บทคัดย่อ (1) (1) Flipbook PDF


7 downloads 115 Views 1MB Size

Story Transcript

โครงงาน เรื่อง กระดาษรีไซเคิลจากกากกาแฟ

จัดทำโดย นายกีรติ นายภาวัต นายวรกฤต นายธนาคิม

ทิปกะ สวยเงิน ลือวิมล สุขสงา

เลขที่ 7 เลขที่ 8 เลขที่ 9 เลขที่ 10

รายงานฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของวิชา การสื่อสารและนำเสนอ รหัสวิชา I30202 ภาคเรียนที่ 2 ประจำปการศึกษา 2565 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา ๒ เขตสามวาตะวันออก จังหวัดกรุงเทพมหานคร

บทคัดยอ โครงงานเรือ่ ง เตาปง ยางแบบพกพา มีจุดประสงคเพื่อ (1)ลดเศษขยะจากอะลูมเิ นียมเหลือใช (2)ประดิษฐเตาใชเองไดในราคาที่จำกัด (3)ใชเวลาวางใหเกิดประโยชนสูงสุด และ (4)ศึกษาคุณสมบัติของ อะลูมเิ นียม (5) ศึกษาชนิดของเลื่อย (6) ศึกษาประเภทของกระดาษทราย ในการทดลอดสรางเตาปงยางแบบพกพา คณะผูจ ัดทำไดใชอุปกรณในการทำโดยประกอบดวย (1)เศษอะลูมิเนียม (2)เลื่อยตัดอะลูมเิ นียม (3)ตะไบ (4)กระดาษทราย โดยมีวิธีการทำดังนี้ (1)เตรียม อะลูมเิ นียมเหลือใช (2)วัดขนาดอะลูมเิ นียมที่ตอ งการตัด (3)นำเลื่อยมาตัดอะลูมิเนียมตามที่วัดไว (4)นำ อะลูมเิ นียมที่ตัดแลวตะไบขอบที่แหลมคม (5)น้ำกระดาษทรายมาขัดอะลูมเิ นียมที่ตะไบแลวใหสวยการ ตามที่ตองการ (6)นำอะลูมเิ นียมที่ขัดแลวมาเช็ดทำความสะอาด และสามารถนำมาใชไดเลย จากการบันทึกผลทดลองและศึกษารวมรวมขอมูลทัง้ หมด พบวา เตาปงยางแบบพกพา สามารถ นำมาใชงานไดจริง ผลลัพธหลังการใชงานมีคุณภาพที่ตางจากเตาปงยางทั่วไปทั่วไปเนื่องจากตัวเตาปงยาง ทำมาจากอะลูมิเนียม ทีม่ ีคุณสมบัตินำความรอนไดดี มีความทนทาน มีรปู รางทีส่ วยงาม พกพาสะดวก และ ภาพรวมชิ้นงานมีผลตรงตามจุดประสงคของคณะผูจ ัดทำ

กิตติกรรมประกาศ โครงงานประดิษฐฉบับนีส้ ำเร็จลุลวงไดอยางสมบูรณ เนื่องดวยความชวยเหลืออยางยิง่ จาก คุณครูอารยา บัววัฒน คุณครูที่ปรึกษา ที่ไดใหคำแนะนำปรึกษา และใหขอมูลตาง ๆ ขอกราบขอบพระคุณ อยางสูง ณ โอกาสนี้ ขอขอบพระคุณคุณครู โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา ๒ ที่ไดใหคำแนะนำตลอดจนการ ตรวจสอบเครื่องมือที่ใชในงานวิจัย อนึ่ง ผูวิจัยหวังวา งานวิจัยฉบับนี้จะมีประโยชนอยูไมนอย จึงขอมอบสวนดีทั้งหมดนี้ใหแก เหลาอาจารยที่ไดประสิทธิ์ประสาทวิชาจนทำใหผลงานวิจัยเปนประโยชนตอผูเ กี่ยวของและขอมอบ ความกตัญู กตเวทิตาคุณแดบิดา มารดา และผูม ีพระคุณทุกทานตลอดจนเพือ่ น ๆ ที่คอยใหความ ชวยเหลือและกำลังใจ สำหรับงานวิจัยฉบับนี้

คณะผูจัดทำ

สารบัญ บทคัดยอ กิตติกรรมประกาศ บทที่ 1 : บทนำ บทที่ 2 : เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ บทที่ 3 : วิธีดำเนินการทดลอง บทที่ 4 : ผลการทดลอง บทที่ 5 : สรุปผล อภิปราย และขอเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก ประวัติผูศกึ ษาคนควา

หนา ก ข 1-2 3-11 12-17 18-20 21-22 23-24 25-29 30-33

บทที่ 1 บทนำ 1.1 ที่มาและความสำคัญ ปญหาเรือ่ งสําหรับคนทีช่ ่นื ชอบการจัดงานปาร์ต้เี ล็กๆ แต่เตาไฟฟ้ าก็มขี อ้ เสียทีอ่ อกนอกสถานทีอ่ าจจะไม่ ค่อยสะดวกมากนัก และในปั จจุบนั มีการผลิตเตาแบบพกพาทีส่ ามารถใช้งานได้ทงั ้ ถ่านและแบบเตาแก๊สที่มรี าคาสูง เลยทีเดียว นอกจากนี้กย็ งั มีเตาบาร์บีควิ ทีใ่ ช้แสงอินฟาเรดทีใ่ ห้การเผาไหม้ทสี่ มบูรณ์ ให้ความสะดวกและรวดเร็วแต่ ก็ราคาสูงเช่นเดียวกัน

ในภายหลัง สมาชิกภายในกลุมไดมีการปรึกษาและนำมาเสนอเพื่อรวมกันออกความคิดเห็นอีกครั้ง พบวาที่บานของสมาชิกทานหนึ่งมีเศษเหล็กและอะลูมิเนียมมากมาย เลยตัดสินใจคิดวาจะทำเตายางขนาด พกพาสะดวกและงายตอการใชงานทีเ่ รากำลังจะนำเสนอตอไปนี้

1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา 1.2.1 เพื่อการนำอลูมเิ นียมมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด 1.2.2 ปญหาของการพกพาทีล่ ำบากของเตายาง 1.2.3 ใชเวลาวางใหเกิดประโยชนสูงสุด

1.3 ขอบเขตของการศึกษา 1.3.1 ประหยัดตนทุนในการซื้อเตายางใหม 1.3.2 นำวัสดุเหลือใชมาสรางประโยชน 1.3.3 คุณภาพ กลิ่น สี ของอลูมิเนียม 1.3.4 ความพึงพอใจตอผลิตภัณฑ

1.4 สมมติฐานของการศึกษา

1.4.1 อลูมิเนียมหรือเหล็กทีส่ ามารถใชไดจริง 1.4.2 มีรายไดเสริมในวัยเรียนจากการขายผลิตภัณฑ 1.4.3 นำวัสดุเหลือใชมาใชใหมใหเกิดประโยชนสงู สุด

1.5 ตัวแปรที่ศึกษาคนควา 1.5.1 ตัวแปรตน - อลูมิเนียมเหลือใช - อุปกรณที่ใชทำ 1.5.2 ตัวแปรตาม - การใชงานไดจริงของเตายางขนาดพกพา 1.5.3 ตัวแปรควบคุม - คุณภาพของอลูมเิ นียม - ปริมาณอลูมเิ นียมที่ใช - ปริมาณเศษเหล็กและอลูมเิ นียม

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ที่เกีย่ วของ ในปจจุบันอะลูมเิ นียมยังคงเปนสิง่ ที่ไดใชในหลายๆโอกาส เชน การใชในโรงอุสาหกรรม อุปกรณ ไฟฟา เครื่องครัว จึงทำใหเกิดบริษัทที่ผลิตเกี่ยวกับอะลูมเิ นียม รวมไปถึงไดพัฒนา ศึกษาเกี่ยวกับ อะลูมเิ นียมตอไป เพื่อเรียนรูและเขาใจในเรื่องของอะลูมเิ นียมมากขึ้น แตกลับละเลยเรือ่ ง ผลกระทบทีม่ ีตอสิง่ แวดลอมและความปลอดภัยของการเสาะหาอะลูมิเนียมมานั้น เนื่องจาก อะลูมเิ นียมเปนแรชนิดหนึ่ง ซึ่งการที่จะไดมานั้นตองใชหลายกระบวนการกวาทีจ่ ะไดมา อาจจะเปนอันตราย ตอสิ่งแวดลอมเมื่อผูผ ลิตนำสวนผสมจากธรรมชาติมาใชจนมากเกินไป สงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและ ผูบริโภค คณะผูจัดทำจึงไดศึกษาเกี่ยวกับการรีไซเคิลอะลูมเิ นียมที่เหลือใชกับมาใชใหม โดยผูจัดทำไดศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของเพื่อเปนพื้นฐานในการทำโครงงาน หัวขอที่ศึกษามีดังนี้ 1.ปริมาณเศษขยะในประเทศ 2.การประยุกตของอะลูมิเนียม 3.ประเภทของอะลูมิเนียม 4.คุณสมบัติของอะลูมิเนียม

ปริมาณขยะในประเทศ อธิบดีกรมอนามัย กลาววา วันที่5 มิถุนายน ของทุกปเปนวันสิ่งแวดลอมโลก ซึ่งในปนี้ได กำหนดการรณรงคภายใตหัวขอ “Only One Earth” หรือ “โลกเรามีเพียงใบเดียว” มนุษยยังใชชีวิต สราง สิ่งอำนวยความสะดวกแบบไรขีดจำกัด สงผลกระทบจนอาจเกิดวิกฤติดานสิ่งแวดลอมได ซึ่งจากสถิติ งานวิจัยที่ตีพิมพในวารสาร Science Advances เมือ่ เดือนตุลาคม ป 2563 พบวา ประเทศไทยมีการสราง ขยะพลาสติกตอประชากรสูงเปนอันดับที่ 5 ของโลก โดยมีปริมาณขยะพลาสติก 4,796,494 ตัน/ป (หรือ ราว 69.54 กิโลกรัม/ป/คน) และมีสัดสวนขยะพลาสติกในขยะทั่วไปมากเปนอันดับที่ 3 ของโลก ปริมาณ พลาสติกในประเทศไทย แบงเปนประเภทถุงพลาสติก 1.11 ลานตัน ขวดพลาสติก 0.40 ลานตัน แกว กลอง และถาดพลาสติก 0.23 ลานตัน ตามลำดับ

https://www.onep.go.th/4%e0%b8%a1%e0%b8%b4%e0%b8%96%e0%b8%b8%e0%b8%99%e0%b8%b2%e0%b8% a2%e0%b8%99-2565%e0%b9%84%e0%b8%97%e0%b8%a2%e0%b8%aa%e0%b8%a3%e0%b9%89%e0 %b8%b2%e0%b8%87%e0%b8%82%e0%b8%a2%e0%b8%b0%e0%b8%a1%e0%b8%b2/ สถานการณขยะมูลฝอยในป 2564 เกิดขึ้น 24.98 ลานตัน ลดลงจากป 2563 รอยละ 1 โดยขยะ มูลฝอยมีการคัดแยก ณ ตนทาง และนำกลับไปใชประโยชน จำนวน 8.61 ลานตัน เพิ่มขึ้นจากป 2563 รอย ละ 3 กำจัดอยางถูกตอง 9.68 ลานตัน เพิ่มขึ้นจากป 2563 รอยละ 6 และกำจัดไมถูกตองประมาณ 6.69 ลานตัน ลดลงจากป 2563 รอยละ 15 สาเหตุสวนหนึง่ ที่ทำใหปริมาณขยะมูลฝอยลดลงเนื่องมาจาก สถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 https://www.pcd.go.th/pcd_news/20802 ปริมาณขยะมูลฝอยทีเ่ กิดขึ้น 1.92 ลานตัน มีการจัดการขยะมูลฝอยถูกคัดแยก ณ ตนทาง และนำ กลับมาใชประโยชน 0.81 ลานตัน (รอยละ 42.41) เพิ่มขึ้นจากปทผี่ านมารอยละ 36.64สวนใหญเปนการนำ ขยะรีไซเคิลไปใชประโยชน และการใชประโยชนจากขยะอินทรีย การกำจัดขยะมูลฝอยอยางถูกตอง 0.79 ลานตัน (รอยละ 41.52) สงผลใหมีการจัดการขยะมูลฝอยอยางถูกตอง1.61 ลานตัน (รอยละ83.93) เพิ่มขึ้น จากปที่ผานมารอยละ 20.29 แตยังคงมีขยะมูลฝอยอีกประมาณ 0.31ลานตัน (รอยละ 16.07)กำจัดอยางไม ถูกตอง เชนครัวเรือนจัดการขยะดวยการเผา การเทกองในสถานที่กำจัดขยะมูลฝอย ซึ่งตองดำเนินการ จัดการใหถูกตองตอไป http://www.mnre.go.th/attachment/iu/download.php?WP=qUIcnKt4pQIgZKqCGWOg hJstqTgcWat0pQMgBKpmGQWgG2rDqYyc4Uux

การประยุกตของอะลูมิเนียม เมื่อวัดในทั้งปริมาณและมูลคา การใชอะลูมิเนียมมีมากกวาโลหะอื่น ๆ ยกเวนเหล็ก และมี ความสำคัญในเศรษฐกิจโลกทุกดาน

อะลูมเิ นียมบริสุทธิ์มีแรงตานการดึงต่ำ แตสามารถนำไปผสมกับธาตุตาง ๆ ไดงาย เชน ทองแดง สังกะสี แมกนีเซียม แมงกานีส และซิลิกอน (เชน duralumin) ในปจจุบันวัสดุเกือบทั้งหมดทีเ่ รียกวาอะลูมเิ นียม เปนโลหะผสมของอะลูมิเนียม อะลูมิเนียมบริสุทธิ์พบเฉพาะเมื่อตองการความทนตอการกัดกรอนมากกวา ความแข็งแรงและความแข็ง เมื่อรวมกับกระบวนการทางความรอนและกลการ (thermo-mechanical processing) โลหะผสมของ อะลูมเิ นียมมีคุณสมบัติทางกลศาสตรที่ดีขึ้น โลหะผสมอะลูมิเนียมเปนสวนสำคัญของเครือ่ งบินและจรวด เนื่องจากมีอัตราความแข็งแรงตอน้ำหนักสูง อะลูมเิ นียมสามารถสะทอนแสงที่มองเห็นไดดีเยี่ยม (~99%) และสามารถสะทอนแสงอินฟราเรดไดดี (~ 95%) อะลูมเิ นียมชั้นบาง ๆ สามารถสรางบนพื้นผิวเรียบดวยวิธีการควบแนนของไอสารเคมี (chemical vapor deposition) หรือวิธีการทางเคมี เพื่อสรางผิวเคลือบออปติคลั (optical coating) และกระจกเงา ผิวเคลือบเหลานีจ้ ะเกิดชั้นอะลูมิเนียมออกไซดที่บางยิ่งกวา ที่ไมสึกกรอนเหมือนผิวเคลือบเงิน กระจกเงา เกือบทั้งหมดสรางโดยใชอะลูมเิ นียมชั้นบางบนผิวหลังของแผนกระจกลอย (float glass). กระจกเงาใน กลองโทรทรรศนสรางดวยอะลูมเิ นียมเชนกัน แตเคลือบขางหนาเพื่อปองกันการสะทอนภายใน การหักเห และการสูญเสียจากความใส กระจกเหลานี้เรียกวา first surface mirrors และเกิดความเสียหายไดงายกวา กระจกเงาตามบานทั่วไปที่เคลือบขางหลัง ตัวอยางการนำเอาอะลูมิเนียมไปใชงาน เชน การขนสง (รถยนต เครื่องบิน รถบรรทุก ตูรถไฟ เรือทะเล จักรยาน ฯลฯ) ภาชนะ (กระปอง, ฟอยล ฯลฯ) การบำบัดน้ำ การรักษาปรสิตของปลา เชน Gyrodactylus salaris งานกอสราง (หนาตาง ประตู รางขาง ลวด ฯลฯ) การเคลือบสีอะลูมเิ นียมทีม่ ีขายในเมืองไทยตอนนี้ มี 3 แบบ ไดแก Anodized Aluminum, Powder Coated Aluminum และ Fluorocarbon Aluminum สำหรับงานอาคารสูงจะใช Powder Coated Aluminum เปนมาตรฐาน สินคาสำหรับผูบ ริโภคที่มีความคงทน (เครือ่ งใชไฟฟา อุปกรณครัว ฯลฯ)

ไฟฟาไฟฟา (ชิ้นสวนและลวดอะลูมเิ นียมมีความหนาแนนนอยกวาทองแดง และราคาถูกกวาดวย [1] แตมี ความตานทานไฟฟามากกวาดวย มีหลายพื้นที่ ที่หามใชลวดอะลูมเิ นียมสำหรับสายไฟตามบาน เนือ่ งจาก ความหนาแนนสูงกวาและขยายในความรอนมากกวา) เครื่องจักรกล แมเหล็กทีท่ ำจากเหล็กกลาเอ็มเคเอ็ม (MKM steel) แอลไนโก (Alnico) แมวาตัวอะลูมิเนียมเองจะใชวัตถุ แมเหล็กก็ตาม อะลูมเิ นียมความบริสุทธิ์สงู (SPA ยอจาก Super purity aluminum, 99.980% to 99.999% Al) ใชใน อิเล็กทรอนิกสและซีดี. อะลูมเิ นียมผง ใชเปนตัวเคลือบเงินในสี เกล็ดอะลูมิเนียมมีอยูในสีพื้น เชน สีเคลือบเนื้อไม (primer) — เมื่อ แหง เกล็ดจะซอนทับกันเปนชั้นกันน้ำ อะลูมเิ นียมแอโนไดส (anodized) คงทนตอการออกซิเดชั่นเพิ่มเติม และใชในการกอสรางในดานตาง ๆ รวมถึงการทำฮีตซิงก ดวย อุปกรณอเิ ล็กทรอนิกสสวนใหญที่ตองทำความเย็นของชิ้นสวนภายใน (เชน ทรานซิสเตอร ซีพียู - สารกึ่ง ตัวนำโดยทั่วไป) มีฮีตซิงกที่ทำจากอะลูมเิ นียม เนื่องจากผลิตงาย และนำความรอนไดดี ฮีตซิงกทองแดงเล็ก กวา แตแพงกวาและผลิตยากกวาดวย อะลูมเิ นียมออกไซด หรือ อะลูมินา, พบในธรรมชาติในรูปของแรกะรุน (ทับทิม และนิล), และใชในการผลิต กระจก ทับทิมและนิลสังเคราะหใชในเครื่องเลเซอร เพื่อผลิตแสงความถี่เดียว (coherent light) อะลูมเิ นียมออกซิไดสดวยพลังงานสูง ทำใหใชในเชื้อเพลิงแข็งสำหรับจรวด เธอรไมต (thermite) และ สารประกอบอื่น ๆ สำหรับทำดอกไมไฟ https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8 %A1%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A1 ความคงทนแข็งแรง อลูมิเนียมเปนโลหะที่มีความคงทนแข็งแรงและสามารถทนตอสภาพอากาศไดดี จึง เหมาะกับการนำมาใชงานในหลายๆ ดาน ซึ่งคุณสมบัตเิ ดนๆ ในเรื่องความคงทนของอลูมเิ นียม ก็คือ ไมบวม และไมมปี ญหาปลวกอยางแนนอน ทนตอสภาพอากาศไดดี จึงไมเปนสนิม แตถึงแมวาอลูมิเนียมจะมีความแข็งแกรงและทนทานมาก ก็มีจุดดอยเชนกัน นั่นก็คือ ไมสามารถทนตอการ กัดกรอนได โดยเฉพาะไอน้ำเค็ม จากทะเลที่อาจทำใหเกิดการกัดกรอนไดงายผลกระทบตอสิง่ แวดลอม อลูมเิ นียม เปนโลหะที่ไดจากธรรมชาติ จึงไมเปนพิษตอสิ่งแวดลอมหรือสภาพอากาศมากนัก ทัง้ สามารถ นำมารีไซเคิลเพือ่ นำกลับมาใชใหมไดโดยไมมีปญ  หาการกันความรอน เนื่องจากอลูมเิ นียมเปนตัวนำความ

รอนที่ดีเยี่ยมจึงไมสามารถทีจ่ ะกันความรอนได แตในขณะเดียวกันก็ไดรับความนิยมในการนำมาใชผลิต อุปกรณเครื่องครัวมากความสวยงาม อลูมิเนียมมีสสี ันทีห่ ลากหลายและสวยงาม จึงสามารถนำมาใช ประโยชนไดอยางหลากหลาย และไดรบั ความนิยมมากพอสมควร https://sathai.com/%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B9%80% E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A1/ 1. การบินและอวกาศ: สำหรับอุปกรณการบินและอวกาศ น้ำหนักเบาเปนสิง่ สำคัญมาก ดังนั้นวัสดุโลหะ ผสมอลูมิเนียมความหนาแนนต่ำจึงเหมาะมากสำหรับวัสดุอปุ กรณการบินและอวกาศ ในแงของความ แข็งแรงของโครงสราง อลูมเิ นียมอัลลอยดไมตางจากเหล็กออนมากนัก ดังนั้นวัสดุโลหะผสมอลูมเิ นียมใน ปจจุบันจึงสามารถกลาวไดวาเปนวัสดุในอุดมคติสำหรับอุปกรณการบินและอวกาศ 2. อุตสาหกรรมทางทะเล: อลูมิเนียมอัลลอยดสามารถทำเปนชิ้นสวนและสวนประกอบของระบบสงกำลังได หลากหลาย เชน ตัวเรือและทอสง โครงสรางรองรับของเรือและอุปกรณสนับสนุนบางอยาง เปนตน การใช อลูมเิ นียมอัลลอยดเปนวัตถุดิบโดยหลักแลวตองคำนึงถึงความแข็งแรงของโครงสรางของโลหะผสม อลูมเิ นียม อีกทัง้ ยังไมงายที่จะกัดกรอนดวยน้ำทะเล 3. อุตสาหกรรมเคมี: โลหะผสมอลูมเิ นียมมีการนำความรอนที่ดี ในอุตสาหกรรมเคมีมักใชเปนอุปกรณ กระจายความรอน และตัวอลูมิเนียมอัลลอยดเองก็มีความเสถียรทางเคมีที่ดี ซึ่งทำใหโลหะผสมอลูมเิ นียม สามารถทนตอการกัดกรอนของสารเคมีที่กัดกรอนไดหลายชนิด 4. อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ 4 แหง: บรรจุภัณฑอลูมเิ นียมอัลลอยดเปนเรือ่ งธรรมดามาก โลหะผสม อลูมเิ นียมทีม่ ีโครงสรางที่แข็งแรง มันวาวสวยงาม ประสิทธิภาพการกั้นที่ดเี ยี่ยม ครอบครองสถานที่ในบรรจุ ภัณฑอยางรวดเร็ว 5. อุตสาหกรรมอื่น ๆ: ในดานการผลิตเครื่องจักร ชิ้นสวนโลหะผสมอลูมเิ นียมยังมีตลาดที่กวางมาก ใน ทิศทางของความจำเปนประจำวัน อลูมิเนียมอัลลอยดยังถูกดุและยอมรับอยางตอเนือ่ ง ไมวาจะเปนอุปกรณ ทางการแพทย ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส มีเคสอลูมิเนียมอัลลอยดมากมาย https://th.asitesd.com/info/the-application-of-aluminum-alloy-materials-in-58683272.html

ประเภทของอะลูมิเนียม 1. 2. 3. 4. 5.

อลูมเิ นียมสีขาว เปนสีทางธรรมชาติและราคาถูกที่สุด อลูมเิ นียมสีชาหรือสีทอง เปนสีที่แพงขึ้นเปนลำดับทีส่ อง อลูมเิ นียมสีน้ำตาลหรือสีทองดำ เปนสีที่แพงขึ้นเปนลำดับที่ 3 อลูมเิ นียมสีดำ เปนสีที่แพงขึ้นเปนลำดับที่ 4 อลูมเิ นียมหลากสี แพงทีส่ ุด โดยมีราคาแพงกวาสีดำมากถึง 50%

https://www.chi.co.th/article/article-858/

1.อลูมเิ นียมทีม่ ีความบริสุทธิ์มากกวา9 9.00% AL แทนดวย 1XXX เหมาะสำหรับนำแผนมาสะทอนแสง และเปนตัวนำความรอนและไฟฟาไดดสี ำหรับงานอิเล็กทรอนิกสมรี ะดับความทนทานต่ำทำใหงายตอการ แปรรูปทนตอการกัดกรอนไดดีเชน AA1100, AA1050 2.อลูมเิ นียมผสมทองแดง Copper(Cu) Al-Cu แทนดวย 2XXX เหมาะสำหรับนำไปใชงานทางดานความ รอนซึง่ ทองแดงสามารถละลายไดอลูมเิ นียมสูงสุด 5.65%ณอุณหภูมิ 548 องศาเซสเซียสและความสามารถ ในการละลายจะลดลงเมื่ออุณหภูมิสงู ขึ้น อุณหภูมิ200องศาเซลเซียส ความสามารถในการละลายของ ทองแดงจะลดลงเหลือประมาณ 0.5%ไดแกเกรด A2001, A2014, A2017, A2024 3.อลูมเิ นียมผสมแมงกานีส Manganese(Mn) AL-Mn แทนดวย 3XXX ซึ่งหากเพิม่ แรแมงกีสที่ 1.2% จะได วัสดุดลหะผสมที่คอนขางมีความแข็งแรง แตเขากระบวนการแปรรูปไดไมดเี หมาะกับการนำไปใชงานดาน การผลิตโครงสรางที่ตองการความทนทาน ไดแก A3003 4.อลูมเิ นียมผสมซิลิกอน Silicon(Si) AL-SI แทนดวย 4XXX เหมาะในการนำไปใชสำหรับงานที่ตองการการ ทนทานตอความรอนไดแกลูกสูบ กระบอกสูบ หองเครื่องและกานสูบเปนตนไดแก A4032

5.อลูมเิ นียมผสมแมกนีเซียม Magnesium(Mg) Al-Mg แทนดวย 5XXX แรแมกนีเซียมมีความสามารถใน การละลายรวมถึงการหลอมรวมกับอลูมิเนียมต่ำ หากนำมาผสมมากจะทำใหวัสดุเปราะแตกหักงายและแข็ง จึงพบอลูมิเนียมทีผ่ สมในอัตราสวนที่มากไดคอนขางนอยไดแก A5052, A5056, A5083 6.อลูมเิ นียมผสม Magnesium(Mg) แมกนีเซียม และ Silicon(Si) AL-Mg-Si แทนดวย 6XXX เปน อลูมเิ นียมผสมที่มสี ัดสวนและปริมาณทั่วไปคือแมกนีเซียม 0.6-1.2% และซิลิคอน 0.4-1.3% ซึ่งถือวาเปน สวนผสมทีม่ ีอัตราสวนนอย ซึ่งสามารถเพิ่มความแข็งแรงดวยการเติมสัดสวนโครเมืยมหรือทองแดงเขาไปได ไดแก A6061, A6063 7.อลูมเิ นียมผสมสังกะสี Zinc(Zn) AL-Zn-Mg แทนดวย 7XXX มีคุณสมบัตเิ ดนในดานความแข็งแรงและมี ความทนทานสูงสุดในกลุมอลูมเิ นียมอัลลอยทั้งหมดนำไปใชงานดานการผลิตยานอวกาสและโครงสรางทีม่ ี ขนาดใหญไดแก A7075 8.อลูมเิ นียมผสมธาตุอื่นๆเชน Nickel(Ni) นิเกิล Titanium(Ti) ไททาเนียม, Chromium(Cr) โครเมียม, Bimuth(Bi) บิสมัท และ Lead(Pb) ตะกั่ว แทนดวย 8XXX 9.อลูมเิ นียม 9XXX หมายถึงยังไมมีใช https://trinitydynamic.com/%E0%B8%94%E0%B8%B9%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8% 84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1-93061%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%9 9%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A1-aluminium.html หลักที่หนึง่ เปนสัญลักษณทสี่ ำคัญทีส่ ุดในการแสดงหมวดหมูของโลหะผสมใน 8 กลุม เชน 1xxx แทนหมวด โลหะอะลูมิเนียมที่มีความบริสุทธิ์ไมนอยกวารอยละ 99.00 โดยน้ำหนัก หลักที่สอง เปนตัวเลขที่ใชกำกับโลหะอะลูมิเนียมที่มีการผสมโลหะอื่นใหมีปริมาณทีเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม เชน 2024 ที่ประกอบดวย 4.5Cu, 1.5Mg, 0.5Si และ0.1Cr เมือ่ เปลี่ยนเปน 2218 จะประกอบดวย 4.0Cu, 2.0Ni, 1.5Mg และ0.2Si ซึ่งเปนการผสม Ni แทน Cr

หลักที่สาม และสี่ เปนตัวเลขที่แสดงชนิดยอยของโลหะผสมที่เปนชนิดเดียวกัน แตแสดงสวนผสมที่แตกตาง กัน เชน 2014 ที่ประกอบดวย 4.4Cu, 0.8Si, 0.8Mn และ 0.4Mg เมื่อเปลี่ยนเปน 2017 จะประกอบดวย 4.0Cu, 0.8Si, 0.5Mn และ0.1Cr https://www.kachathailand.com/articles/%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B8%A5%E0%B8% B9%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8 %A1%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%8A%E0%B8%9 9%E0%B8%B4%E0%B8%94-%E0%B8%A1%E0%B8%B5/

คุณสมบัติของอะลูมิเนียม อะลูมเิ นียมเปนโลหะที่ออนและเบาทีม่ ีลกั ษณะไมเปนเงา เนือ่ งจากเกิดการออกซิเดชันชั้นบาง ๆ ที่ เกิดขึ้นเร็วเมื่อสัมผัสกับอากาศ โลหะอะลูมิเนียมไมเปนสารพิษ ไมเปนแมเหล็ก และไมเกิดประกายไฟ อะลูมเิ นียมบริสุทธิ์มีแรงตานการดึงประมาณ 49 ลานปาสกาล (MPa) และ 400 MPa ถาทำเปนโลหะผสม อะลูมเิ นียมมีความหนาแนนเปน 1/3 ของเหล็กกลาและทองแดง ออน สามารถดัดไดงาย สามารถกลึงและ หลอแบบไดงาย และมีความสามารถตอตานการกรอนและความทนเนื่องจากชั้นออกไซดที่ปอ งกัน พื้นหนา กระจกเงาที่เปนอะลูมเิ นียมมีการสะทอนแสงมากกวาโลหะอื่น ๆ ในชวงความยาวคลื่น 200-400 nm (UV) และ 3000-10000 nm (IR ไกล) สวนในชวงที่มองเห็นได คือ 400-700 nm โลหะเงินสะทอนแสงไดดีกวา เล็กนอย และในชวง 700-3000 (IR ใกล) โลหะเงิน ทองคำ และทองแดง สะทอนแสงไดดีกวา อะลูมเิ นียม เปนโลหะที่ดัดไดงายเปนอันดับ 2 (รองจากทองคำ) และออนเปนอันดับที่ 6 อะลูมเิ นียมสามารถนำความ รอนไดดี จึงเหมาะสมที่จะทำหมอหุงตมอาหาร https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B8%A5%E0%B8%B9% E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A1 อลูมเิ นียมมีจุดหลอมละลายที่ 660 องศาเซลเซียส เปนโลหะที่มีความหนาแนนนอย น้ำหนักเบา รับภาระน้ำหนักไดสงู สามารถขึ้นรูปไดงาย ไมเสี่ยงตอรอยราว และการแตกหัก ไมเปนสนิม ทนตอการกัด กรอน และไมเปนพิษตอมนุษย โดยเฉพาะการนำมาผสมกับโลหะอื่นๆแลวจะทำใหคุณสมบัติตางๆเพิ่มมาก

ขึ้น เชน จุกหลอมเหลวของอลูมเิ นียมผสมจะอยูที่ 1140-1205 องศาเซลเซียส จึงนิยมนำมาผลิตเปนชิ้นสวน ตางๆ รวมถึงวัสดุหรือภาชนะที่เกี่ยวของกับอาหาร นอกจากนั้น ยังมีคุณสมบัตทิ างเคมีของอลูมเิ นียมใน ลักษณะตางๆ https://industrialclub.fti.or.th/2021/11/10/%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B8%B9% E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A1aluminium-%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0/ 1. เมื่อทำปฏิกริ ิยากับออกซิเจนจะทำใหเกิดชั้นฟลม บางๆ เรียกวา อลูมเิ นียมออกไซด เคลือบบนชั้นผิว อลูมเิ นียมปองกันการเกิดปฏิกริ ิยาอื่นๆไดดี 2. การทำปฏิกริ ิยากับไนโตรเจนจะทำใหเกิดไนไตรดที่อุณหภูมิสูง 3. ไมทำปฏิกิริยากับกำมะถัน 4. เมื่อทำปฏิกริ ิยากับไฮโดรเจน ไฮโดรเจนจะแทรกซึมเขาสูช ั้นในของอลูมเิ นียม จึงจำเปนตองกำจัดออก 5. สามารถทนตอกรดอนินทรียเ ขมขนไดปานกลาง 6. ทนตอปฏิกิริยาของดางไดเล็กนอย สามารถละลายไดในสภาวะที่เปนดางเขมขน 7. เกิดปฏิกิริยากับเกลือได ทำใหเกิดการกัดกรอน https://trinitydynamic.com/%E0%B8%94%E0%B8%B9%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8% 84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1-93061%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%9 9%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A1-aluminium.html

บทที่ 3 วิธีดำเนินการทดลอง การศึกษาคนควาเรื่อง เตาปงยางแบบพกพา เปนการศึกษาคนควาที่มุงศึกษาเกี่ยวกับเตาปงยาง แบบพกพาจากอะลูมิเนียมเหลือใช 6 ดาน ดังนี้ 1) ดานสิ่งแวดลอม คือการนำเอาอลูมิเนียมเหลือใชมาทำ เตายางพกพา 2) ดานเศรษฐกิจ คือการนำสิ่งเหลือใชมาผลิตเปนสิง่ ของที่ใชไดเปนการลดคาใชจาย 3) ดาน ความคิดสรางสรรค คือการออกแบบตัวเตายาง ขนาด และ รูปทรง 4) ดานความรูเฉพาะทาง ชวย เสริมสรางความรูในเรื่องของอลูมิเนียมมากขึ้น 5) ดานผลลัพธเตาปงยางพกพาหลังใชผลิตภัณฑ 6) ดาน ภาพรวมของผลิตภัณฑ ศึกษาเกี่ยวกับความตองการและความพึงพอใจในการใชกระดาษ โดยการเก็บ รวบรวมขอมูลจากการทำแบบสอบถาม โดยการเก็บรวบรวมขอมูลการประเมินความพึงพอใจจากความ คิดเห็นของนักเรียนและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนนวมินทราชินูทิศสตรีวิทยา๒ สังกัดสำนักงานเขต พื้นที่กำรศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 ทำงแกไขปรับปรุงพัฒนาในจุดบกพรองของเตาปงยางพกพา เพือ่ ใหมเี ตา ปงยางพกพา คุณภาพมากที่สุดทำการศึกษาคนควาโดยมีวิธีการและขั้นตอนตามลำดับดังนี้ 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง 2. เครื่องมือที่ใชในการศึกษาคนควา 3. การเก็บรวบรวมขอมูล 4. การวิเคราะหขอมูล 5. สถิติที่ใชในการวิเคราะห 6. วัสดุอุปกรณและเครื่องมือ 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรที่ใชในการศึกษาคนควาไดแก นักเรียนและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนนวมินทราชินู ทิศสตรีวิทยา๒ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 กรุงเทพมหานคร จำนวน 50 คน

2. เครื่องมือที่ใชในการศึกษาคนควา วิธีการสรางเครือ่ งมือในการศึกษาคนควาครั้งนีผ้ ูศึกษาไดใชแบบสอบถามที่ผูศึกษาจัดทำขึ้นเปน เครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูลซึง่ ผูศึกษาไดไดสรางแบบสอบถามใหสอดคลองกับวัตถุประสงคองคการ

ศึกษาและขอบเขตของการศึกษาซึ่งประกอบดวยคำถาม 2 สวน ดังนี้ สวนที่ 1 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับ ขอมูลปจจัย ดานบุคคลของผูตอบแบบสอบถามมีลกั ษณะแบบสอบถามปลายปด (Close Ended Respmonse question) สวนที่ 2 เปนแบบสอบถามเกี่ยวกับคุณภาพของเตาปง ยางพกพา ตามความเห็น ของไดแก นักเรียนและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนนวมินทราชินูทิศสตรีวิทยา๒ สังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 กรุงเทพมหานคร มีลักษณะคำถามเปนคำถามมาตรสวนประมาณคา (Rating Scale) 5 ระดับตามวิธีของลิเคิรท (Likert) คือ นอยที่สุด นอยปานกลาง มาก และมากที่สุด โดยมี เกณฑการใหคะแนนและเกณฑการใหคะแนนและเกณฑการจัดระดับ ดังนี้ ระดับความคิดเห็น คาน้ำหนักคะแนนของตัวเลือกตอบ นอยที่สุด กำหนดคาเทากับ 1 คะแนน นอย กำหนดคาเทากับ 2 คะแนน ปานกลาง กำหนดคาเทากับ 3 คะแนน มาก กำหนดคาเทากับ 4 คะแนน มากที่สุด กำหนดคาเทากับ 5 คะแนน

เกณฑในการแปลความหมายคารอยละของคะแนนระดับความเห็นเพื่อจัดระดับคะแนนการศึกษา สภาพการดำเนินกิจกรรมตาง ๆ กำหนดเปนชวงคะแนนดังตอไปนี้ ชวงคะแนนรอยละ 80 คะแนนขึ้นไป = ดีมาก ชวงคะแนนรอยละ 70-79 คะแนน = ดี ชวงคะแนนรอยละ 60-69 คะแนน = ปานกลาง ชวงคะแนนรอยละ 50-59 คะแนน = พอใช ชวงคะแนนรอยละ 40-49 คะแนน = ปรับปรุง

3. เก็บรวบรวมขอมูล ในการดำเนินการจัดเก็บรวบรวมขอมูลในครั้งนีผ้ ูศึกษาไดดำเนินการตามลำดับขั้นตอน ดังนี้

ขอความรวมมือจากนักเรียนและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนนวมินทราชินูทิศสตรีวิทยา ๒ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 กรุงเทพมหานคร ในการทำแบบสอบถามเพื่อการ จัดเก็บรวบรวมขอมูลจากบุคลากรทางสถานศึกษาโรงเรียนในสังกัดผูศึกษานำแบบสอบถามไปแจกดวย ตนเองทัง้ หมดในระหวางวันที่ 9 พฤศจิกายน 2565 จำนวน 50 ชุด ชุดเมื่อถึงกำหนดวันนัดหมายผูศึกษาไปขอรับและแบบสอบถามคืนตนเองพรอมตรวจสอบถูกตอง ความเรียบรอยความสมบูรณของขอมูลในการตอบแบบสอบถามในแตละชุดและจำนวนขอมูลที่ไดรับ จำนวน 50 ชุด ผูศึกษานำแบบสอบถามหรือขอมูลทีเ่ ก็บรวบรวมในแตละสถานศึกษาเพื่อนำไปวิเคราะหและแปลผลขอมูล 4. การวิเคราะหขอมูล ผูศึกษาคนควาดำเนินการวิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติในการวิเคราะหขอ มูลตามลำดับและผูศึกษา คนควานำขอมูลมาประมวลผลและวิเคราะหดวยโปรแกรมสำเร็จรูปทำสถิติโดยใชสถิติวิเคราะห ดังนี้ การวิเคราะหขอมูลตอนที่ 1 สถานภาพของผูตอบแบบสอบถามโดยใชความถี่รอยละ ตอนที่ 2 ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับเตาปง ยางพกพาจำแนกตามสถานภาไดแก นักเรียน ครู/อาจารย บุคคลทั่วไป และเพศ ไดแก ชาย หญิง

5. สถิติที่ใชในการวิเคราะห ในการวิเคราะหขอมูลศึกษาคนควาไดวิเคราะหและประมาลผลโดยการใชโปรแกรมสำเร็จรูปดวย ระบบคอมพิวเตอรสถิติที่ใช คือ สถิติพรรณนาการหาคาความถี่คารอยละคาเฉลี่ยและสวนเบีย่ งเบนมาตรฐานการหาคาถี่โดยวิธีนับ คำนวณ สูตรการหาคารอยละ =

𝑋𝑋 × 100 𝑁𝑁

6.วัสดุอุปกรณและเครื่องมือ 6.1.1 วัสดุอปุ กรณและเครื่องมือ ชนิดอุปกรณ

จำนวน

1. 2. 3. 4.

1 อัน 1 ดาม 1 แผน 1 แผน

เลื่อยตัดอลูมเิ นียม ตะไบ กระดาษทรายเบอร 500 กระดาษทรายเบอร 1000

6.1.2 วัสดุและอุปกรณที่ตองจัดหา ชนิดอุปกรณ

จำนวน

1. เศษอลูมเิ นียมขนาดกลาง

1-2 แผน

วิธีการทดลอง 1. เตรียมอลูมเิ นียมเหลือใชจัดหาได 2. นำอลูมเิ นียมทีเ่ ตรียมไวมาตัดตามที่ตองการ 3. ตะไบขอบแผนอลูมเิ นียมใหไมมีความแหลมคม 4. นำกระดาษทรายมาขัดใหสวยงามตามที่ตอ งการ 5. นำอลูมเิ นียมที่ขัดแลวมาลางน้ำใหสะอาดจนไมเหลือเศษผงของอลูมิเนียม

ผลการทดลอง 1. ผลการศึกษาเตาปงยางพกพาและเตาปง ยางปกติ ตารางที่ 1 ลักษณะทางกายภาพของผลิตภัณฑกระดาษ วัสดุที่ใช เหล็ก อลูมเิ นียม

ขนาด ใหญ เล็ก

ความสะดวกสบาย พับเก็บไมได พับเก็บได

การนำความรอน 80.4 W/(m·K) 237 W/(m·K)

ตารางที่ 2 การเปรียบเทียบประสิทธิภาพจากผลิตภัณฑเตาปงยางพกพาและเตาปง ยางปกติ ประสิทธิภาพ ชนิดผลิตภัณฑกระดาษ

กอนใชผลิตภัณฑ

หลังใชผลิตภัณฑ

เตาปงยางพกพา

ไมเกิดสนิม

ไมเกิดสนิม

เตาปงยางตามทองตลาด

ไมเกิดสนิม

เกิดสนิม

2. ผลการเปรียบเทียบประสิทธิภาพของผลิตภัณฑเตาปงยางพกพาและเตาปง ยางปกติ โดยใช แบบ ประเมินความพึงพอใจของกลุม ตัวอยางผูใชงาน

ตารางที่ 3 ระดับความพึงพอใจประสิทธิภาพของเตาปง ยางพกพาและเตาปง ยางปกติ ชนิดผลิตภัณฑกระดาษ

เตาปงยางพกพา

เตาปงยางตามทองตลาด

รายละเอียด

วัสดุ ขนาด การนำความรอน วัสดุ ขนาด การนำความรอน

ระดับความพึงพอใจ รอยละความพึงพอใจของผู คาเฉลี่ย แปลความ อุปโภคระดับมากถึงมาก ที่สุด 2.82 ปานกลาง 27.91 4.24 มากที่สุด 81.13 3.26 ปานกลาง 62.44 4.1 ปานกลาง 70.29 2 นอย 35.70 1.36 นอยที่สุด 13

บทที่ 4 ผลการทดลอง การศึกษาคนควาการทำเตาปงยางแบบพกพา ซึ่งเปนขยะมูลฝอยที่ทุกคนตางมองขามและไมเห็น คุณคา คณะผูจัดทำจึงนำชยะเหลานีม้ าแปรรูปเพื่อรีไซเคิลเศษอลูมิเนียมที่เหลือใช การศึกษาคนควาครั้งนี้ เปนการศึกษาและรวบรวมขอมมูลเพือ่ นำมาจัดทำเปนโครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ โดยภายหลังจากที่ทำ ผลิตภัณฑเสร็จสมบูรณแลว ทางคณะผูจัดทำจึงไดนำผลิตภัณฑมาใหนักเรียนและบุคลากรภายในโรงเรียน นวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา ไดทดลองใช และทำแบบประเมิณความพึงพอใจตอคุณภาพของผลิตภัณฑและ รวมกันเสนอขอเสนอแนะ ซึง่ ประชากรในการคันควาครั้งนี้มนี ักเรียนจำนวน 50 คน ไดรับแบบประเมิณ กลับคืนมาจำนวน 50 ชุด คิดเปนรอยละ 100 ในการสรุปผลการวิเคราะหขอมูล มีหัวขอดังตอไปนี้ 4.1 วิเคราะหขอมูลทั่วไปของนักเรียนในโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา๒ 4.2 วิเคราะหคะแนนความพึงพอใจตอเตาปง ยางแบบพกพา ของนักเรียนและบุคลากรภายในโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา๒

4.1 วิเคราะหขอมูลทั่วไปของนักเรียนภายในโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา ๒ ตาราง 4.1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม รายการ

ระดับการศึกษา

ขอมูลสวนตัว มัธยมศึกษาปที่ 1 มัธยมศึกษาปที่ 2 มัธยมศึกษาปที่ 3 มัธยมศึกษาปที่ 4 มัธยมศึกษาปที่ 5 มัธยมศึกษาปที่ 6 รวมทั้งสิ้น

จำนวน 4 6 4 4 32 2 50

รอยละ 8 12 8 8 62 4 100

จากตารางที่ 1 พบวาขอมูลพื้นฐานของนักเรียนในโรงเรียนมีดังนี้ 1. ระดับการศึกษา ผูทำแบบสอบถามสวนมากอยูร ะดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 รอยละ 62 รองลงมาถัดไปคือ มัธยมศึกษาปที่ 2 รอยละ 12 รองลงมาถัดไปคือ มัธยมศึกษาปที่ 1 3 4 รอยละ 8 และ นอยที่สุดคือ มัธยมศึกษาปที่ 6 รอยละ 2

4.2 วิเคราะหคะแนนความพึงพอใจตอเตาปงยางพกพาของนักเรียนภายในโรงเรียนนวมินท ราชินูทิศ สตรีวิทยา ๒ ตารางที่ 4.2 การวิเคราะหผลความพึงพอใจตอเตาปง ยางพกพา ระดับความพึงพอใจ ลำดับ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

รายการประเมิน

สะดวกตอการพกพา มีประสิทธิในการนำความ รอน มีความคงทนตอการใชงาน มีความสวยงาม มีความคิดสรางสรรค มีแนวทางในการหารายได ไดรับความรูเกียวกับ อะลูมเิ นียม ระยะเวลาในการใชงาน แพ็คเกจมีความสวยงาม ภาพรวมของชิ้นงาน รวม

รอยละ

แปลผล

ดีมาก (5)

ดี (4)

ปานกลาง (3)

นอย (2)

นอย ที่สุด (1)

34 25

10 18

4 5

0 1

2 1

89.6 85.6

มากที่สุด มากที่สุด

29 21 28 22 26

14 16 12 19 13

5 11 7 6 7

2 1 2 2 2

0 1 0 1 2

86 82 85.2 83.6 83.6

มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด

34 26 37

9 15 12

3 8 2

3 1 0

1 0 0

88.8 86.4 93.2 87.6

มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด

เกณฑการใหคะแนน ชวงคะแนน ชวงคะแนน ชวงคะแนน ชวงคะแนน ชวงคะแนน

80 ขึ้นไป 70-79 60-69 50-59 ต่ำกวา 49

ระดับความคิดเห็นมากที่สุด ระดับความคิดเห็นมาก ระดับความคิดเห็นปานกลาง ระดับความคิดเห็นนอย ระดับความคิดเห็นนอยทีส่ ุด

จากตารางการวิเคราะหผลความพึงพอใจตอเตาปงยางพกพาทั้ง 10 ขอ พบวาภาพรวมของ ผลิตภัณฑอยูในเกณฑดีมากที่สุด โดยดานที่มีคะแนนมากทีส่ ดุ คือ ภาพรวมของชิ้นงาน มีคารอยละ 93.2 รองลงมาถัดไปคือ สะดวกตอการพกพามีคารอยละ 89.6 รองลงมาถัดไปคือ ระยะเวลาในการใชงาน มีคา รอยละ 88.8 รองลงมาถัดไปคือ แพ็คเกจมีความสวยงาม มีคารอยละ 86.4 รองลงมาถัดไปคือ มีความคงทน ตอการใชงาน มีคารอยละ 86 รองลงมาถัดไปคือ มีประสิทธิในการนำความรอน มีคารอยละ 85.6 รองลงมา ถัดไปคือ มีความคิดสรางสรรคมีคารอยละ 85.2 รองลงมาถัดไปคือ ไดรับความรูเกี่ยวกับอะลูมเิ นียมและมี แนวทางในการหารายได มีคารอยละ 83.6 และรองลงมาถัดไปคือ มีความสวยงาม มีคารอยละ 83.6 อยูใน เกณฑที่มากทีส่ ุดทุกขอ ขอเสนอแนะ ไมมีขอเสนอแนะจากผูตอบแบบสอบถาม

บทที่ 5 สรุปผล อภิปราย และขอเสนอแนะ การศึกษาการทำเตาปง ยางพกพา มีวัตถุประสงค 6 ขอ คือ (1)ลดเศษขยะจากอะลูมเิ นียมเหลือใช (2)ประดิษฐเตาใชเองไดในราคาที่จำกัด (3)ใชเวลาวางใหเกิดประโยชนสูงสุด และ (4)ศึกษาคุณสมบัติของ อะลูมเิ นียม (5) ศึกษาชนิดของเลื่อย (6) ศึกษาประเภทของกระดาษทรายพอเพียงมาปรับใชในการทำ โครงงาน และสามารถประมวลผลได ดังนี้ กลุมเปาหมายทีเ่ ราใชในการศึกษาครั้งนี้ เปนนักเรียนโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา๒ และบุคลากรภายในโรงเรียน เครือ่ งมือที่ใชในการศึกษาคือ แบบสอบถามความคิดเห็นความพึงพอใจใน การใชเตาปง ยางพกพาโดยแบบสอบถามคือ Google Formซึ่งเรานั้นใหมีคำถามสำรวจจำนวน 8ขอ การ วิเคราะหขอมูลผูศึกษาไดวิเคราะหขอมูล โดยใชสถิติที่ใชในการศึกษาครั้งนี้คือการหารอยละ คาเฉลี่ย สวน เบี่ยงเบนมาตรฐาน สรุปผลการศึกษาทดลอง จากการศึกษาทดลองการทำเตาปงยางพกพาสามารถสรุปไดวาเตาปงยางพกพาจะมีลกั ษณะที่แหง และเรียบเนียนสวยกวาครีมขัดรองเทาจากเปลือกสม ซึ่งจากเปลือกสมครีมขัดรองเทาจะมีลกั ษณะที่ยังคงไม แหงสนิท ยังคงทิง้ ความมันวาวในครีมมากกวาเปลือกแกวมังกร อาจเนื่องจากผิวของเปลือกสมนั้นมีความ บางของเปลือกแตอัดแนนดวยความหนาแนนที่มากกวาเปลือกแกวมังกรและน้ำมันทีร่ ะเหยออกมาจาก เปลือกสมทีม่ ีมากกวาเปลือกแกวมังกรนีเ้ องทำใหแมเพียงจะตากแดดจัด แตครีมขัดรองเทาจากเปลือกสมก็ ยังคงมีน้ำมันเหลืออยูและทิง้ ความมันวาวไวอยูจำนวนมาก อภิปราย จากการศึกษาคนควาเรื่องการทำครีมขัดรองเทาจากเปลือกสมและเปลือกแกวมังกร ตามความคิดเห็นจากนักเรียนและบุคลากรภายในโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา๒ สามารถอภิปราย ไดดังนี้ จากการสอบถามความคิดเห็นความพึงพอใจของนักเรียนและบุคลากรโรงเรียน นวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา๒ ในเรื่องการทำครีมขัดรองเทาจากเปลือกสมและเปลือกแกวมังกรพบวาอยูใน ระดับปานกลาง ขอเสนอแนะ

จากการศึกษาขอมูลและวิเคราะหขอมูลจากผลการสำรวจมีขอเสนอแนะดังนี้ 1. ควรปรับปรุงเรื่องกลิ่นของผลิตภัณฑใหมีกลิ่นที่ดมี ากยิ่งขึน้ 2. ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับวัตถุดิบอื่นเพิ่มเติมที่สามารถนำมาทำเปนผลิตภัณฑได เพื่อใหเกิดความหลากหลาย 2. ควรใหมีสสี ันของผลิตภัณฑสี่อื่นบาง เชน สีน้ำตาล

บรรณานุกรม กรมอนามัย. (2565). กรมอนามัย ชวนคนไทยยึดหลัก “3 ใช” ลดเพิ่มปริมาณพลาสติก. สืบคน 13 ตุลาคม 2565, จาก https://pr.moph.go.th/?url=pr/detail/2/02/174747/ การประยุกตใชวัสดุโลหะผสมอลูมิเนียมในอุตสาหกรรมตางๆ. สืบคน 16 ตุลาคม 2565, จาก https://th.asitesd.com/info/the-application-of-aluminum-alloy-materials-in58683272.html คพ. เผยป 2564 ขยะมูลฝอยลดลง ขยะติดเชื้อและขยะอันตรายเพิ่มขึ้น แนะจัดการอยางถูกวิธี. สืบคน 13 ตุลาคม 2565, จาก https://www.pcd.go.th/pcd_news/20802 เจาะลึก อลูมิเนียม โลหะสีขาวคลายกับเงิน น้ำหนักเบา แตแข็งแรง. สืบคน 16 ตุลาคม 2565, จาก https://www.chi.co.th/article/article-858/ สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. (2562). สถานการณขยะมูลฝอย. สืบคน 14 ตุลาคม 2565, จาก http://www.mnre.go.th/attachment/iu/ download.php?WP=qUIcnKt4pQIgZKqCGWOghJstqTgcWat0pQMgBKpmGQWgG2rDqY อลูมิเนียม. สืบคน 14 ตุลาคม 2565, จาก https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0% B8%B0%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8% 99%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A1 อลูมิเนียม (Aluminium). สืบคน 19 ตุลาคม 2565, จาก https://trinitydynamic.com/%E0% B8%94%E0%B8%B9%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8% B2%E0%B8%A1-93061-%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%A1% E0%B8%B4% E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A1aluminium.html อลูมิเนียม (Aluminium) ชนิด และประโยชน. สืบคน 19 ตุลาคม 2565, จาก https://industrialclub.fti.or.th/2021/11/10/%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B8%B9% E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0% B8%A1-aluminium-%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0/ 9Adminsaji. (2563). อลูมเิ นียม คุณสมบัติดีนำ้ หนักเบาแตแข็งแรง. สืบคน 16 ตุลาคม 2565,

จาก https://sa-thai.com/%E0%B8%AD%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%A1% E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A1/

ภาคผนวก

ขั้นตอนที่ 1 จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ ไดแก กระดาษทราย เศษอลูมิเนียม

ขั้นตอนที่ 2 เตรียมอลูมิเนียมเหลือใช

ขั้นตอนที่ 3 วัดขนาดอลูมิเนียมที่ตองการตัด

ขั้นตอนที่ 4 นำเลื่อยมาตัดอลูมิเนียมที่วัดไว

ขั้นตอนที่ 5 นำอะลูมิเนียมที่ตัดแลวตะไบขอบที่แหลมคม

ขั้นตอนที่ 6 น้ำกระดาษทรายมาขัดอะลูมิเนียมที่ตะไบแลวใหสวยการตามที่ตองการ

ขั้นตอนที่ 7 นำอะลูมิเนียมที่ขัดแลวมาเช็ดทำความสะอาด และสามารถนำมาใชไดเลย

ประวัติผูศึกษาคนควา ชื่อ-นามสกุล วันเดือนปเกิด ที่อยูปจ จุบัน ตำแหนงหนาที่ ประวัติการศึกษา ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา

นายกีรติ ทิปกะ 18 กรกฎาคม 2549 44/110 ซอยนิมิตใหม12 ถนนนิมิตใหม แขวงทรายกองดิน กรุงเทพมหานคร 10510 นักเรียนนวมินทราชินรูทิศ สตรีวิทยา ๒ สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา มัธยมเขต 2 โรงเรียนนีรชาศึกษา โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิยา ๒

ประวัติผูศึกษาคนควา ชื่อ-นามสกุล วันเดือนปเกิด ที่อยูปจ จุบัน ตำแหนงหนาที่ ประวัติการศึกษา ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา

วรกฤต ลือวิมล 4 กรกฎาคม 2548 38/155 หมู7 ตำบลบึงคำพรอย ถนน ลำลูกกา ปทุมธานี 12150 นักเรียนนวมินทราชินรูทิศ สตรีวิทยา ๒ สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา มัธยมเขต 2 โรงเรียนพระวิสทุ ธิวงส โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิยา ๒

ประวัติผูศึกษาคนควา ชื่อ-นามสกุล วันเดือนปเกิด ที่อยูปจ จุบัน ตำแหนงหนาที่

ธนาคิม สุขสงา 10 พฤษภาคม 2549 77/187 หมู19 ถนน นิมมิตรใหม ตำบล ลำลูกกา อำเภอ ลำลูกกา จังหวัด ปทุมธานี 12130 นักเรียนโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา ๒ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาเขต 2

ประวัติการศึกษา ระดับประถมศึกษาโรงเรียน ระดับมัธยมศึกษาโรงเรียน

สุเหราคลองสี่ นวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา ๒

ประวัติผูศึกษาคนควา ชื่อ-นามสกุล วันเดือนปเกิด ที่อยูปจ จุบัน ตำแหนงหนาที่ ประวัติการศึกษา ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา

ภาวัต สวยเงิน 20 พฤศจิกายน 2548 ถนนหทัยราษฎร เขต คลองสามวา แขวง สามวาตะวันตก จังหวัด กรุงเทพมหานคร 10510 นักเรียนโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา ๒ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาเขต 2 โรงเรียนทรงวิทยศกึ ษา โรงเรียน นวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา ๒

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.