยในการใช้ระบบดักจับฝุ่น สารเคมี การปิดครอบป้องกันเสียง ความร้อน และการระบายอากาศ 1) ไม่เปิดประตูหรือฝาครอบสิ่งที่เป็นัอนตราย เช่น ก๊าซ ฝุ่น เสียงดง และแหล่งก าเนิดความร้อน 2) ตรวจสอบรอยั่รว และรอยแตกของระบบ ซึ่งอาจเกิดอันตรายจากการรั่วและฟุ้งกระจาย หากพบว่ารั่ว หรือแตกให้แจ้งหัวหน้างานเพื่อการซ่อมแซม 3) ตรวจสอบระบบระบายอากาศเฉพาะที่ว่าสามารถใช้งานได้เป็นปกติหรือไม่ และห้าม ดัดแปลงโดยไม่ได้รับอนุญาตจากหัวหน้างาน 4) หามกองวสดไวใกลปากทอดดอากาศ เพราะจะทาใหประสทธภาพการระบายอากาศลดลง กฎความปลอดภัยในส านักงาน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 1 1 1 1 1 1 1 ) ท าความสะอาดพื้นที่ท างานให้แห้งอยู่เสมอ ) เมื่อพบเห็นสิ่งผิดปกติรีบแจ้งให้ผู้รับผิดชอบทราบ ) หากต้องการยกของ ไม่ควรยกของสูงเกินไปจนมองไม่เห็นทาง ) สวมรองเท้าให้รัดกุม ไม่คับหรือหลวมจนเกินไป ) เครื่องใช้ไฟฟ้าควรวางใกล้ปลั๊กไฟฟ้าให้มากที่สุด ) สายไฟฟ้า สายโทรศัพท์เดินบนพื้นต้องตัดเทปกาวให้เรียบร้อย ) ไม่ใช้เก้าอี้นั่งมารองยืนเพื่อหยิบ หรือวางสิ่งของ ) กรณีที่หยิบสิ่งของที่สูงๆ ให้ใช้แทน หรือบันไดวางให้มั่นคงและมีคนช่วยจับด้วย ) บริเวณมุมอับ หรือหัวมุมต้องเดินให้มุมกว้าง ชิดขวามือตนเอง อย่าเดินชิดหัวมุม 0) หาตู้เก็บเอกสารใส่แฟ้มเอกสาร เอกสารที่มีน ้าหนักมากควรเก็บไว้ในลิ้นชักล่าง 1) วางหรือยึดตู้เอกสารให้มั่นคง 2) ไม่เปิดตู้เอกสารทีละหลายๆ ชั้นพร้อมกัน ควรเปิดทีละชั้นเสมอ 3) ไม่ควรวางของเกะกะทางเดิน 4) ตรวจบริเวณทางเดินให้อยู่ในสภาพที่ปลอดภัย และสะอาดอยู่เสมอ 5) ต้องใช้อุปกรณ์เครื่องใช้ส านักงานให้ปลอดภัยด้วยความระมัดระวัง 6) ถอดปลั๊กไฟฟ้า และปิดเครื่องใช้ไฟฟ้าเมื่อเลิกใช้งานทุกครั้ง 7) พนักงานต้องรู้จักวิธีการใช้ถังดับเพลิง และวิธีการอพยพหนีไฟตามแผนที่ก าหนดไว้


24 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) กฎความปลอดภัยเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 1)ในการนั่งท างานกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ควรนั่งลึกให้เต็มเก้าอี้และหลังพิงกับพนักเก้าอี้ 2) ก าหนดช่วงเวลาพัก หรือท างานลักษณะอย่างอื่นสลับกับการท างานหน้าคอมพิวเตอร์ เพื่อลดความเมื่อยล้าของสายตาและกล้ามเนื้อ 3) จัดพื้นที่การท างานที่มีแสงสว่างที่เพียงพอไม่มีการสะท้อนของแสงมากเกินไป 4) ระดับของจอภาพ ควรปรับระดับจอภาพให้อยู่ในแนวต ่ากว่าระดับสายตาเล็กน้อยจะได้ มองหน้าจอได้อย่างสบายใจ 5) การวางข้อศอก ควรวางข้อศอกให้อยู่แนวระดับเดียวกับการพิมพ์ 6) การวางเท้า ควรวางเท้าให้พอดีกับพื้นราบ กฎความปลอดภยในการท างานกับเสียงดัง 1) สวมใส่ปลั๊กลดเสียงขณะปฏิบัติงานในสถานที่ที่ก าหนด 2) ตรวจสอบอุปกรณ์ควบคุมเสียง และอุปกรณ์ลดเสียงเป็นประจ า เพื่อดูแลให้มีสมรรถนะ ในการลดเสียงอย่างสม ่าเสมอ 3) ห้ามมิให้ถอดถอนอุปกรณ์ควบคุมเสียงและอุปกรณ์ลดเสียงและห้ามมิให้ด าเนินการใด ๆ ที่จะท าให้สมรรถนะของอุปกรณ์ลดลง 4) พนักงานที่ท างานอยู่ในที่ที่มีเสียงดัง จะต้องได้รับการตรวจสมรรถภาพการได้ยินเป็นประจ า


25 กฎความปลอดภัยเกี่ยวกับสารเคมี 1) ศึกษาเอกสารข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมีที่ใช้ทุกชนิด เพื่อทราบอันตรายและ วิธ๊การปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยต่าง ๆ 2) สวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยตามความเหมาะสมกับงาน มีการดูแลท าความ สะอาด บ ารุงรักษาให้อยู่ในสภาพดี 3 4 5 6 7 8 ) ท าความสะอาดทุกครั้งที่มีสารเคมีหก รั่วไหล ) ให้ความร่วมมือในการตรวจสุขภาพประจ าปี ) ไม่ปฏิบัติงานตามล าพังหรือไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้อง ) ไม่ใช้ปากดูดสารเคมีแทนลูกยาง ) ไม่ทดสอบสารเคมีโดยการสูดดม หรือกินสารเคมี ) สวมใส่อุปกรณ์คมุ้ครองความปลอดภัยส่วนบุคคลทุกครั้งที่ปฏิบัติงานกับสารเคมี เช่น ถุงมือ รองเท้า ชุดป้องกันสารเคมีหน้ากาก แว่นป้องกันสารเคมี ) เมื่อต้องการขนถ่ายสารเคมีจ านวนมาก ควรใช้รถเข็นในจ านวนที่ไม่มากจนเกินก าลงบรรทุก 0) หลังปฏิบัติงานต้องท าความสะอาดร่างกายตนเอง และพื้นที่ที่ปฏิบัติงานให้สะอาดทุกครั้ง 1) จัดเก็บสารเคมีให้เข้าที่ (ชั้นจัดเก็บ) อย่างเป็นระเบียบและเก็บในพื้นที่หรือบริเวณให้ เก็บอย่างถูกต้อง 9 1 1 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน)


26 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) ป้ายสัญลักษณ์แสดงความเป็นอันตรายของสารเคมี สัญลักษณ์แสดงอันตราย (Hazard Pictogram) ตามระบบสากล GHS องค์ประกอบของ ฉลากที่ส าคัญได้แก่ รูปสัญลักษณ์แสดงความเป็ นอันตรายของสารเคมี ซึ่งตามระบบ GHS ได้ก าหนดไว้ 9 รูปดังแสดงในตารางต่อไปนี้


27 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) กฎความปลอดภัยเกี่ยวกับรังสี รังสี คือ พลังงานที่แผ่มาจากแหล่งหนึ่งไปยังอีกแหล่งหนึ่งซึ่งอาจสามารถทะลุผ่านวัตถุชนิด ต่างๆได้โดยเดินทางผ่านบรรยากาศ แบ่งได้เป็ นสองประเภท 1.รังสีไม่ก่อประจุ (non-ionizing radiation) รังสีชนิดนี้เป็ นรังสีที่มีพลังงานต ่า อยู่ในช่วงต ่าของ แถบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า (electromagnetic spectrum) เช่น แสงอาทิตย์ แสงอินฟราเรด คลื่นไมโครเวฟ และ คลื่นวิทยุ เป็ นต้น 2.รังสีก่อประจุ (ionizing radiation) รังสีชนิดนี้เกิดจากอะตอมหรือธาตุที่ไม่เสถียร ซึ่งเรียกว่า ธาตุกัมมันตรังสี(radioactive element) เช่น ยูเรเนียมและทอเรียมที่ใช้เป็ นเชื้อเพลิงในการท าปฏิกิริยา นิวเคลียร์ อะตอมที่ไม่เสถียรเหล่านี้จะมีพลังงานหรือมวลสารจ านวนมาก ดังนั้นการที่อะตอมจะเสถียรขึ้น ได้นั้น พวกมันจะต้องปลดปล่อยรังสีซึ่งเป็ นพลังงานหรือมวลสารที่มีมากเกินไปออกมา การแผ่รังสีได้ เองอย่างต่อเนื่องของธาตุกัมมันตรังสีนี้ เรียกว่า กัมมันตภาพรังสี(radioactivity) โดยรังสีที่อะตอมหรือ ธาตุที่ไม่เสถียรปลดปล่อยออกมาเป็ นรังสีก่อประจุที่มักพบได้4 ชนิดหลักดังนี้ รังสีแอลฟา เป็ นสารหนักและเคลื่อนไหวในระยะสั้น เป็ นรังสีที่ไม่สามารถเจาะทะลุผิวหนังมนุษย์ หรือเสื้อผ้าได้สารที่ปล่อยรังสีแอลฟาเป็ นอันตรายได้ถ้าสูดดม กลืน หรือซึมซับผ่านแผลเปิ ด ตัวอย่าง สารที่ปล่อยรังสีแอลฟา เช่น เรเดียม เรดอน ยูเรเนียม และ ธอเรียม รังสีเบต้า เป็ นสารเบาและเคลื่อนไหวในระยะสั้น สามารถทะลุทะลวงปานกลาง ทะลุผิวหนังมนุษย์ได้ถึง ชั้นที่ผลิตเซลล์ใหม่ ตัวอย่างเช่น สตรอนเทียม-90 คาร์บอน-14 ทรีเทียม และซัลเฟอร์-35 รังสีแกมมาและรังสีเอ็กซ์เป็ นรังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่มีพลังทะลุทะลวงสูงสามารถแผ่ กระจายทางอากาศได้หลายเมตร ผ่านผิวหนังได้หลายนิ้ว และทะลุทะลวงวัตถุส่วนใหญ่ รังสีแกมมาและ รังสีเอ็กซ์มักจะแผ่รวมกับรังสีแอลฟาและรังสีเบต้าในช่วงที่เกิดการย่อยสลายของสารกัมมันตรังสี ตัวอย่างสารแกมมา เช่น ไอโอดีน-131 ซีเซียม-173 โคบอลท์-60 และเรเดียม-226 ผลกระทบของกัมมันตรังสีต่อสุขภาพ แบ่งได้เป็ น 2 ประเภท คือ 1.ผลกระทบจากการได้รับกัมมันตภาพรังสีในปริมาณที่น้อยแต่ยาวนาน (Stochastic health effects) แม้จะมีความเป็ นไปได้ว่าจะมีผลต่อสุขภาพ แต่ก็ไม่สามารถบอกได้ว่าผลที่ว่านั้นจะมี อาการอย่างไรและรุนแรงเพียงใด แต่โดยทั่วไปแล้ว ยอมรับกันว่ามะเร็งเป็ นผลอย่างหนึ่งของการได้รับ รังสีในระยะยาว ในขณะเดียวกัน ยังพบว่ายังสามารถก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของพันธุกรรมได้อีก ด้วย


28 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) 2.ผลกระทบจากการได้รับกัมมันตภาพรังสีในปริมาณที่มากในระยะเวลาสั้น (Non-Stochastic health effects) ซึ่งมักแสดงอาการอย่างเฉียบพลัน การเข้าสู่ร่างกายของรังสี รังสีสามารถเข้าสู่ร่างกายได้ทางการหายใจ การกิน ผิวหนัง แลบริเวณบาดแผล การป้ องกันอันตรายจากรังสี อาศัยกฎหลักพื้นฐานของการป้ องกันอันตรายจากรังสี ALARA (As Low As Reasonably Achievable) คือ การใช้ปริมาณรังสีให้ต ่าที่สุดเท่าที่จะสามารถท าได้ โดย 1.เวลา (Time) ใช้เวลาในการปฏิบัติงานให้สั้นที่สุด 2.ระยะทาง (Distance) รักษาระยะทางให้ห่างจากต้นก าเนิดรังสีให้มากที่สุด 3.เครื่องก าบังรังสี (Shielding) จัดให้มีเครื่องก าบังที่เหมาะสม ปริมาณรังสีสูงสุดที่อนุญาตให้ผู้ปฏิบัติงานทางรังสีและบุคคลทั่วไปได้รับใน 1 ปี อวัยวะที่ได้รับรังสี ปริมาณรังสีที่ได้รับ (mSV/ปี) ผู้ปฏิบัติงานทางรังสี บุคคลทั่วไป ทั่วร่างกาย 20 1 เลนส์ตา 150 15 ผิวหนัง 500 50 มือ เท้า 500 50 ขั้นตอนการปฏิบัติงานกับรังสี 1. ผู้ที่ไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้องหรือไม่ได้รับอนุญาตจากหัวหน้างาน ห้ามเข้าไปในพื้นที่ปฏิบัติงาน เกี่ยวกับรังสี 2. กั้นเขตพื้นที่ปฏิบัติงาน พร้อมติดป้ ายห้ามบุคคลที่ไม่มีหน้าที่เกี่ยวข้องเข้าในบริเวณ 3. ผู้ปฏิบัติงานมีบาดแผลห้ามปฏิบัติงาน 4. ต้องมีผู้รับผิดชอบด าเนินการด้านเทคนิคในเรื่องรังสีซึ่งต้องมีคุณสมบัติตามกฎหมาย ก าหนด 5. ผู้ปฏิบัติงานทุกคนต้องมีอุปกรณ์บันทึกปริมาณรังสีประจ าตัวตลอดเวลาที่ปฏิบัติงาน 6. ตรวจวัดปริมาณรังสีในบริเวณปฏิบัติงานตลอดเวลา 7. ห้ามรับประทานอาหารหรือสูบบุหรี่ในระหว่างปฏิบัติงาน 8. ควรใช้เวลาให้น้อยที่สุดในการปฏิบัติงาน


29 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) กฎความปลอดภัยเกี่ยวกับเครื่องจักร 1. ก่อนใช้เครื่องจักร ผู้ปฏิบัติงานต้องตรวจสอบอุปกรณ์ป้ องกันอันตรายของเครื่องจักร(Safety Guard) ของเครื่องจักรว่าอยู่ในสภาพพร้อมใช้งานหรือไม่ 2. ปฏิบัติงานตามระเบียบวิธีปฏิบัติงานอย่างเคร่งครัด ต้องรู้ถึงขั้นตอนการท างานของ เครื่องจักรก่อนการเดินเครื่อง 3. สวมใส่เสื้อผ้ารัดกุม ไม่สวมใส่เครื่องประดับที่มีสายระโยงรยางค์ 4. หากพบว่าเครื่องจักรท างานผิดปกติให้แจ้งหัวหน้างานทันที ห้ามซ่อมแซ่มเองเด็ดขาด 5. สวมใส่เครื่องป้ องกันและใช้เครื่องมือที่ถูกต้องและเหมาะสมกับงานที่ท า และต้องระวังในการใช้ ถุงมือ เพราะถุงมือบางอย่างอาจจะไม่เหมาะกับงานบางอย่าง 6. ในการตรวจสอบ ซ่อมแซม และท าความสะอาดเครื่องจักรนั้น จะต้องหยุดเครื่องจักรให้ เรียบร้อย และมีเครื่องหมายชี้บ่งบอกหรือติดป้ ายแขวนว่า “ห้ามเดินเครื่อง” 7. ห้ามถอดการ์ดออกจากเครื่องจักรโดยไม่จ าเป็ นจะถอดได้ในกรณีที่มีการซ่อมแซมและเมื่อซ่อม เสร็จต้องใส่การ์ดเข้าที่เดิมทุกครั้ง 8. ให้ตรวจตราเครื่องจักรก่อนเดินเครื่อง และตรวจสอบเป็ นระยะๆ และระวังอันตรายขณะตรวจ ตราเครื่องจักรและก่อนเริ่มเดินเครื่อง 9. เมื่อจะต้องท างานร่วมกัน จะต้องแน่ใจว่า ทุกคนเข้าใจสัญญาณเพื่อการสื่อสารต่างๆ อย่าง ชัดเจน และถูกต้องตรงกัน 10. อย่าเข้าใจไปในส่วนที่เป็ นอันตรายของเครื่องจักร หรือส่วนที่ท างานเคลื่อนไหวตลอดเวลา ถ้าจ าเป็ นต้องเข้าไปในบริเวณนั้น ต้องแน่ใจว่าเครื่องจักรได้หยุดเดินเครื่องแล้ว 11. ถ้าเป็ นเครื่องจักรที่ใช้ไฟฟ้ าต้องต่อสายดินเสมอ และตรวจสอบสายดินให้อยู่ในสภาพพร้อม ใช้งาน


30 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) 8.ป้ายหรือสัญลักษณ์ความปลอดภัย สถานประกอบกิจการจะมีการใช้ป้ายหรือสัญลักษณ์ความปลอดภัย เพื่อสื่อสารหรือเตือน เรื่องความปลอดภัยกับลูกจ้าง เช่น พื้นที่นั้นมีอันตรายอะไรที่ควรระมัดระวัง มีข้อบังคับหรือ ค าแนะน าให้ปฏิบัติตนอย่างไรหรือมีข้อห้ามปฏิบัติอย่างไร เป็นต้น ทั้งนี้ป้ายหรือสัญลักษณ์ความ ปลอดภัย ประกอบด้วยสิ่งต่างๆ ที่สื่อความหมายแตกต่างกันดังนี้ (1) เครื่องหมายห้าม เครื่องหมายห้าม ความหมาย ห้ามทั่วไป (General prohibition) ห้ามสูบบุหรี่ (No smoking) ห้ามจุดไฟและก่อประกายไฟ ห้ามท าให้เกิดประกายไฟ ห้ามสูบบุหรี่ (No open flame; fire, open ignition source and smoking prohibited) ห้ามผ่าน (No thoroughfare) ห้ามใช้ดื่ม (Not drinking water)


31 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) เครื่องหมายห้าม ความหมาย รถยกและยานพาหนะงานอุตสาหกรรม ห้ามเข้า (No access for fork lift trucks and other industrial vehicles) บุคคลที่ติดอุปกรณ์ควบคุมการเต้นของหัวใจ ห้ามเข้า (No access for persons with pacemakers) ห้ามวัสดุโลหะหรือนาฬิกา (No metallic articles or watches) ห้ามใช้น ้าดับไฟ (Do not extinguish with water) ห้ามสัมผัส (Do not touch) ห้ามใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ (Do activated mobile phones) บุคคลที่มีโลหะฝังใน ห้ามเข้า (No access for persons with metallic implants) ห้ามยื่นสิ่งใดเข้าไป (No reaching in)


32 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) เครื่องหมายห้าม ความหมาย ห้ามผลัก (No pushing) ห้ามนั่ง (No sitting) ห้ามเหยียบ (No stepping on surface) ห้ามใช้ลิฟต์ขณะเกิดเพลิงไหม้ (Do not use lift in the event of fire) ห้ามน าสุนัขเข้า (No dogs) ห้ามรับประทานอาหารหรือเครื่องดื่ม (No eating or drinking) ห้ามวางสิ่งกีดขวาง (Do not obstruct) ห้ามเดินหรือยืนบริเวณนี้ (Do not walk or stand here)


33 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) (2) เครื่องหมายเตือน เครื่องหมายเตือน ความหมาย เครื่องหมายเตือนทั่วไป (General warning sign) ระวังวัตถุระเบิด (Warning: explosive material) ระวังวัตถุกัมมันตรังสีหรือรังสีชนิดก่อไอออน (Warning: radioactive material or ionizing radiation) ระวังล าแสงเลเซอร์ (Warning: laser beam) ระวังรังสีชนิดไม่ก่อไอออน (Warning: non-ionizing radiation) ระวังสนามแม่เหล็ก (Warning: magnetic field) ระวังสิ่งกีดขวาง (Warning: obstacles)


34 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) เครื่องหมายเตือน ความหมาย ระวังตก (Warning: drop (fall)) ระวังอันตรายจากสารชีวภาพ (Warning: biological hazard) ระวังอุณหภูมิต ่า/ภาวะเยือกแข็ง (Warning: low temperature/freezing conditions) ระวังพื้นลื่น (Warning: slippery surface) ระวังอันตรายจากไฟฟ้า (Warning: electricity) ระวังสุนัข (Warning: guard dog) ระวังรถยกและยานพาหนะงานอุตสาหกรรม (Warning: fork lift trucks and other industrial vehicles)


35 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) เครื่องหมายเตือน ความหมาย ระวังของตกจากที่สูง (Warning: overhead load) ระวังวัตถุมีพิษ (Warning: toxic material) ระวังพื้นผิวร้อน (Warning: hot surface) ระวังเครื่องจักรท างานโดยอัตโนมัติ (Warning: automatic start-up) ระวังถูกหนีบ (Warning: crushing) ระวังศีรษะ (Warning: overhead obstacles) ระวังอันตรายจากไฟ/วัตถุไวไฟ (Warning: risk of fire/ flammable materials)


36 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) เครื่องหมายเตือน ความหมาย ระวังของมีคม (Warning: sharp elements) ระวังสารกัดกร่อน (Warning: corrosive substance) ระวังหนีบมือ (Warning: danger of crushing hand) ระวังแสงเข้าตา (Warning: optical radiation) ระวังสารออกซิไดซ์ (Warning: oxidizing substance)


37 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) (3) เครื่องหมายบังคับ เครื่องหมายบังคับ ความหมาย เครื่องหมายบังคับทั่วไป (General mandatory action sign) ต้องศึกษาคู่มือ ค าแนะน า (Refer to instruction manual/booklet) ต้องสวมอุปกรณ็ปกป้องหู (Wear ear protection) ต้องสวมอุปกรณ์ปกป้องตา (Wear eye protection) ต้องต่อสายดิน (Connect an earth terminal to the ground) ต้องดึงเต้าเสียบออกจากเต้ารับ (Disconnect mains plug from electrical outlet) ต้องสวมอุปกรณ์ปกป้องตาชนิดกรองแสง (Wear opaque eye protection)


38 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) เครื่องหมายบังคับ ความหมาย ต้องสวมรองเท้านิรภัย (Wear safety footwear) ต้องสวมถุงมือ (Wear protective gloves) ต้องสวมชุดปกป้องร่างกาย (Wear protective clothing) ต้องล้างมือ (Wash your hands) ต้องจับราว (Use handrail) ต้องสวมอุปกรณ์ปกป้องใบหน้า (Wear face shield) ต้องสวมอุปกรณ์ปกป้องศีรษะ (Wear head protection)


39 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) เครื่องหมายบังคับ ความหมาย ต้องสวมเสื้อผ้าสะท้อนแสง (Wear high visibility clothing) ต้องสวมหน้ากากอนามัย (Wear a mask) ต้องสวมอุปกรณ์ปกป้องทางเดินหายใจ (Wear respiratory protection) ต้องใส่สายรัดตัวนิรภัย (Wear safety harness) ต้องสวมหน้ากากส าหรับงานเชื่อม (Wear welding mask) ต้องคาดเข็มขัดนิรภัย (Wear safety belt)


40 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) เครื่องหมายบังคับ ความหมาย ต้องใช้สะพานเดินข้าม (Use footbridge) ต้องติดวงจรก่อนซ่อม (Disconnect before carrying out maintenance or repair) (4) เครื่องหมายสารนิเทศเกี่ยวกับสภาวะปลอดภัย เครื่องหมายสารนิเทศ ความหมาย เกี่ยวกับสภาวะปลอดภัย ทางออกฉุกเฉิน ซ้ายมือ (Emergency exit) (left hand) ทางออกฉุกเฉิน ขวามือ (Emergency exit) (right hand) ปฐมพยาบาล (First aid) โทรศัพท์ฉุกเฉิน (Emergency telephone)


41 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) เครื่องหมายสารนิเทศ ความหมาย เกี่ยวกับสภาวะปลอดภัย ทิศทางตรงสีที่ปลอดภย (Direction, arrow (90o increments) safe condition) ทิศทางเฉียงสีที่ปลอดภย (Direction, 45 o arrow (90o increments) safe condition) จุดรวมพล (Evacuation assembly point) ทุบให้แตกเพื่อใช้งาน (Break to obtain access) หน่วยแพทย์ (Doctor) เครื่องกระตุ้นหัวใจด้วยไฟฟ้าอัตโนมัติ ที่ล้างตาฉุกเฉิน (Eyewash station)


42 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) เครื่องหมายสารนิเทศ ความหมาย เกี่ยวกับสภาวะปลอดภัย ฝักบัวอาบน ้าฉุกเฉิน (Safety shower) เปล (Stretcher) (5) เครื่องหมายอุปกรณ์เกี่ยวกับอัคคีภัย เครื่องหมายอุปกรณ์ เกี่ยวกับอัคคีภัย ความหมาย อุปกรณ์ดับเพลิงยกหิ้ว (Fire extinguisher) สายดับเพลิง (Fire hose reel) บันไดหนีไฟ (Fire ladder) ที่จุดเก็บุอปกรณ์ผจญเพลิง (Collection of firefighting equipment)


43 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) เครื่องหมายอุปกรณ์ เกี่ยวักบอัคคีภัย ความหมาย จุดกดแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (Fire alarm call point) โทรศัพท์แจ้งเหตุเพลิงไหม้ (Fire emergency telephone)


44 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) กฎความปลอดภัยในการยกและเคลื่อนย้ายวัสดุด้วยแรงกาย 1 2 3 4 5 6 7 ) ยืนหันหน้าเข้าหาวัสดุที่จุดเริ่มต้นและจุดปลายทางของงานยก ) ไม่ควรยกวัสดุขึ้นอย่างรวดเร็ว หรือด้วยอาการกระชาก ) ไม่ควรเหวี่ยงหรือโยนวัสดุ ) ขณะยกวัสดุขึ้นหรือวางลง ควรงอเข่า หลังตรงหรือก้มเล็กน้อย ) ขณะยกวัสดุขึ้นหรือวางลง ควรให้วัสดุวางอยู่ตรงด้านหน้าและใกล้ชิดตัวมากที่สุด ) ถ้าวัสดุมขนาดใหญ่ อาจยกในท่าที่นั่งคุกเข่าข้างเดียว ) ถ้าไม่สามารถยกและเคลื่อนย้ายวัสดุเพียงคนเดียวได้ควรเรียกเพื่อนมาช่วยยก และเคลื่อนย้าย หรือใช้อุปกรณ์ช่วยยกและเคลื่อนย้ายวัสดุ ) กรณีที่จ าเป็นต้องใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล จะต้องใช้อุปกรณ์ ที่นายจ้างจัดหาให้ ) บริหารร่างกายในช่วงหยุดพัก เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ จากการยกและเคลื่อนย้ายวัสดุด้วยแรงกาย 0) เมื่อต้องยกของที่มีน ้าหนักมากให้หลีกเลี่ยงการใช้อริยาบถที่ออกแรงมากเกินไป ซึ่งจะเป็นการใช้ก าลังกล้ามเนื้อเพียงอย่างเดียว สิ่งที่ถูกต้องคือให้ยกน ้าหนัก ไว้ที่ศูนย์กลางของความโน้มถ่วงโดยให้ย่อตัวลง 8 9 1 11) เมื่อต้องยกของหนักนั้นขึ้นเหนือหัวไหล่ให้ใช้ม้าส าหรับรองเท้าและเมื่อต้องยกของ ต ่ากว่าหัวเข่าให้ย่อัตวลง


45 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) 12) การหันหลังหรือการหมุนตัวอย่างรวดเร็วในขณะที่ยกของหนักด้วยมือเปล่าจะท าให้หลัง ของท่านๆได้รับบาดเจ็บได้ดังนั้น จึงต้องมีการเปลี่ยนทิศทางการก้าวเดิน เมื่อมีการ เปลี่ยนทิศทางของน ้าหนักสิ่งของดังกล่าว 1 1 1 3) การวางน ้าหนักลงควรกระท าอย่างช้าๆ ละมุนละมอม การเหวี่ยงน ้าหนักสิ่งของนั้นเป็น อันตรายอย่างยิ่ง ซึ่งน ้าหนักนั้นอาจไปกระทบถูกผู้คนข้างเคียงหรือเกิดการกระแทก 4) ในขณะที่มีการแบกของไว้บนไหล่ ลานสายตาอาจถูกบังได้ดังนั้นสิ่งของที่วางเกะกะบน ทางเดินนั้นควรจัดการน าออกไปจากบริเวณนั้นเป็นการล่วงหน้า 5) เมื่อมีการขนย้ายวัตถุสิ่งของที่มีความยาวด้วยมือเปล่าให้แบกวัตถุนั้นไว้บนไหล่ โดยให้ ยกวัตถุนั้นเชิดขึ้นให้ปลายวัตถุด้านหน้าสูง และปลายวัตถุด้านหลังต ่า ระมัดระวังมิให้ วัตถุนั้นไปชนผนังในขณะเลี้ยวมุมหรือขณะที่ผ่านทางเข้า 1 1 1 6) วัตถุที่วางซ้อนๆ กันควรใช้เชือกมัดให้เรียบร้อย เพื่อป้องกันมิให้วัตถุนั้นหล่นในขณะ ขนย้าย 7) ในการขนย้ายวัตถุที่ต้องใช้คนยกหลายคน ควรเลือกคนยกของเหล่านั้นให้มีขนาดความ สูงและความแข็งแรงใกล้เคียงกัน 8) ในการยกของร่วมกับบุคคลอื่นจะต้องมีการเลือกใช้สัญญาณต่างๆ เพื่อสื่อสารและ เป็นที่เข้าใจตรงกันของทุกฝ่ายและใช้สัญญาณดังกล่าวเมื่อยกวัตถุขึ้นและยกวัตถุลง


46 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) กฎความปลอดภัยในการใช้รถยก (Fork Lift) 1. ห้ามบุคคล ซึ่งไม่มีหน้าที่ หรือไม่ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชาท าการขับขี่รถยกโดยเด็ดขาด 2. ในขณะที่มีการขับขี่รถยกห้ามบุคคลอื่นโดยสาร หรือขึ้นไปอยู่บนรถ 3. ก่อนใช้รถยกในแต่ละวัน ผู้ปฏิบัติงานที่มีหน้าที่ขับขี่ ต้องท าการตรวจสอบสภาพรถทุกครั้ง (สภาพภายนอก, ระบบบังคับการ, ระบบห้ามล้อ) 4. เมื่อยกของที่มีขนาดใหญ่กว่า ช่วงยาวของงา จะต้องท าการผูกมัดของที่ยกให้ยึดติดมั่นคงกับรถยก 5. การขับรถยกลงตามทางลาด ผู้ขับขี่จะต้องใช้เกียร์ต ่า 6. การบรรทุกของ ห้ามบรรทุกของหนักเกินกว่าพิกัดที่ก าหนดไว้ และห้ามบรรทุกของสูงเกินไป เพราะจะบังสายตาของผู้ขับขี่ 7. ห้ามท าการยก หรือบรรทุกของเกินอัตราที่พื้น หรือกระดานทางลาดจะรับน ้าหนักไว้ได้ 8. พนักงานขับรถยกต้องสวมหมวกนิรภัย รถยกต้องมีหลังคาโครงเหล็กปกคลุมเหนือตัวคนขับ ทั้งนี้เพื่อป้ องกันของตกใส่จากที่สูง 9. ผู้ขับขี่รถยกต้องส ารวจเส้นทางให้แน่ใจว่า เส้นทางที่จะควบคุมรถให้วิ่งไปนั้น มีความกว้างเพียงพอที่ รถ จะวิ่งผ่านไปได้และไม่มีสิ่งกีดขวาง 10. ก่อนจะเคลื่อนรถยก ต้องยกงาให้พ้นจากพื้นไม่น้อยกว่า 10 เซ็นติเมตร และเมื่อรถโฟร์คลิฟท์วิ่งให้ยก งาสูงกว่าระดับพื้นไม่เกิน 30 เซนติเมตร พร้อมทั้งยกปลายงาเข้าหาคนขับ เพื่อป้ องกันวัตถุที่ยกไหลตก ลงมา 11. เมื่อเลิกใช้งาน ต้องปล่อยงาให้ลงต ่าแตะพื้น ในลักษณะวางขนานกับพื้น ดับเครื่อง ห้ามดึงล้อมือ ถ้าจอดไว้ในบริเวณที่เป็ นพื้นเอียงต้องใช้ไม้หมอนยันล้อไว้เพื่อป้ องกันรถไหล 12. ต้องให้สัญญาณเสียงและไฟกระพริบ เมื่อรถยกวิ่งถอยหลัง 13. ควรปรับระยะกว้างของงาให้กว้างที่สุดและพอเหมาะกับพื้นรองยก เพื่อไม่ให้วัสดุเอียงตก และเพื่อ กระจายน ้าหนัก 14. การสอดงา ควรให้งาทั้งสองห่างจากศูนย์กลางพื้นรองยกเท่ากัน เพื่อรักษาสมดุลของวัตถุ 15. เมื่อต้องการใช้รถยก ในสถานที่ที่มีแสงสว่างไม่เพียงพอ หรือ ในเวลากลางคืน ต้องจัดให้มีไฟส่อง สว่างทางข้างหน้า และรอบบริเวณท างาน 16. ความเร็วที่ใช้ในการขับรถยกต้องไม่เกิน 10 กม./ชั่วโมง


47 บริษัท เอสวีไอ จ ากัด (มหาชน) กฎความปลอดภัยในการใช้รถเข็นหรือแฮนด์ลิฟท์(Hand Lift) 1. อย่าใช้รถเข็นผิดวัตถุประสงค์ เช่น โดยสารไปกับรถเข็น หรือใช้รถเข็นไปผลัก ดันสิ่งของ หรือ รถคันอื่น 2. อย่าบรรทุกสิ่งของมากเกินกว่าน ้าหนักที่รถเข็นจะรับได้ 3. การจัดวางสิ่งของให้ของที่หนักที่สุดอยู่ด้านล่าง 4. ขณะเข็นรถให้เดินด้วยความเร็วปกติ อย่าวิ่ง 5. อย่าเข็นรถด้วยมือที่ลื่น หรือเปี ยกน ้า เพราะจะบังคับรถได้ไม่สะดวก 6. ขณะจอดรถให้ล็อคล้อ หรือน าสิ่งของมาวางขัดล้อไว้เสมอ 7. เมื่อเข็นรถผ่านทางลาด พื้นที่เปี ยกลื่น หรือขรุขระ ให้เดินอย่างช้าๆ ด้วยความระมัดระวัง 8. อย่าจอดรถกีดขวางทางเดิน ประตู หรือสิ่งของที่พนักงานคนอื่นต้องหยิบใช้ 9. การเข็นรถทางลงลาด ให้รถเข็นอยู่ด้านหน้า ถ้าเป็ นการเข็นขึ้นทางลาดให้รถเข็นอยู่ด้านหลัง 10. เมื่อถึงทางแยก หรือบริเวณมุม ให้หยุดเพราะอาจชนกับเพื่อนร่วมงานที่เดินผ่านมาได้ ให้ทาง คนเดินก่อนเสมอ กฎความปลอดภัยในการใช้รถเข็นหรือแฮนด์ลิฟท์(Hand Lift) กฎความปลอดภัยในการท างานบนที่สูง 1. อย่าใช้รถเข็นผิดวัตถุประสงค์ เช่น โดยสารไปกับรถเข็น หรือใช้รถเข็นไปผลัก ดันสิ่งของ หรือ รถคันอื่น 2. อย่าบรรทุกสิ่งของมากเกินกว่าน ้าหนักที่รถเข็นจะรับได้ 3. การจัดวางสิ่งของให้ของที่หนักที่สุดอยู่ด้านล่าง 4. ขณะเข็นรถให้เดินด้วยความเร็วปกติ อย่าวิ่ง 5. อย่าเข็นรถด้วยมือที่ลื่น หรือเปี ยกน ้า เพราะจะบังคับรถได้ไม่สะดวก 6. ขณะจอดรถให้ล็อคล้อ หรือน าสิ่งของมาวางขัดล้อไว้เสมอ 7. เมื่อเข็นรถผ่านทางลาด พื้นที่เปี ยกลื่น หรือขรุขระ ให้เดินอย่างช้าๆ ด้วยความระมัดระวัง 8. อย่าจอดรถกีดขวางทางเดิน ประตู หรือสิ่งของที่พนักงานคนอื่นต้องหยิบใช้ 9. การเข็นรถทางลงลาด ให้รถเข็นอยู่ด้านหน้า ถ้าเป็ นการเข็นขึ้นทางลาดให้รถเข็นอยู่ด้านหลัง 10. เมื่อถึงทางแยก หรือบริเวณมุม ให้หยุดเพราะอาจชนกับเพื่อนร่วมงานที่เดินผ่านมาได้ ให้ทาง คนเดินก่อนเสมอ 1. ผู้ปฏิบัติงานต้องขอใบอนุญาตท างานบนที่สูง และปฏิบัติงานอยู่ภายใต้การดูแลอย่างใกล้ชิด ของหัวหน้างาน 2. การชับันไดขึ้น-ลงจากที่สูง ต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่ามีการยึดอย่างแน่หนาหรือมีผู้ช่วยจับไว้ให้ 3. การปฏิบัติงานใกล้กับสายไฟหรืออุปกรณ์ไฟฟ้ า ควรสวมใส่อุปกรณ์ที่สามารถป้ องกัน กระแสไฟฟ้ าได้ 4. นั่งร้านที่สูงกว่า 2 เมตร ต้องมีราวกันตก สูง 90 ซม. แต่ไม่เกิน 1.10 เมตร และจะต้องมีการ ตรวจสอบความแข็งแรงของก่อนการใช้งาน 5. การท างานบนที่สูงตั้งแต่ 2 เมตรขึ้นไปจะต้องมีการป้ องกันการตกหล่นหรือนั่งร้าน 6. การท างานสูงเกิน 4 เมตรจะต้องสวมใส่เข็มขัดนิรภัย และราวกันตกหรืออุปกรณ์อื่นๆตาม ความเหมาะสม 7. การใช้รถเครนต้องมีแผ่นเหล็กรอขาช้าง เพื่อป้ องกันวางไม่ได้ระนาบหรืออ่อนตัว 8. คนขับรถเครนและผู้ให้สัญญาณจะต้องผ่านการฝึกอบรม 9. รถเครนต้องผ่านการตรวจสอบจากเจ้าหน้าที่ก่อนการใช้งาน


Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.