แบบรายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2566 ไตรมาส 1 2 ตำบลเขาล้าน Flipbook PDF

แบบรายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2566 ไตรมาส 1 2 ตำบลเขาล้าน

55 downloads 116 Views 6MB Size

Story Transcript

รายงานผลการดาเนินงาน กศน.ตาบลเขาล้าน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทับสะแก สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ

ก รายงานผลปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ตาบลเขาล้าน **************************** เพื่อให้การส่งเสริมการจัดการศึกษาบรรลุเป้าประสงค์ตามยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน. และของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทับสะแกจึงได้จัดทาผล การปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ตาบลเขาล้าน ซึ่งประกอบด้วยผลการปฏิบัติงานด้าน ข้อมูล พื้น ฐานของ กศน.ตาบล ข้อ มูล พื้น ฐานการวางแผน ทิศทางการดาเนินงาน และรายละเอียดผล ปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของ กศน.ตาบล เขาล้าน คณะกรรมการ กศน.ตาบล เขาล้ าน ได้ เ ห็ น ชอบผลการปฎิบัติต ามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เป็นที่เรียบร้อยแล้ว กศน.ตาบล เขาล้าน จึงขอรายงานผลการ ปฏิบัติงาน เพื่อ ใช้ในการปรับปรุงและพัฒนางานของ กศน.ตาบลเขาล้าน ต่อไป ทั้งนี้ ตั้งแต่ เดือน มีนาคม 25666 ลงชื่อ..........................................ผู้เสนอ (นางนิยะดา อินไชยยา) ครู กศน.ตาบล ลงชื่อ...........................................ผู้เห็นชอบ (นายวิรัช ตั้งเขาทอง) ประธานคณะกรรมการ กศน.ตาบล

ลงชื่อ...........................................ผู้อนุมัติ (นางวิภาวรณ์ ภัทราภิญโญ) ผู้อานวยการ กศน.อาเภอทับสะแก



คานา การจัดทาเอกสารรายงานผลการดาเนินงานกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของ กศน.ตาบลเขาล้าน มีวัตถุประสงค์ เพื่อนาเสนอผล การดาเนินงานทุกกิจกรรมภายใต้กรอบยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) แผนการศึกษา แห่งชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) นโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานสานักงานส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 รวมถึงนโยบายของสานักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 รายงานผลการดาเนินงานการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของ กศน.ตาบลเขาล้าน ประกอบด้วย 1) ข้อมูลพื้นฐานทั่วไปของ ตาบล 2) รายละเอียดของแผนงานงบประมาณ 3) รายงานผลการดาเนินงานประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 และ 4) ผลงานดีเด่น (Best Practice) ของ กศน.ตาบล หวังเป็ น อย่างยิ่งว่าเอกสารรายงานผลการดาเนินงานเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ส าหรับผู้ ที่ เกี่ยวข้อง เพื่อใช้ในการตรวจสอบภารกิจในความรับผิดชอบของ กศน.ตาบลเขาล้าน และขอขอบคุณ ผู้บริหารสถานศึกษา ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา บรรณารักษ์ ครูอาสาสมัคร กศน. ภาคี เครือข่าย ที่มีส่วนช่วยให้รายงานผลการดาเนินงาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สาเร็จลุล่วงไป ได้ด้วยดี เป็นไปตามเป้าหมายตามที่กาหนดไว้ และสามารถแสดงผลงานที่เป็นรูปธรรมต่อสาธารณชน ได้ในที่สุด กศน.ตาบลเขาล้าน มีนาคม 2566

สารบัญ หน้า คานา สารบัญ ส่วนที่ 1 บทนา ข้อมูลพื้นฐานตาบลเขาล้าน สภาพทั่วไปตาบลเขาล้าน ข้อมูลด้านประชากร ข้อมูลด้านสังคม ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ ข้อมูลด้านการศึกษา ข้อมูลพื้นฐาน กศน.ตาบลเขาล้าน โครงสร้างการดาเนินงานใน กศน.ตาบลเขาล้าน อานาจและหน้าที่ของ กศน.ตาบลเขาล้าน คณะกรรมการ กศน.ตาบลเขาล้าน ข้อมูลบุคลากร กศน.ตาบลเขาล้าน รางวัลเกียรติบัตรผลงานของสถานศึกษา กศน.ตาบลในสังกัด/ห้องสมุด/แหล่งเรียนรู้/ภาคีเครือข่าย ส่วนที่ 2 รายละเอียดของแผนงานงบประมาณ สรุปผลการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ส่วนที่ 3 รายงานผลการดาเนินงาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โครงการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน โครงการจัดการศึกษาต่อเนื่อง โครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ส่วนที่ 4 ผลงานดีเด่น (Best Practice) ผลงานดีเด่น (Best Practice) ภาคผนวก คณะผู้จัดทา

1 1 3 4 5 5 7 7 8 9 11 13 13 15 15 16 17 23 69 74

1

ส่วนที่ 1 บทนา ข้อมูลพื้นฐานตาบลเขาล้าน สภาพทั่วไปตาบลเขาล้าน ตาบลเขาล้านเป็นตาบลหนึ่งของอาเภอทับสะแก เดิมเป็นหมู่บ้านที่ขึ้นอยู่กับตาบลทับสะแก ต่อมา เมื่อมีประชากรเพิ่มขึ้น ได้จัดตั้งเป็นตาบลเขาล้าน เมื่อปี พ.ศ. 2513 ชื่อว่าตาบลเขาล้าน เหตุที่เรีย กว่า “ เขา ล้าน ” เนื่องมาจากมีภูเขาลูกหนึ่งในหมู่บ้านมีลักษณะโล่งเตียน เมื่อจัดตั้งครั้งแรกตาบลนี้มี 10 หมู่บ้าน ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2527 ได้แยกหมู่บ้านเพิ่มขึ้นอีก 2 หมู่บ้าน รวมเป็น 12 หมู่บ้าน และในปี พ.ศ. 2531 อาเภอทับสะแกได้จัดตั้งขึ้นอีก 1 ตาบล ซึ่ งได้รวมเอาหมู่บ้านของตาบลเขาล้านไป 2 หมู่บ้าน จึงทาให้ตาบล เขาล้านมีเพียง 11 หมู่บ้าน แบ่งการบริหารงานออกเป็น 2 ส่วน โดยหมู่ 7 บ้านกลาง เป็นหมู่บ้านในเขต เทศบาลนอกนั้นอยู่ในส่วนความรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตาบลเขาล้าน ตามพระราชบัญญัติสภา ตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบลตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งองค์การบริหารส่วนตาบล ลง วันที่ 19 มกราคม 2539 ที่ตั้งและขนาด ตาบลเขาล้านเป็นตาบล 1 ใน 6 ตาบลของอาเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ห่าง จากที่ว่าการอาเภอทับสะแก ทางทิศตะวันตกประมาณ 4 กิโลเมตร มีพื้ นที่ทั้งหมดประมาณ 98 ตาราง กิโ ลเมตร หรื อประมาณ 61,250 ไร่ อยู่ ห่ า งจากจัง หวั ดประจวบคี รีขัน ธ์ มาทางทิศใต้ป ระมาณ 41 กิโลเมตร ห่างจากอาเภอทับสะแกประมาณ 4 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกันดังนี้ ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก

ติดพื้นที่ตาบลแสงอรุณและตาบลทับสะแก ติดตาบลเขาล้าน ติดตาบลทับสะแก ติดเทือกเขาตะนาวศรี

คาขวัญตาบลเขาล้าน เขื่อนช่องลมสวยงาม มะพร้าวผลดกเนื้อหนา

น้าตกเขาล้านตระการตา ชาวประชาสุขพอเพียง

2 การปกครอง แบ่งการปกครองออกเป็น 11 หมู่บ้าน ( หมู่ที่ 7 บ้านกลาง อยู่ในเขตเทศบาลตาบลทับสะแก ) หมู่ที่ 1 บ้านห้วยแห้ง ที่มา : สมัยก่อนบ้านห้วยแห้งมีชื่อว่าปากด่าน และห้วยแห้งเป็นชื่อของหมู่ ที่ 2 ต่อมาได้มีการแยกหมู่บ้านและได้มีการจัดตั้งชื่อกันใหม่ทุกหมู่บ้าน หมู่บ้านปากด่านเห็นว่าแถวหมู่บ้านมี ห้วยที่มีน้าแห้งอยู่มาก จึงใช้เป็นชื่อหมู่บ้าน จึงเรียกว่า “บ้านห้วยแห้ง” หมู่ที่ 2 บ้านนาตาปะขาว ที่มา : สมัยก่อนที่ดินส่วนมากเป็นที่นาแล้วมีตาคนหนึ่งมาบวชชี พราหมณ์(ชีปะขาว) นุ่งขาวห่มขาวต่อมาก็หายไป ตั้งแต่บัดนั้นชาวบ้านจึงได้เรียกว่า “บ้านนาตาปะขาว” หมู่ที่ 3 บ้านนาล้อมที่มา : เดิมชื่อว่าบ้านทุ่งโป่งต่อมาในสมัยผู้ใหญ่อรรถ ชนะภัย ได้เปลี่ยนชื่อ เป็นบ้านนาล้อม โดยถือเอาสภาพภูมิประเทศ ทีมีนาล้อมรอบและหมู่บ้านอยู่ตรงกลาง จึงเรียกว่า “บ้านนา ล้อม” หมู่ที่ 4 บ้านพุตะแบก ที่มา : เดิมนั้นชุมชนนี้เป็นเส้นทางเกวียนและสองข้างทางจะมีต้นตะแบก อยู่มากมายและได้มีปัญหาเกวียนลงพุ ( เกวียนติดหล่ม ) เลยเรียกรวมกันว่า “พุตะแบก” หมู่ที่ 5 บ้านมะเดื่อทอง ที่มา : เดิมที่ดินเป็นป่าดงดิบและเมื่อมีคนเข้ามาอยู่อาศัยก็ได้มีการตัดไม้ ทาลายป่าจนกลายเป็นภูเขาหัวล้าน และเรี ยกว่า “บ้านเขาล้าน” ขึ้นอยู่กับหมู่ 10 บ้านสวนขนุน ต. ทับ สะแก ต่อมานายเชือน สายสกล เป็นผู้ใหญ่บ้าน ได้มีการแบ่งแยกหมู่บ้านขึ้นในเขตพื้นที่นั้นมีต้นมะเดื่ออยู่ มากมายจะมีสีเหลืองเหมือนทอง จึงเรียกว่า “บ้านมะเดื่อทอง” หมู่ที่ 6 บ้านทุ่งกลาง ที่มา : สมัยก่อนบ้านทุ่งกลางเป็นป่าดงดิบต่อมามีคนเข้ามาจับจองที่ดินทา มาหากินและพื้นที่นี้มีลักษณะพิเศษ คือ บริเวณล้อมรอบเป็นป่าดงดิบแต่ตรงกลางมีลักษณะเป็นทุ่งโล่งจึงเรียก หมู่บ้านนี้ว่า “บ้านทุ่งกลาง” หมู่ที่ 7 บ้านกลาง ที่มา : เดิมเรียกหมู่บ้านนี้ว่า “บ้านพุตะแบก” ต่อมามีการแยกหมู่บ้านแบ่ง เขตการปกครองใหม่จึงมีการตั้งหมู่บ้านใหม่เรียกว่า “บ้านกลาง” หมู่ที่ 8 บ้านดอนใจดี ที่มา : มาจากการที่คนในหมู่บ้านมีจิตใจดีชอบช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เช่นเวลามีการสร้างวัดหรือโรงเรียนทุกคนในหมู่บ้านก็ช่วยกันสร้างและบริจาคสิ่งของจึงเรียกชื่อว่า “บ้านดอน ใจดี ” หมู่ที่ 9 บ้านสวนส้ม ที่มา : เดิมชื่อบ้านคลองช่องลมขึ้นอยู่กับหมู่ 5 บ้านมะเดื่อทอง ต่อมา เมื่อปี พ.ศ. 2528 ได้มีการแยกจากหมู่ 5 ชาวบ้านในหมู่บ้านมีการทาสวนส้มกันมากจึงนามาตั้งชื่อหมู่บ้าน เรียกว่า “บ้านสวนส้ม” หมู่ที่ 10 บ้านสวนขนุน ที่มา : เดิมบ้านสวนขนุนมีพื้นที่เป็นป่ารกทึบและมีป่าขนุนโบราณซึ่งมี จานวนมากชาวบ้านจึงเรียกกันว่า “บ้านสวนขนุน” หมู่ที่ 11 บ้านห้วยน้าทรัพย์ ที่มา : สมัยก่อนหมู่บ้านนี้บริเวณห้วยมีน้าไหลตลอดทั้งปีจึงเรียกว่า “บ้านห้วยน้าทรัพย์”

3 หมู่บ้านที่อยู่ในการบริหารจัดการขององค์การบริหารส่วนตาบลเขาล้าน มีจานวนทั้งสิ้น 10 หมู่บ้าน ดังนี้ หมู่ 1 บ้านห้วยแห้ง หมู่ 2 บ้านนาตาปะขาว หมู่ 3 บ้านนาล้อม หมู่ 4 บ้านพุตะแบก หมู่ 5 บ้านมะเดื่อทอง หมู่ 6 บ้านทุ่งกลาง หมู่ 8 บ้านดอนใจดี หมู่ 9 บ้านสวนส้ม หมู่ 10 บ้านสวนขนุน หมู่ 11 บ้านห้วยน้าทรัพย์ ศูนย์กลางการปกครองอยู่ที่หมู่ 4 ซึ่งเป็นที่ตั้งขององค์การบริหารส่วนตาบลเขาล้าน

ข้อมูลด้านประชากร จานวนประชากรจาแนกตามเพศและเขตพื้นที่ตาบล เขาล้าน จานวนประชากร(คน) หมู่ จานวน ชื่อหมู่บ้าน ที่ ครัวเรือน ชาย หญิง รวม 1 บ้านห้วยแห้ง 173 280 277 557 2 บ้านนาตาปะขาว 290 378 377 755 3 บ้านนาล้อม 53 120 105 225 4 บ้านพุตะแบก 288 387 405 792 5 บ้านมะเดื่อทอง 350 508 505 1013 6 บ้านทุ่งกลาง 239 295 298 593 7 บ้านกลาง 132 150 185 335 8 บ้านดอนใจดี 369 602 629 1,231 9 บ้านสวนส้ม 320 572 540 1,112 10 บ้านสวนขนุน 185 350 316 666 11 บ้านห้วยน้าทรัพย์ 192 315 330 615 รวม 2,591 3,920 3,953 7,881

จานวนครัวเรือนในพื้นที่ เขต อบต. เขตเทศบาล 173 290 53 288 350 239 132 369 320 185 192

ตาบลเขาล้านมีครัวเรือนอาศัยอยู่ จานวน 2,591 ครัวเรือน อยู่ในเขตพื้นที่การปกครององค์การ บริหารส่วนตาบลทั้งหมดมีประชากรทั้งสิ้น 7,924 คน แยกเป็นประชากรชาย จานวน 3,957 คน คิดเป็นร้อย

4 ละ 49.90 และประชากรหญิง จานวน 3,967 คน คิดเป็นร้อยละ 50.09 ความหนาแน่นเฉลี่ย คน/ตาราง กิโลเมตร จานวนประชากรจาแนกตามช่วงอายุ ช่วงอายุ (ปี) จานวน (คน) ร้อยละของประชากรทั้งหมด (คน) 0 - 5 190 2.23 6 - 14 650 8.39 15 - 39 1890 23.85 40 - 59 2670 33.69 60 - 69 1420 17.92 70 - 79 740 9.33 80 - 89 204 2.57 90 ปีขึ้นไป 160 2.02 รวม 100 7,924 จากตารางจานวนประชากรจาแนกตามช่วงอายุ พบว่า ประชากรส่วนใหญ่มีช่วงอายุ 40 - 59 ปี จานวนผู้พิการจาแนกตามประเภทความพิการ จานวนผู้พิการ (คน) ประเภทผู้พิการ คิดเป็นร้อยละ ชาย หญิง รวม -ทางสมอง 8 10 18 20.571 -ทางสายตา 5 7 12 6.857 -ทางร่ายกาย 60 75 135 77.142 -พิการซ้าซ้อน 5 5 10 5.714 รวม 78 97 175 100 กลุ่มผู้พิการ เป็นกลุ่มผู้ด้อยโอกาสในการที่จะเข้ารับบริการทางการศึกษาหรือเข้าร่วมกิจกรรมการ เรียนรู้ด้อยกว่าคนปกติทั่วไป อันเนื่องมาจากข้อจากัดทางด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญาหรือความสามารถ ในการเรียนรู้ จากตารางข้อมูลจานวนคนพิการในพื้นที่ตาบลเขาล้าน จาแนกประเภทความพิการ ส่วนใหญ่มี ความพิการทางร่ายกาย

ข้อมูลด้านสังคม ตาบลเขาล้านเป็นตาบล 1 ใน 6 ตาบลของอาเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ส่วนใหญ่เป็น คนที่อยู่กันมายาวนาน เป็นสังคมของครอบครัวใหญ่ อยู่กันเป็นเครือญาติ มีความผูกพันกัน มีอาชีพ เกษตรกรรม นิยมทากันในครัวเรือน

5

ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ อาชีพของประชาชนในตาบล อาชีพส่วนใหญ่ของประขาชนในตาบลเขาล้าน เป็นอาชีพเกษตรกรรม ปลูกมะพร้าว ปาล์มน้ามัน และ รับจ้างทั่วไป สถานการณ์แรงงาน แรงงานส่วนใหญ่ในเขตพื้นที่ตาบลเขาล้าน อยู่ในช่วงอายุระหว่าง 35-60 ปีขึ้นไป จานวนหน่วยธุรกิจที่สาคัญของตาบลเขาล้าน มีจานวน 10 หน่วย กลุ่มอาชีพเศรษฐกิจชุมชน เศรษฐกิจของประชาชนตาบลเขาล้าน เป็นเศรษฐกิจขนาดเล็ก แบบครัวเรือน อาชีพส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพ ชาวสวนมะพร้าว และรับจ้างรายวัน แหล่งเรียนรู้ในชุมชน และทุนด้านงบประมาณที่สามารถนามาใช้ประโยชน์เพื่อการจัดการศึกษา ประเภทบุคคล ประเภทสถานที่และองค์กร ประเภททรัพยากรธรรมชาติ ประเภทกิจกรรมทาง สังคม-วัฒนธรรมและต้นทุนงบประมาณ

5 ข้อมูลด้านการศึกษา ตาบลเขาล้านมีสถานศึกษารวมทั้งหมด 5 แห่ง มีครูจานวน 45 คน และมีนักเรียน จานวน 847 คน เป็นอัตราส่วนครู/อาจารย์ ต่อนักเรียน ประมาณ 19 ในแต่ละสถานศึกษาที่อยู่ในเขตตาบล เขา ล้าน มีจานวนนักเรียน นักศึกษา ดังนี้ 1) โรงเรียนวัดทุ่งกลาง จานวนนักเรียน 72 คน 2) โรงเรียนบ้านดอนใจดี จานวนนักเรียน 109 คน 3) โรงเรียนบ้านมะเดื่อทอง จานวนนักเรียน 375 คน 4) โรงเรียนวัดนาหูกวาง จานวนนักเรียน 92 คน 5) โรงเรียนวัดนาล้อม จานวนนักเรียน 85 คน 6) กศน.ตาบล จานวนนักศึกษา 107 คน สถานศึกษา โรงเรียน

สังกัด

จานวนชั้น

ที่ตั้ง

หมายเหตุ

บ้านมะเดื่อทอง ดอนใจดี วัดนาหูกวาง นาล้อม บ้านทุ่งกลาง

สพฐ. สพฐ. สพฐ. สพฐ. สพฐ.

ม.1 - ม.3 อนุบาล – ป.6 อนุบาล - ป.6 อนุบาล - ป.6 อนุบาล - ป.6

-

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 4 แห่ง

อบต.

อายุ 2 – 5 ปี

ม. 5 ม. 8 ม. 10 ม. 3 ม. 6 ม.3 , ม.5, ม.6, ม.8 ม.10

-

6 โรงเรียน กศน.ตาบลเขาล้าน

รวม

สังกัด กศน.อาเภอ ทับสะแก โรงเรียน 5 แห่ง , ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก 4 แห่ง กศน. 1 แห่ง

จานวนชั้น

ที่ตั้ง

เรียนรู้ตลอดชีวิต

ม.4

หมายเหตุ

กศน.ตาบลเขาล้าน ในรอบปีที่ผ่านมามีจานวนนักศึกษาทั้งหมด 101 คน แยกตามระดับ ดังนี้ ภาคเรียนที่ 1/2565 - ระดับประถมศึกษา จานวน 3 คน - ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 13 คน - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 27 คน ในการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ภาคเรียนที่ 1/2566 มี นักศึกษาจานวนที่ลงทะเบียนเรียนทั้งหมด 43 คน มีนักศึกษาคงอยู่ จานวน 40 คน และมีผู้จบหลักสูตร ทั้งหมด 7 คน คิดเป็นร้อยละ 15.56 แยกตามระดับ ดังนี้ -ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 13 คน จบหลักสูตรจานวน 6 คน -ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 27 คน จบหลักสูตรจานวน 7 คน ภาคเรียนที่ 2/2565 - ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 14 คน - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 27 คน ในการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ภาคเรียนที่ 2/2565 มี นักศึกษาจานวนที่ลงทะเบียนเรียนทั้งหมด 41 คน มีนักศึกษาคงอยู่ จานวน 35 คน และมีผู้จบหลักสูตร ทั้งหมด 3 คน คิดเป็นร้อยละ 8.57 แยกตามระดับ ดังนี้ -ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 14 คน จบหลักสูตรจานวน 0 คน -ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 27 คน จบหลักสูตรจานวน 3 คน จากข้อมูลดังกล่าวพบว่า มีจานวนผู้จบหลักสูตรค่อนข้างน้อยเนื่องจากนักศึกษามีภาระงาน ทาอาชีพ เป็นหลักบ้างครั้งจึงทาให้เวลาเรียนและกิจกรรมไม่ครบ จึงไม่จบตามหลักสูตร ปัญหาและความต้องการทางการศึกษาของประชาชนที่จาแนกตามลักษณะของกลุ่มเป้าหมาย ด้านการรู้หนังสือ ด้านการศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้านอาชีพ ด้านการพัฒนาทักษะชีวิต ด้านการพัฒนา สังคมและชุมชน ด้านปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษาตามอัธยาศัย

7 ปัญหาและความต้องการทางการศึกษาของประชาชนที่จาแนกตามลักษณะของกลุ่มเป้าหมาย ด้านการรู้หนังสือ ด้านการศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้านอาชีพ ด้านการพัฒนาทักษะชีวิต ด้าน การพัฒนาสังคมและชุมชน ด้านปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษาตามอัธยาศัย กศน.ตาบลเขาล้าน ได้จัดทาแผนยกระดับการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยแยก กลุ่มเป้าหมายให้ชัดเจนเช่นเด็กออกกลางคันเด็กเร่ร่อน ผู้สูงอายุผู้ด้อยโอกาสผู้พิการกลุ่มผู้ย้ายถิ่นผู้นาท้องถิ่น กลุ่มอาชีพประชากรวัยแรงงานเป็นต้น โดยมีการวางแผนการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พื้นฐานร่วมกับภาคีเครือข่าย

8

ข้อมูลพื้นฐาน กศน.ตาบลเขาล้าน ความเป็นมา ได้ประกาศจัดตั้งเป็น ศูนย์การเรียนชุมชนเมื่อ พ.ศ.2541 โดยได้เปิดให้บริการงานด้านการศึกษาขั้น พื้นฐาน การศึกษาตามอัธยาศัย การศึกษาพัฒนาสังคมและชุมชน และการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต ต่อไป เพื่อ วันที่ 17 กรกฏาคม 2553 ได้มีพิธีเปิด กศน.ตาบลเขาล้าน และได้มีการประกาศจัดตั้งอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2553

ที่ตั้ง หมู่ที่ 4 บ้านพุตะแบก ตาบลเขาล้าน อาเภทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ หมายเลขโทรศัพท์ 090-4426461 หมายเลขโทรสาร E-Mail nidnona @ gmail.com

โครงสร้างการดาเนินงานใน กศน.ตาบล

9

บทบาทหน้าที่ภารกิจ กศน.ตาบล กศน.ตาบล มีบทบาทสาคัญในการจัดและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของประชาชน และสร้างสังคม แห่งการเรียนรู้ในชุมชน โดยมีหัวหน้า กศน.ตาบล เป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนและมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทาหน้าที่ส่งเสริมและสนับสนุนการดาเนินงาน กศน.ตาบล ดังนี้ 1. บทบาทหน้าที่ของกศน. ตาบล 1) การวางแผนจัดทาฐานข้อมูลชุมชน จัดทาแผนพัฒนากศน. ตาบล และจัดทาแผนปฏิบัติการ ประจาปี 2) การจัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจัดและส่งเสริมการศึกษา นอกระบบ ได้แก่ การส่งเสริมการรู้หนังสือการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ การศึกษา ต่อเนื่อง จัดและส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย ได้แก่ ส่งเสริมการอ่าน จัดและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ บริการ ข่าวสารข้อมูล และสื่อที่หลากหลาย จัดและส่งเสริมกิจกรรมห้องสมุดประชาชนตาบล ห้องสมุดชุ มชน มุม หนังสือบ้าน 3) บริการการเรียนรู้ในชุมชนร่วมกับภาคีเครือข่าย – ศูนย์เรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ – ศูนย์ส่งเสริมพัฒนาระบอบประชาธิปไตย (ศส.ปชต.) – ศูนย์ดิจิทัลชุมชน – ศูนย์การเรียนรู้ตลอดชีวิต – ศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน (Fix it Center) ร่วมกับ (สอศ.) – ชมรมคุ้มครองผู้บริโภค ร่วมกับ (สคบ.) – ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน ร่วมกับ (กระทรวงไอซีที) – มุมวิทยาศาสตร์เพื่อชีวิตร่วมกับ (สสวท.) – หน่วยแพทย์เคลื่อนที่ ร่วมกับโรงพยาบาล สถานีอนามัย – อาเภอเคลื่อนที่ร่วมกับอาเภอ 4) สร้างและพัฒนาภาคีเครือข่ายการเรียนรู้ในชุมชน โดยการประสานขอความร่วมมือจาก ภาคีเครื อข่าย องค์กรชุมชนผู้ รู้ ผู้ ทรงคุณวุฒิ ตลอดจนภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อร่ว มเป็นอาสาสมัคร กศน. อาสาสมัครส่งเสริมการอ่านเป็นต้น 5) ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่แผนงาน โครงการ กิจกรรมและผลการดาเนินงานของ กศน. ตาบล ในรูปแบบต่างๆ 6) รายงานผลการปฏิบัติงาน รายงานข้อมูลที่เกี่ยวข้องตามแบบรายงานและระยะเวลาที่ กาหนด และรายงานผลการปฏิบัติงานประจาปีของ กศน. ตาบล

10

คณะกรรมการ กศน.ตาบล รูปถ่าย

ชื่อ – สกุล นายวิรัช ตั้งเขาทอง

นายบุญพันธ์ ทอดสนิท ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 1

นายไพบูลย์ คาระกาย ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 2

นายกฤษณะ กระทุ่มศรี

บทบาท ประธานกรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

กรรมการ

นายผดุงศักดิ์ อิ่มทั่ว กานันตาบลเขาล้าน

กรรมการ

นายทวีศักดิ์ จุลเนียม ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่

กรรมการ

11

นายสมพล ศรีสอาด ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 6

นายสืบ จันชูกลิ่น ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 8

กรรมการ

กรรมการ

นายยุคลเดช อ่อนนุ่ม ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 9

กรรมการ

นายธนูศักดิ์ เสียงเพราะ ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 10

กรรมการ

นายสมพร คงศรี ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 11

กรรมการ

นางนิยะดา อินไชยยา

ครูกศน.ตาบล (กรรมการและเลขานุการ )

12

อาสาสมัคร กศน.ตาบล รูปถ่าย

ชื่อ – สกุล นายสวาท ชนะภัย

นายวิวัฒน์ บังล้อม

นายชยุท ถิ่นกระโทก

ข้อมูลบุคลากร กศน.ตาบล 1 นางนิยะดา อินไชยยา ครู กศน.ตาบล 2 นางสุมติ รา สุขอวบอ่อง ครู อาสาสมัคร กศน.

บทบาท อาสาสมัคร หมู่ที่ 1 บ้านห้วยแห้ง ตาบลเขาล้าน

อาสาสมัคร หมู่ที่ 6 บ้านทุ่งกลาง ตาบลเขาล้าน อาสาสมัครส่งเสริม หมู่ที่ 9 บ้านสอนส้ม ตาบลเขาล้าน

13

องค์กรนักศึกษา กศน.ตาบลเขาล้าน รูปถ่าย

ชื่อ – สกุล นายประสิทธิ์ สังข์ทอง

บทบาท ประธานองค์กรนักศึกษา

นางสาวรุ่งทิพย์ บุญประสิทธิ์

รองประธานองค์กรนักศึกษา

นายปานเพชร พิชิตมนตรี

กรรมการ

นางสาวสุนิษา เผือกผ่อง

กรรมการ

นางสาวพัชราพร น้อยกาแหนิด

กรรมการ

นางสาวพนิดา เกิดลาภ

กรรมการ

นางสาววาสนา น้อยผล

กรรมการ

นางสาวศศิธร มอญเพชร

กรรมการ

14

รางวัล เกียรติบัตร และผลงานของ กศน.ตาบล 2559 รางวัล เว็ปไชต์ กศน.ตาบลดีเด่นระดับ จังหวัด 2559 รางวัล ครู กศน.ตาบลดีเด่น ระดับจังหวัด 2559 รางวัล กศน.ตาบลดีเด่น ระดับ จังหวัด 2560 รางวัล เครือข่ายดีเด่น ระดับจังหวัด 2561 รางวัล บ้านหนังสือต้นแบบ ระดับกลุ่มศูนย์ สมุทรคีรี 2562 รางวัล ชุมชนต้นแบบ ระดับกลุ่มศูนย์ สมุทรคีรี 2564 รางวัล กศน.ตาบลที่มีนักศึกษาเข้าสอบเกินร้อยละ80 ระดับอาเภอ 2564 รางวัลชมเชย กศน.5ดีพรีเมียม ระดับจังหวัด 2564 รางวัลที่ 3 การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ กศน.อาเภอทับสะแก ระดับอาเภอ 2565 รางวัลชมเชย ชุมชนจิตอาสาดีเด่น ระดับจังหวัด 2565 รางวัล กศน.ตาบลที่มีนักศึกษาเข้าสอบเกินร้อยละ80 ระดับอาเภอ 2565 รางวัลชนะเลิศ การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ กศน.อาเภอทับสะแก ระดับอาเภอ 2565 รางวัลชมเชย กศน.ดีเด่น ภูมิปัญญาดีเด่น ระดับจังหวัด 2566 รางวัลชนะเลิศ การประกวดอ่านทานองเสนาะ ระดับอาเภอ

แหล่งเรียนรู้/ภาคีเครือข่าย 1. แหล่งเรียนรู้ประเภทบุคคล ได้แก่ ภูมิปัญญาท้องถิ่น นายสัญชีพ สายทองสุข นายธนูศักดิ์ เสียงเพราะ นายฉลวย มีศักดิ์ นางแสวง เสียงเพราะ นางสาวนิสานาถ มีศักดิ์ นางสาวสาเนียง ชูสาย นายชัชวาล เกิดมาก นางชูศรี ยี่แพร

ความรู้ความสามารถ หมองู/สมุนไพรพื้นบ้าน วิทยากรการทาปุ๋ยหมัก หมอดิน ผ้าทอกี่กระตุก จัดดอกไม้ในงานพิธี/จักสาน กลองยาว อาหาร ผ้าทอกี่กระตุก

ที่อยู่ ม. 10 ตาบลเขาล้าน ม.10 ตาบลเขาล้าน 28 ม.6 ตาบลเขาล้าน ม.4 ตาบลเขาล้าน 28 ม.6 ตาบลเขาล้าน 67/2 ม.5 ตาบลเขาล้าน ม 4 ตาบลเขาล้าน ม.4 ตาบลเขาล้าน

2. แหล่งเรียนรู้ประเภทสถานที่/ชุมชน/กลุ่มทางเศรษฐกิจ/สังคม ได้แก่ ชื่อแหล่งเรียนรู้ ประเภทแหล่งเรียนรู้ ที่ตั้ง 1.กลุ่มผ้าทอกี่กระตุก ผลิตภัณฑ์พื้นบ้าน ม.4 บ้านพุตะแบก ต.เขาล้าน 2 แหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง ม.6 บ้านทุ่งกลาง ต.เขาล้าน 3 ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง ม.3 บ้านนาล้อม ต.เขาล้าน 3 ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง ม.5 บ้านมะเดื่อทอง ต.เขาล้าน

15 3. แหล่งสนับสนุน ทุน/งบประมาณ ประเภทองค์กร ได้แก่ ภาคีเครือข่าย การสนับสนุน 1 องค์การบริหารส่วนตาบลเขาล้าน ร่วมบูรณาในการมีส่วนร่วมในการ จัดกิจกรรม 2. สหกรณ์เครดิตพัฒนาชุมชนบ้าน กล้องวงจรปิด พ.ศ.2553 พุตะแบก 3 ร้านศิริพรคอมพิวเตอร์แอน เครื่องวัดอุณหภูมิ ปี 2566 เซอร์วิส 2. แหล่งเรียนรู้ประเภทศาลนา ได้แก่ ภาคีเครือข่าย 1.วัดนาล้อม 2.วัดดอนใจดี 3.วัดมะเดื่อทอง 4.สานักสงฆ์เขาดิน

การสนับสนุน ร่วมบูรณาในการมีส่วนร่วมในการ จัดกิจกรรม ร่วมบูรณาในการมีส่วนร่วมในการ จัดกิจกรรม ร่วมบูรณาในการมีส่วนร่วมในการ จัดกิจกรรม ร่วมบูรณาในการมีส่วนร่วมในการ จัดกิจกรรม

ที่อยู่/ที่ตั้ง หมู่ 4 บ้านพุตะแบก ต. เขาล้าน หมู่ 4 บ้านพุตะแบก ต.เขาล้าน 110 หมู่11 ต.ทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ที่อยู่/ที่ตั้ง หมู่ 3 บ้านนาล้อม ต. เขาล้าน หมู่ 8 บ้านดอนใจดี ต.เขาล้าน หมู่ 5 บ้านมะเดื่อทอง ต.เขาล้าน หมู่ 5 บ้านมะเดื่อทอง ต.เขาล้าน

16

ส่วนที่ 2 สรุปผลการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 งบประมาณที่ได้ งบประมาณที่ใช้ รายการ รับจัดสรร ดาเนินการ (บาท) (บาท) แผนงาน : พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบกิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ งบดาเนินการ - โครงการพัฒนาทักษะชีวิต 441 441 - โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง 1,267 1,267 - โครงการพัฒนาสังคมและชุมชน 1,200 1,200 แผนงาน : ยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษาเพื่อความยั่งยืน โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน กิจกรรมส่งเสริมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน งบรายจ่ายอื่น - ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (1 อาเภอ 1 อาชีพ) ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (พัฒนาอาชีพระยะสั้น 10,000 10,000 (ไม่เกิน 30 ชม.) - ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (ชั้นเรียนวิชาชีพ 31 ชม.ขึ้นไป) 9,900 9,900 แผนงาน : บูรณาการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล โครงการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล กิจกรรมพัฒนาเครือข่ายเศรษฐกิจดิจิทัลสู่ชุมชนในระดับตาบล งบรายจ่ายอื่น - โครงการพัฒนาเครือข่ายเศรษฐกิจดิจิทัลสู่ชุมชนในระดับ ตาบล แผนงาน : บูรณาการพัฒนาศักยภาพคนตามช่วงชีวิต โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ งบรายจ่ายอื่น - โครงการความร่วมมือการผลิตผู้ดูแลผู้สูงอายุระหว่าง กระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงสาธารณสุข แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ - โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ กิจกรรมการพัฒนา คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ งบรายจ่ายอื่น เพื่อเป็นค่าใช้จ่าย โครงการจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อคง พัฒนาการทางกายและจิตและสมองของผู้สูงอายุ รวมงบประมาณทั้งสิ้น 22,808 22,808

17

ส่วนที่ 3 รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

18 1. ชื่อโครงการ : โครงการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 2. ความสอดคล้องของแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 2.1 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทาง สังคม 2.2 สอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 2.3 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดาเนินงานสานักงาน กศน.ประจาปี พ.ศ.2566 2. การยกระดับคุณภาพการศึกษา 2.1 ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษานาหลักสู ตรฐานสมรรถนะไปสู่การปฏิบัติอย่างเต็ม รูปแบบ เพื่อสร้างสมรรถนะที่สาคัญจาเป็นสาหรับศตวรรษที่ ๒๑ ให้กับผู้เรียน 2.2 พัฒนาทักษะดิจิทัลสาหรับผู้เรียนทุกช่วงวัย เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมดิจิทัลใน โลกยุคใหม่ 2.4 ส่ งเสริ มให้ ผู้ เรี ย นได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริง (Active Learning) ทั้งใน สถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ รวมทั้งพัฒนา Digital Learning Platform แพลตฟอร์มการเรียนรู้ของ สานักงาน กศน. ที่หลากหลายทั้งในรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ และให้มีคลังสื่อการเรียนรู้ที่เป็นสื่อที่ถูกต้อง ตามกฎหมาย เข้าถึงการสืบค้นได้ง่ายและสะดวกรวดเร็ว และนาไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ตอบสนองความ สนใจรายบุคคลของผู้เรียน 3. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย 3.2 พัฒนาข้อมูล และวางแผนทางเลือกทางการศึกษาและการเรียนรู้ที่หลากหลายให้กับ ผู้เรียน กลุ่มเป้าหมายพิเศษ และกลุ่มเปราะบาง ในการเข้าถึงการศึกษา การเรียนรู้ และการฝึกอาชีพอย่างเท่า เทียม 2.4 สอดคล้องกับพันธกิจของสานักงาน กศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พันธกิจที่ 5 จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อสร้าง สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต 2.5 สอดคล้องกับพันธกิจของ กศน.อาเภอทับสะแก พันธกิจที่ 1 จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีคุณภาพ 2.6 สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ในการประเมิน คุณภาพการศึกษา มาตรฐานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 2 คุณภาพของผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่เน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการสถานศึกษา 3. หลักการและเหตุผล พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 ได้กาหนดให้ บุคคลได้รับการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยให้บุคคลมีสิทธิได้รับ

19 การศึก ษาในรู ป แบบการศึกษานอกระบบหรื อการศึ กษาตามอัธ ยาศัยตามความสนใจหรื อความ ต้องการ ตลอดจนการให้การสนับสนุนการศึกษาในระบบในการยกระดับคุ ณภาพชีวิตของประชาชนการศึกษาเป็น รากฐานที่ส าคัญของการพัฒ นาประเทศโดยเหตุที่การศึกษาเป็นกลไกส าคัญที่สุ ดในการพัฒ นาคนซึ่งเป็น ทรัพยากรที่สาคัญในการพัฒนาประเทศการศึกษานอกระบบก็เป็นกระบวนการการศึกษาตลอดชีวิตมีภารกิจ สาคัญที่จะต้องให้ประชาชนได้รับการศึกษาอย่างสม่าเสมอภาคกันโดยเฉพาะการศึกษาขั้นพื้นฐานที่จาเป็นต่อ การดารงชีวิตตามมาตรฐานของสังคมซึ่งเป็นสิทธิที่ทุกคนพึงได้รับการศึกษาและนอกจากนั้นยังต้องได้รับ การศึกษาอย่างต่อเนื่องเพื่อนาความรู้ไปพัฒนาอาชีพและคุณภาพชีวิตการศึกษานอกระบบจึงเป็นการศึกษาอีก รูปแบบหนึ่งที่มีบทบาทในการพัฒนาคนเพื่อเป็นกาลังสาคัญในการพัฒนาประเทศ ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ มาตรา 22 และมาตรา 23 การจัดการศึกษาเน้นความสาคัญ ทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และบูรณาการความรู้เรื่องเกี่ยวกับตนเอง และสังคม ความรู้ด้าน วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ศาสนา ศิลปวัฒ นธรรม กีฬา ฝึกทักษะกระบวนการคิดเป็น ทาเป็น ปลู กฝั ง คุณธรรม ค่านิย มที่ดีงามและคุณลั กษณะอันพึงประสงค์ ในปีงบประมาณ พ.ศ.2561 สานักงานส่ งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มุ่งเน้นจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนและปรับพื้นฐานการศึกษาของผู้เรียน โดยจัดกิจกรรมค่ายวิชาการ กิจกรรมเรียนปรับพื้นฐาน กิจกรรม เพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถด้านเทคโนโลยีและการสื่อสาร กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต กิจกรรมเพื่อเตรียม ความพร้ อ มสู่ ป ระชาคมอาเซี ย น กิ จ กรรมที่ แ สดงออกถึ ง ความจงรั ก ภั ก ดี ต่ อ ชาติ ศาสนาและสถาบั น พระมหากษัตริย์ กิจกรรมการเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมลูกเสือและกิจกรรมอาสายุวกาชาด กิจกรรมด้านกีฬาและส่งเสริมสุขภาพ และกิจกรรมเสริมสร้างความสามารถพิเศษ รวมทั้งสร้างโอกาสในการ ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย ศูน ย์ การศึ กษานอกระบบและการศึก ษาตามอัธ ยาศั ยอ าเภอทับสะแก โดย กศน.ต าบล เขาล้าน เป็นสถานศึกษาที่มีหน้าที่ดูแลรับผิดชอบในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานนอกระบบให้กับกลุ่มเป้าหมาย ที่พลาดโอกาสในระบบซึ่งเป็นผู้ใหญ่มีคุณลักษณะความต้องการในการศึกษาแตกต่างจากกลุ่มเป้าหมายเด็กใน ระบบโรงเรียนทั้งนี้ยังมีผู้ขาดโอกาสทางการศึกษาที่มีอายุพ้นเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับอีกจานวนมากที่ยังไม่ จบการศึกษาภาคบังคับโดยเฉพาะในกลุ่มผู้ที่อยู่ในวัยแรงงานที่เป็นกาลังสาคัญในการพัฒนาประเทศชาติดังนั้น จึงมีความจาเป็นที่ต้องจัดการศึกษาเพื่อยกระดับการศึกษาให้กับกลุ่มเป้าหมายดังกล่าว 4. วัตถุประสงค์ เพื่ อ จั ด การศึ ก ษาส าหรั บ กลุ่ ม เป้ า หมายประชากรวั ย แรงงานที่ อ ยู่ น อกระบบโรงเรี ย นในพื้ น ที่ ตาบลเขาล้าน อาเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ได้รับโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐานนอกระบบ ทั้งระดับประถมศึกษามัธยมศึกษาตอนต้นมัธยมศึกษาตอนปลายให้สามารถพัฒนาตนเองและเรียนรู้ได้อย่าง ต่อเนื่องตลอดชีวิต 5. เป้าหมาย 5.1 เป้าหมายเชิงปริมาณ เชิงปริมาณ ภาคเรียน ระดับ ประถมศึกษา 1/2565 3

ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น 13

ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย 27

รวม 43

20 ภาคเรียน 2/2565

ระดับ ประถมศึกษา --

ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น 14

ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย 27

รวม 41

5.2 เป้าหมายเชิงคุณภาพ เชิงคุณภาพ ประชากรวัย แรงงานที่ อยู่ นอกระบบโรงเรียนในพื้น ที่อ าเภอทั บสะแก ที่ได้ รับ โอกาสใน การศึกษาต่อตามความต้องการจนจบการศึกษาภาคบังคับ ทาให้มีความรู้มีวุฒิ การศึกษาที่สูงขึ้น สามารถ นาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น 6. ผลการดาเนินงาน จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานพ.ศ. 2551 สาหรับ กลุ่มเป้าหมายประชากรวัยแรงงานที่อยู่นอกระบบโรงเรียนในพื้นที่ตาบลเขาล้านได้รับโอกาสทางการศึกษา เดือนตุลาคม 2563 ถึง เดือน กันยายน 2566 จานวนนักศึกษา - ภาคเรียนที่ 1/2565 จานวน 43 คน - ภาคเรียนที่ 2/2565 จานวน 41 คน 6.1 งบประมาณที่ใช้ งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2566 จากแผนงาน : บูรณาการยกระดับคุณภาพ การศึ กษาและการเรี ย นรู้ ต ลอดชีวิ ต โครงการสนับ สนุ นค่ า ใช้ จ่า ยการจั ดการศึก ษาตั้ง แต่อ นุบ าลจนจบ การศึกษาขั้นพื้นฐาน กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน งบเงินอุดหนุน เพื่อเป็น ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย ค่าจัดการเรียนการสอน 6.2 วิธีการดาเนินงาน รับสมัครนักศึกษาขั้นพื้นฐานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้ง 2 ระดับ คือ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในพื้นที่อาเภอทับสะแก ทั้ง 6 ตาบล และจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้กับนักศึกษา มีการวัดผลประเมินผลการศึกษา ตามเกณฑ์ การ จบหลักสูตรการศึกษานอกระบบและการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 6.3 ผลผลิตที่เกิดขึ้นจากการดาเนินงานโครงการ เชิงปริมาณ ภาคเรียนที่ 2/2564 จานวน 44 คน ภาคเรียนที่ 1/2566 จานวน 43 คน เชิงคุณภาพ ประชากรวัยแรงงานที่อยู่นอกระบบโรงเรียนในพื้นที่อาเภอทับสะแก ได้รับโอกาสใน การศึกษาต่อตามความต้องการจนจบการศึกษาภาคบังคับ ทาให้มีความรู้มีวุฒิการศึกษาที่ สูงขึ้น สามารถนาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น

21 7. ปัญหาและอุปสรรค เนื่องด้วยเกิดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-2019 จึงทาให้เกิดปัญหาในการรวมตัวจัด กิจกรรมการเรียนการสอน 8. ข้อเสนอแนะ/แนวทางการดาเนินงาน บุคลากรครูจึงต้องมีการปรับเปลี่ยนกระบวนการในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้กับนักศึกษา ในรูปแบบออนไลน์ 9. ภาพกิจกรรม ภาพการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน กศน.อาเภอทับสะแก

22

23

รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานสานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1.ชื่อโครงการ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กศน.ตาบลเขาล้าน ประจาปีงบประมาณ 2566 ( รูปแบบกลุ่มสนใจ ) 2. ความสอดคล้องของแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 2.1 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580 ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน 2.2 สอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการส้รางสังคมแห่งการเรียนรู้ 2.3 สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1. เรียนรู้การใช้ดิจิทัล เพื่อใช้เป็นเครื่องมือสาาหรับหาช่องทางในการสร้างอาชีพ 2. จัดทาหลักสูตรพัฒนาอาชีพที่เหมาะสมสาหรับผู้ที่เข้าสู่สังคมสูงวัย 2.4 สอดคล้องกับ นโยบายและจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 4. การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน 4.1 พัฒนาหลักสูตรอาชีพที่เน้น New skill Up - skill และ Re - skill ที่สอดคล้องกับมาตรฐาน อาชีพ บริบทพื้นที่ และความสนใจ พร้อมทั้งสร้างช่องทางอาชีพในรูปแบบที่ความหลากหลายของ กลุ่มเป้าหมาย เช่น ผู้พิการ ผู้สูงอายุ ความต้องการของตลาดแรงงาน และกลุ่มอาชีพใหม่ที่รองรับ Disruptive Technology เพื่อการเข้าสู่การรับรองสมรรถนะและได้รับคุณวุฒิตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ รวมทั้งสามารถนา ผลการเรียนรู้และ ประสบการณ์เทียบโอนเข้าสู่ระบบการสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank) เพื่อให้ กลุ่มเป้าหมายมีการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น 4.2 ยกระดับผลิตภัณฑ์ สินค้า บริการจากโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ที่เน้น “ส่งเสริมความรู้ สร้าง อาชีพ เพิ่มรายได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี” ให้มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของตลาด ต่อยอดภูมิปัญญา ท้องถิ่นเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม พัฒนาสู่วิสาหกิจชุมชน ตลอดจนเพิ่มช่องทางประชาสัมพันธ์และช่องทางการ จาหน่าย 2.5 สอดคล้องกับพันธกิจของสานักงาน กศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พันธกิจที่ 2 ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มี คุณภาพและการเรียนรู้ตลอดชีวิตภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะที่จาเป็นในโลก ศตวรรษที่ 21 พันธกิจที่ 3 ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาจัดทาหลักสูตร รูปแบบการจัดการเรียนรู้ สื่อ และนวัตกรรม การวิจัย การวัดผลและประเมินผล ให้สอดคล้องกับบริบทในพื้นที่ พันธกิจที่ 4 ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษานาเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยี ดิจิทัลมาใช้ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ พันธกิจที่ 5 ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายจัดส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 2.6 สอดคล้องกับพันธกิจของ กศน.อาเภอทับสะแก

24 พันธกิจที่ 1 จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีคุณภาพ พันธกิจที่ 2 จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาที่สามารถสร้างอาชีพสร้างรายได้ พันธกิจที่ 3 จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ประชาชนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รัก การเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง พันธกิจที่ 4 ส่งเสริม พัฒนาหลักสูตร และกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมทีด่ ีงาม รู้จักสิทธิหน้าที่ของตนเองดารงชีวิตอย่างเหมาะสมบนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วัฒนธรรม สังคม และ ชุมชน สามารถปรับตัวรู้เท่าทันกับการเปลี่ยนแปลง พันธกิจที่ 5 ส่งเสริมสนับสนุนให้ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาและการ เรียนรู้ตลอดชีวิต พันธกิจที่ 6 พัฒนาแหล่งเรียนรู้ สื่อเทคโนโลยีเพื่อสร้างโอกาสการเรียนรู้ตลอดชีวิต 2.7 สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา 3. หลักการและเหตุผล สานักงาน กศน.ได้ดาเนินการจัดให้มีโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยใช้สถานศึกษา กศน.และ กศน. ตาบล หรือแขวง เป็นฐานการจัดกิจกรรมให้แก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่บริการ โดยมีความเชื่อมั่นว่า โครงการดังกล่าวจะช่วยให้ประชาชนในระดับฐานรากที่มีรายได้น้อยและขาดโอกาสในการเพิ่มรายได้อันเป็น เงื่อนไขสาคัญของการเกิดความเหลื่อมล้าทางเศรษฐกิจที่ส่งผลให้ฐานเศรษฐกิจของประเทศไทยไม่เข้มแข็ง อย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน การจัดกิจกรรมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนจึงเป็นการจัดการศึกษาให้กับประชาชน ที่มีอาชีพอยู่แล้วและต้องการต่อยอดอาชีพเดิม เพื่อให้มีทักษะอาชีพ สามารถนาความรู้และทักษะไปใช้เพื่อ สร้างรายได้ให้กับประชาชนในชุมชนท้องถิ่น โดยให้สถานศึกษาใช้ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนที่จัดตั้งไว้ หรือ กศน. ตาบล หรือในชุมชน หรือสถานที่ของภาคีเครือข่าย ซึ่งรูปแบบการจัด แบ่งเป็น 2 แบบ คือ แบบพัฒนาอาชีพ หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้นไม่เกิน 30 ชั่วโมง(กลุ่มสนใจ) และแบบชั้นเรียนวิชาชีพ 30 ชั่วโมงขึ้นไป และส่งเสริม การใช้ระบบเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาอาชีพ ในอันที่จะประกอบอาชีพที่สร้างรายได้ได้จริง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทับสะแก จึงได้จัดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพ ชุมชน ปีงบประมาณ 2566ขึ้น โดยเน้นความรู้และทักษะอาชีพในเชิงเศรษฐกิจ ที่สอดคล้องกับสภาพของแต่ ละพื้นที่ ให้ผู้เรียนมีทักษะความชานาญเฉพาะเรื่อง สามารถเพิ่มผลผลิต และลดต้นทุนการผลิต มีความรู้และ ทักษะในการจั ดการระบบบั ญชี การตลาด และการบริห ารจัดการ อย่างครบวงจร มองเห็ นช่องทางการ ประกอบอาชีพหรือเป็นผู้ประกอบการเองได้ หรือรวมกลุ่มกันประกอบอาชีพได้ และรู้จักนาเทคโนโลยีมาใช้ เพื่อพัฒนาอาชีพ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนผู้เรียนได้มีโอกาสเลือกฝึกทักษะอาชีพและเข้าสู่อาชีพที่ตนเองถนัดได้ อย่าง เหมาะสม

25 4.2 เพื่อส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ในการพัฒนาอาชีพและแก้ไขปัญหาในกลุ่มอาชีพของตนเอง 4.3 เพื่อส่งเสริมพัฒนาอาชีพด้วยนวัตกรรมเทคโนโลยีที่ทนั สมัย 5. เป้าหมาย 5.1 เป้าหมายเชิงปริมาณ ประชาชนทั่วไป จานวน 24 คน ผลการดาเนินงาน จานวน 41 คน 5.2 เป้าหมายเชิงคุณภาพ 5.2.1 ผู้เรียนมีโอกาสเลือกฝึกทักษะอาชีพและเข้าสู่อาชีพที่ตนเองถนัดได้ อย่างเหมาะสม 5.2.2 ผู้เรียนมีกระบวนการเรียนรู้ในการพัฒนาอาชีพและแก้ไขปัญหาในกลุ่มอาชีพของ ตนเอง 5.2.3 ผู้เรียนได้รับการพัฒนาอาชีพด้วยนวัตกรรมเทคโนโลยีที่ทันสมัย 6. ผลการดาเนินงาน 6.1 งบประมาณที่ใช้ งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2565จากแผนงาน : ยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและ เสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน กิจกรรมส่งเสริมศูนย์ฝึก อาชีพชุมชน งบรายจ่ายอื่น รูปแบบกลุ่มสนใจ 10,000 บาท ( หนึ่งหมื่นบาทถ้วน ) 6.2 วิธีการดาเนินงาน (ชื่อโครงการ/กิจกรรม/หลักสูตร) 1. ขั้นวางแผน (Plan) 1.1 วางแผนปฏิบัติงาน 1.2 แต่งตั้งคณะทางาน 1.3 จัดทาโครงการและขออนุมัติโครงการ 1.4 ประชาสัมพันธ์โครงการฯ 2. ขั้นดาเนินงาน (Do) ดาเนินการตามแผน 2.1 จัดกิจกรรมรูปแบบการฝึกอบรม ให้กับประชาชนตาบลเขาล้าน หลักสูตร การทาขนม ลูกเต๋า จานวน 3 ชั่วโมง จัดขึ้นในวันที่ 26 ธันวาคม 2565 ณ บ้านหนังสือชุมชนบ้านห้วยแห้ง ม 1 ต.เขาล้าน อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ 2.2 จัดกิจกรรมรูปแบบการฝึกอบรม ให้กับประชาชนตาบลเขาล้าน หลักสูตร การทาขนม แซนวิสไส้ต่างๆ จานวน 3 ชั่วโมง จัดขึ้นในวันที่ 7 มกราคม 2566 ณ อบต.เขาล้าน ม 4 ต.เขาล้าน อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ 2.3 จัดกิจกรรมรูปแบบการฝึกอบรม ให้กับประชาชนตาบลเขาล้าน หลักสูตร การทาสบู่ สมุนไพรจานวน 12 ชั่วโมง จัดขึ้นในวันที่ 18-20 กุมภาพันธ์ 2566 ณ ศาลาประชุม ม 11 ต.เขาล้าน อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ 2.4 จัดกิจกรรมรูปแบบการฝึกอบรม ให้กับประชาชนตาบลเขาล้าน หลักสูตร การจักสานใบ มะพร้าว จานวน 12 ชั่วโมง จัดขึ้นในวันที่ 28-30 มกราคม 2566 ณ ศาลาประชุม ม 9 ต.เขาล้าน อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์

26

ที่

งาน/โครงการ/ กิจกรรม/หลักสูตร

เป้าหมาย (คน)

ผลการดาเนินงาน (คน) ชาย หญิง

ระยะเวลา พืน้ ที่ดาเนินการ

ในการ ดาเนินงาน 26 ธันวาคม 2565

รวม

งบประมาณ (บาท) 1,600

1 หลักสูตร การทา ขนมลูกเต๋า จานวน 3 ชั่วโมง

6

9

9

ณ บ้านหนังสือ ชุมชนบ้านห้วย แห้ง ม 1 ต.เขา ล้าน อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์

2 หลักสูตร การทา แซนวิสไส้ต่าง ๆ จานวน 3 ชัว่ โมง

6

8

8

ณ อบต.เขาล้าน 7 มกราคม ม 4 ต.เขาล้าน อ. 2566 ทับสะแก จ. ประจวบคีรีขันธ์

1,600

3 หลักสูตร การทาสบู่ สมุนไพร จานวน 12 ชั่วโมง

6

1

12

13

ณ ศาลาประชุม ม 18-20 11 ต.เขาล้าน อ. กุมภาพันธ์ ทับสะแก จ. 2566 ประจวบคีรีขันธ์

3,400

4 การจักสานใบ มะพร้าว จานวน 12 ชั่วโมง

6

3

8

11

ณ ศาลาประชุม ม 28-30 9 ต.เขาล้าน อ. มกราคม ทับสะแก จ. 2566 ประจวบคีรีขันธ์

3,400

24

4

37

41

รวม

3. ขั้นตรวจสอบ (Check) 3.1 การประเมินผลก่อนดาเนินโครงการ 3.2 การประเมินระหว่างดาเนินโครงการ 3.3 การประเมินเมื่อเสร็จสิ้นโครงการ 4. ขั้นปรับปรุงแก้ไข (Action) 4.1 รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สรุป และจัดทารายงานการประเมินโครงการ 4.2 ประชุมคณะทางานเพื่อนาข้อมูลจากการประเมินโครงการไปใช้ปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาดาเนินโครงการต่อไป

10,000

27 6.3 ผลผลิตที่เกิดขึ้นจากการดาเนินงานโครงการ เชิงปริมาณ ประชาชนทั่วไปในตาบลเขาล้าน จานวน 41 คน เชิงคุณภาพ ผู้เรี ย นได้มีโ อกาสเลื อกฝึ กทักษะอาชีพและเข้าสู่อาชีพที่ตนเองถนัดได้ อย่างเหมาะสมมี กระบวนการเรี ยนรู้ในการพั ฒนาอาชีพและแก้ไขปัญหาในกลุ่มอาชีพของตนเอง และได้ พัฒ นาอาชีพด้ว ย นวัตกรรมเทคโนโลยี 6.4 ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการดาเนินงานโครงการ ผู้เข้าร่ ว มโครงการได้มีโอกาสเลื อกฝึ กทักษะอาชีพและเข้าสู่ อาชีพที่ตนเองถนัดได้ อย่าง เหมาะสม มีกระบวนการเรียนรู้ในการพัฒนาอาชีพและแก้ไขปัญหาในกลุ่มอาชีพของตนเอง และได้พัฒนา อาชีพด้วยนวัตกรรมเทคโนโลยี 7. ปัญหาและอุปสรรค -

8. ข้อเสนอแนะ/แนวทางการดาเนินงานต่อไป ผู้ที่เข้ารับการอบรมควรนาความรู้และประสบการณ์ไปถ่ายทอดให้กับประชาชนในชุมชน แนะนาการทากิจกรรมที่ได้รับมาไปเผยแพร่ให้เกิดประโยชน์กับประชาชนในชุมชน โดยมีแนวทางการ ดาเนินงานจัดกิจกรรมที่หลากหลายตามความต้องการของประชาชนในพื้นที่ให้มากที่สุด

28 9. รูปภาพโครงการ/กิจกรรม โครงการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสูตร การทาขนมลูกเต๋า จานวน 3 ชั่วโมง ในวันที่ 26 ธันวาคม 2565 ณ บ้านหนังสือชุมชนบ้านห้วยแห้ง หมู่ 1 บ้านห้วยแห้ง ตาบลเขาล้าน อาเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์

โครงการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ รูปแบบกลุ่มสนใจ

29 หลักสูตร การทาแซนวิสไส้ต่าง ๆ จานวน 3 ชั่วโมง ในวันที่ 7 มกราคม 2566 ณ อบต.เขาล้าน หมู่ 4 บ้านพุตะแบก ตาบลเขาล้าน อาเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

30 โครงการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสูตร การทาสบู่สมุนไพรจานวน 12 ชั่วโมง ในวันที่ 18-20 มกราคม 2566 ณ บ้านศาลาประชุม หมู่ 11 บ้านห้วยน้าทรัพย์ ตาบลเขาล้าน อาเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

31 โครงการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสูตร การจักสานใบมะพร้าว จานวน 12 ชั่วโมง ในวันที่ 28-30 มกราคม 2566 ณ บ้านศาลาประชุม หมู่ 9 บ้านสวนส้ม ตาบลเขาล้าน อาเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

32

รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานสานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. ชื่อโครงการ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กศน.ตาบลเขาล้าน ประจาปีงบประมาณ 2566 ( รูปแบบชั้นเรียน ) 2. ความสอดคล้องของแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 2.1 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580 ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน 2.2 สอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการส้รางสังคมแห่งการเรียนรู้ 2.3 สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1. เรียนรู้การใช้ดิจิทัล เพื่อใช้เป็นเครื่องมือสาาหรับหาช่องทางในการสร้างอาชีพ 2. จัดทาหลักสูตรพัฒนาอาชีพที่เหมาะสมสาหรับผู้ที่เข้าสู่สังคมสูงวัย 2.4 สอดคล้องกับ นโยบายและจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 4. การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน 4.1 พัฒนาหลักสูตรอาชีพที่เน้น New skill Up - skill และ Re - skill ที่สอดคล้องกับมาตรฐาน อาชีพ บริบทพื้นที่ และความสนใจ พร้อมทั้งสร้างช่องทางอาชีพในรูปแบบที่ความหลากหลายของ กลุ่มเป้าหมาย เช่น ผู้พิการ ผู้สูงอายุ ความต้องการของตลาดแรงงาน และกลุ่มอาชีพใหม่ที่รองรับ Disruptive Technology เพื่อการเข้าสู่การรับรองสมรรถนะและได้รับคุณวุฒิตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ รวมทั้งสามารถนา ผลการเรียนรู้และ ประสบการณ์เทียบโอนเข้าสู่ระบบการสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank) เพื่อให้ กลุ่มเป้าหมายมีการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น 4.2 ยกระดับผลิตภัณฑ์ สินค้า บริการจากโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ที่เน้น “ส่งเสริมความรู้ สร้าง อาชีพ เพิ่มรายได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี” ให้มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของตลาด ต่อยอดภูมิปัญญา ท้องถิ่นเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม พัฒนาสู่วิสาหกิจชุมชน ตลอดจนเพิ่มช่องทางประชาสัมพันธ์และช่องทางการ จาหน่าย 2.5 สอดคล้องกับพันธกิจของสานักงาน กศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พันธกิจที่ 2 ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มี คุณภาพและการเรียนรู้ตลอดชีวิตภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะที่จาเป็นในโลก ศตวรรษที่ 21 พันธกิจที่ 3 ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาจัดทาหลักสูตร รูปแบบการจัดการเรียนรู้ สื่อ และนวัตกรรม การวิจัย การวัดผลและประเมินผล ให้สอดคล้องกับบริบทในพื้นที่ พันธกิจที่ 4 ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษานาเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยี ดิจิทัลมาใช้ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ พันธกิจที่ 5 ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายจัดส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 2.6 สอดคล้องกับพันธกิจของ กศน.อาเภอทับสะแก พันธกิจที่ 1 จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีคุณภาพ

33 พันธกิจที่ 2 จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาที่สามารถสร้างอาชีพสร้างรายได้ พันธกิจที่ 3 จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ประชาชนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รัก การเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง พันธกิจที่ 4 ส่งเสริม พัฒนาหลักสูตร และกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงาม รู้จักสิทธิหน้าที่ของตนเองดารงชีวิตอย่างเหมาะสมบนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วัฒนธรรม สังคม และ ชุมชน สามารถปรับตัวรู้เท่าทันกับการเปลี่ยนแปลง พันธกิจที่ 5 ส่งเสริมสนับสนุนให้ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาและการ เรียนรู้ตลอดชีวิต พันธกิจที่ 6 พัฒนาแหล่งเรียนรู้ สื่อเทคโนโลยีเพื่อสร้างโอกาสการเรียนรู้ตลอดชีวิต 2.7 สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา 3. หลักการและเหตุผล สานักงาน กศน.ได้ดาเนินการจัดให้มีโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยใช้สถานศึกษา กศน.และ กศน. ตาบล หรือแขวง เป็นฐานการจัดกิจกรรมให้แก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่บริการ โดยมีความเชื่อมั่นว่า โครงการดังกล่าวจะช่วยให้ประชาชนในระดับฐานรากที่มีรายได้น้อยและขาดโอกาสในการเพิ่มรายได้อันเป็น เงื่อนไขสาคัญของการเกิดความเหลื่อมล้าทางเศรษฐกิจที่ส่งผลให้ฐานเศรษฐกิจของประเทศไทยไม่เข้มแข็ง อย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน การจัดกิจกรรมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนจึงเป็นการจัดการศึกษาให้กับประชาชน ที่มีอาชีพอยู่แล้วและต้องการต่อยอดอาชีพเดิม เพื่อให้มีทักษะอาชีพ สามารถนาความรู้และทักษะไปใช้เพื่อ สร้างรายได้ให้กับประชาชนในชุมชนท้องถิ่น โดยให้สถานศึกษาใช้ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนที่จัดตั้งไว้ หรือ กศน. ตาบล หรือในชุมชน หรือสถานที่ของภาคีเครือข่าย ซึ่งรูปแบบการจัด แบ่งเป็น 2 แบบ คือ แบบพัฒนาอาชีพ หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้นไม่เกิน 30 ชั่วโมง(กลุ่มสนใจ) และแบบชั้นเรียนวิชาชีพ 30 ชั่วโมงขึ้นไป และส่งเสริม การใช้ระบบเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาอาชีพ ในอันที่จะประกอบอาชีพที่สร้างรายได้ได้จริง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทับสะแก จึงได้จัดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพ ชุมชน ปีงบประมาณ 2566ขึ้น โดยเน้นความรู้และทักษะอาชีพในเชิงเศรษฐกิจ ที่สอดคล้องกับสภาพของแต่ ละพื้นที่ ให้ผู้เรียนมีทักษะความชานาญเฉพาะเรื่อง สามารถเพิ่มผลผลิต และลดต้นทุนการผลิต มีความรู้และ ทักษะในการจั ดการระบบบั ญชี การตลาด และการบริห ารจัดการ อย่างครบวงจร มองเห็ นช่องทางการ ประกอบอาชีพหรือเป็นผู้ประกอบการเองได้ หรือรวมกลุ่มกันประกอบอาชีพได้ และรู้จักนาเทคโนโลยีมาใช้ เพื่อพัฒนาอาชีพ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนผู้เรียนได้มีโอกาสเลือกฝึกทักษะอาชีพและเข้าสู่อาชีพที่ตนเองถนัดได้ อย่าง เหมาะสม 4.2 เพื่อส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ในการพัฒนาอาชีพและแก้ไขปัญหาในกลุ่มอาชีพของตนเอง

34 4.3 เพื่อส่งเสริมพัฒนาอาชีพด้วยนวัตกรรมเทคโนโลยีที่ทันสมัย 5. เป้าหมาย 5.1 เป้าหมายเชิงปริมาณ ประชาชนทั่วไป จานวน 12 คน ผลการดาเนินงาน จานวน 15 คน 5.2 เป้าหมายเชิงคุณภาพ 5.2.1 ผู้เรียนมีโอกาสเลือกฝึกทักษะอาชีพและเข้าสู่อาชีพที่ตนเองถนัดได้ อย่างเหมาะสม 5.2.2 ผู้เรียนมีกระบวนการเรียนรู้ในการพัฒนาอาชีพและแก้ไขปัญหาในกลุ่มอาชีพของ ตนเอง 5.2.3 ผู้เรียนได้รับการพัฒนาอาชีพด้วยนวัตกรรมเทคโนโลยีที่ทันสมัย 6. ผลการดาเนินงาน 6.1 งบประมาณที่ใช้ งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2566 จากแผนงาน : ยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและ เสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน กิจกรรมส่งเสริมศูนย์ฝึก อาชีพชุมชน งบรายจ่ายอื่น รูปแบบ ชั้นเรียน 9,900 บาท ( เก้าพันเก้าร้อยบาทถ้วน ) 6.2 วิธีการดาเนินงาน (ชื่อโครงการ/กิจกรรม/หลักสูตร) 1. ขัน้ วางแผน (Plan) 1.1 วางแผนปฏิบัติงาน 1.2 แต่งตั้งคณะทางาน 1.3 จัดทาโครงการและขออนุมัติโครงการ 1.4 ประชาสัมพันธ์โครงการฯ 2. ขั้นดาเนินงาน (Do) ดาเนินการตามแผน จัดกิจกรรมรูปแบบการฝึกอบรม ให้กับประชาชนตาบลเขาล้าน หลักสูตร แปรรูปการทาผลิตภัณฑ์จาก มะพร้าว จานวน 35 ชั่วโมง จัดขึ้นในวันที่ 11-17 มีนาคม 2565 ณ อบต.เขาล้าน ม 4 ต.เขาล้าน อ. ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์

ที่

งาน/โครงการ/ กิจกรรม/หลักสูตร

1 หลักสูตร แปรรูปการทา ผลิตภัณฑ์จาก มะพร้าว จานวน 35 ชั่วโมง

เป้าหมาย (คน) 12

ผลการดาเนินงาน (คน) ชาย หญิง 15

ระยะเวลา พื้นที่ดาเนินการ

รวม 15

ณ อบต.เขาล้าน หมู่ 4 บ้านพุตะแบก อาเภอทับสะแก จังหวัด

ในการ ดาเนินงาน 11-17 มีนาคม 2566

งบประมาณ (บาท) 9,900

35

ที่

งาน/โครงการ/ กิจกรรม/หลักสูตร

เป้าหมาย (คน)

ผลการดาเนินงาน (คน) ชาย หญิง

ระยะเวลา พื้นที่ดาเนินการ

รวม

ในการ ดาเนินงาน

งบประมาณ (บาท)

ประจวบคีรีขันธ์ รวม

12

15

15

3. ขั้นตรวจสอบ (Check) 3.1 การประเมินผลก่อนดาเนินโครงการ 3.2 การประเมินระหว่างดาเนินโครงการ 3.3 การประเมินเมื่อเสร็จสิ้นโครงการ 4. ขั้นปรับปรุงแก้ไข (Action) 4.1 รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สรุป และจัดทารายงานการประเมินโครงการ 4.2 ประชุมคณะทางานเพื่อนาข้อมูลจากการประเมินโครงการไปใช้ปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาดาเนินโครงการต่อไป 6.3 ผลผลิตที่เกิดขึ้นจากการดาเนินงานโครงการ เชิงปริมาณ ประชาชนทั่วไปในตาบลเขาล้าน จานวน 15 คน เชิงคุณภาพ ผู้เรี ย นได้มีโ อกาสเลื อกฝึ กทักษะอาชีพและเข้าสู่อาชีพที่ตนเองถนัดได้ อย่างเหมาะสมมี กระบวนการเรี ยนรู้ในการพัฒนาอาชีพและแก้ไขปัญหาในกลุ่มอาชีพของตนเอง และได้ พัฒ นาอาชีพด้ว ย นวัตกรรมเทคโนโลยี 6.4 ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการดาเนินงานโครงการ ผู้เข้าร่ ว มโครงการได้มีโอกาสเลื อกฝึ กทักษะอาชีพและเข้าสู่ อาชีพที่ตนเองถนัดได้ อย่าง เหมาะสม มีกระบวนการเรียนรู้ในการพัฒนาอาชีพและแก้ไขปัญหาในกลุ่มอาชีพของตนเอง และได้พัฒนา อาชีพด้วยนวัตกรรมเทคโนโลยี 7. ปัญหาและอุปสรรค -

8. ข้อเสนอแนะ/แนวทางการดาเนินงานต่อไป ผู้ที่เข้ารับการอบรมควรนาความรู้และประสบการณ์ไปถ่ายทอดให้กับประชาชนในชุมชน แนะนาการทากิจกรรมที่ได้รับมาไปเผยแพร่ให้เกิดประโยชน์กับประชาชนในชุมชน โดยมีแนวทางการ ดาเนินงานจัดกิจกรรมที่หลากหลายตามความต้องการของประชาชนในพื้นที่ให้มากที่สุด

9,900

36 9. รูปภาพโครงการ/กิจกรรม โครงการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสูตร แปรรูปการทาผลิตภัณฑ์จากมะพร้าว จานวน 35 ชั่วโมง ระหว่างวันที่ 11-17 มีนาคม พ.ศ. 2566 สถานที่จัด ณ อบต.เขาล้าน หมู่ 4 บ้านพุตะแบก ตาบลเขาล้าน อาเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

37 1. ชื่อโครงการ การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต กศน.ตาบลเขาล้าน ปีงบประมาณ 2566 หลักสูตร สุขภาพดีชีวีมีสุข 2. ความสอดคล้องของผลการดาเนินงาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 2.1 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ยุทธศาสตร์ที่ 3 ประชาชนทั่วไปที่เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะที่จาเป็น ในการดาเนินชีวิต มีเจตคติที่ถูกต้อง สามารถดูแลสุขภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างเหมาะสม 2.2 สอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา 2.3 สอดคล้องกับนโยบายและจุ ดเน้นการดาเนิน งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จุดเน้นที่ 2 ด้านการสร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ 2.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตที่เน้นการพัฒนาทักษะที่จาเป็นสาหรับแต่ ละช่วงวัย และการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับแต่ละกลุ่มเป้าหมายและบริบทพื้นที 2.2 ส่งเสริมการจัดการศึกษาของผู้สูงอายุเพื่อให้เป็น Active Ageing Workforce และมี Life Skill ในการดารงชีวิตที่เหมาะกับช่วงวัย 2.3 ส่งเสริมการจัดการศึกษาที่พัฒนาทักษะที่จาเป็นสาหรับกลุ่มเป้าหมายพิเศษ เช่น ผู้พิการ ออทิสติก เด็กเร่ร่อน และผู้ด้อยโอกาสอื่นๆ 2.7 ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมของผู้เรียน กศน. 2.8 สร้าง อาสาสมัคร กศน. เพื่อเป็นเครือข่ายในการส่งเสริม สนั บสนุนการจัด การศึกษาตลอดชีวิต ในชุมชน 2.9 ส่งเสริมการสร้างและพัฒนานวัตกรรมของบุคลากร กศน. รวมทั้งรวบรวมและ เผยแพร่เพื่อให้ หน่วยงาน / สถานศึกษา นาไปใช้ในการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน 2.4.1 ด้านการบริหารจัดการคุณภาพ 2.4.1.1 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน เพื่อสร้างความ พร้อมในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตสาหรั บ ประชาชน 2.4 สอดคล้องกับพันธกิจของสานักงาน กศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ข้อที่ 4 ส่งเสริม สนับสนุน สถานศึกษาให้ดาเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ ข้อที่ 5 จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อสร้างสังคม แห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต 2.5 สอดคล้องกับพันธกิจของ กศน.อาเภอทับสะแก ข้อที่ 1 จัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้ประชาชน กลุ่มเป้าหมายทุกกลุ่ม ทุกช่วงวัย มีโอกาสการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 2.6 สอดคล้องกับมาตรฐาน กศน. :

38 มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน / ผู้รับบริการ การศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 ผู้เรียนหรือผู้เข้ารับการอบรมสามารถใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ การศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ 2.5 คุณภาพวิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ 2.7 คุณภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง 3. หลักการและเหตุผล ปัจจุบันประเทศไทยได้มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ในทุกด้านไม่ว่าจะเป็นด้านการเมืองการ ปกครอง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ประเพณี การศึกษา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งการเปลี่ยนแปลง ดังกล่าวจะเห็นได้ว่าเน้นไปทางด้านวัตถุมากกว่าทางจิตใจ จึงทาให้เกิดปัญหาขึ้นในสังคมไทย เช่น ปัญหา อาชญากรรม ปัญหายาเสพติด ปัญหาครอบครัว ปัญหาเศรษฐกิจ ปัญหาวัยรุ่น ปัญหาโสเภณี ปัญหาโรคเอดส์ และปัญหาอื่นๆซึ่งปัญหาดังกล่าวสามารถแก้ปัญหาและป้องกันได้หากประชาชนและเยาวชนรู้และเข้าใจ รู้เท่า ทันเหตุการณ์ มีความพร้อมในการปรับตัวที่จะกาหนดวิธีการดาเนินชีวิต ได้อย่างเหมาะสม การส่งเสริมและ พัฒนาทักษะชีวิตจึงเป็นหนทางหนึ่งที่มีความสาคัญยิ่ง ที่จะลดสภาพปัญหาและความรุนแรงต่างๆให้ลดน้อยลง และหมดไปได้ ประเทศไทยในยุคปฏิรูปการศึกษาที่มุ่งเน้นให้บุคคลเรียนรู้คู่คุณธรรม และเป็นคนดีมี ความสามารถ ซึ่งต้องพัฒนาให้ผู้เรียนมีความฉลาดทั้งด้านสติปัญญา และความฉลาดทางด้านอารมณ์ท่า เรียกว่าทักษะชีวิต การจัดการศึกษาดังกล่าวจึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดาเนินการจัดการศึกษาเพื่อ พัฒนาทักษะชีวิตให้กับประชาชน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอทับสะแก จึงได้ดาเนินการจัดกิจกรรม การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตขึ้น เพื่อให้ประชาชนและนักศึกษามีทักษะที่จาเป็นในการดาเนินชีวิตในสังคม ปัจจุบันได้อย่างมีความสุข ในการอบรมให้ความรู้ความเข้าใจมีเจตคติที่ถูกต้องเกี่ยวกับด้านหลักประชาธิปไตย ด้านการมีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครอง ด้านการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด ด้านการดูแลสุขภาพ อนามัย ด้านดนตรีและการกีฬา ด้านการป้องกันอันตรายในชีวิตและทรัพย์สิน ด้านคุณธรรมจริยธรรมและสืบ สานประเพณีวัฒนาธรรมอันดีงาม ด้านครอบครัวศึกษา เพื่อสามารถนาความรู้จากการเข้าร่วมกิจกรรม การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตไปปรับใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสมตามศักยภาพของแต่ละบุคคล โด ยกศน.ตาบลจึงจัดโครงการ สุขภาพดีชีวีมีสุข ให้กับประชาชนในตาบลเขาล้าน 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีเจตคติที่ถูกต้องเกี่ยวกับการด้านการดูแลสุขภาพด้วย เพื่อปรับปรุงพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองในชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสมตามศักยภาพของแต่ละบุคคล 4.2.เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะที่จาเป็นในการดาเนินชีวิตในสังคมปัจจุบันเพื่อติดตามและประเมินผลที่ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ 5. เป้าหมายการดาเนินงานโครงการ เชิงปริมาณ

39 กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนทั่วไป จานวน 6 คน ผลการดาเนินงาน จานวน 15 คน เชิงคุณภาพ ผู้เรี ยนที่เข้าร่ วมกิจกรรม มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะที่จาเป็นในการดาเนินชีวิต มีเจตคติที่ ถูกต้อง สามารถดูแลสุขภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างเหมาะสม 6. ผลการดาเนินงาน 6.1 งบประมาณที่ใช้ งบประมาณจาก แผนงาน : พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศั กยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ งบดาเนินงาน จานวนเงิน 1,325.- บาท (หนึ่งพันสามร้อยยี่สิบห้าบาทถ้วน) 1. ค่าวัสดุ เป็นเงิน 1 , 3 2 5 บาท กล้วยน้าว้า 10 หวี ๆ 25 บาท เป็นเงิน 250 บาท มะพร้าวทึนทึก 5 ลูก ๆ 20 บาท เป็นเงิน 100 บาท น้าตาลทราย 8 กิโลกรัม ๆ 25 บาท เป็นเงิน 200 บาท เก็กฮวยแห้ง จานวน 5 ถุง ๆ ละ 55 บาท เป็นเงิน 275 บาท กระเจี๊ยบแห้ง จานวน 5 ถุง ๆ ละ 60 บาท เป็นเงิน 300 บาท ลาไยแห้ง จานวน 4 ถุง ๆ ละ 50 เป็นเงิน 200 บาท 6.2 วิธีการดาเนินงาน (ชื่อโครงการ/กิจกรรม/หลักสูตร) 1. ขั้นวางแผน (Plan) 1.1 วางแผนปฏิบัติงาน 1.2 แต่งตั้งคณะทางาน 1.3 จัดทาโครงการและขออนุมัติโครงการ 1.4 ประชาสัมพันธ์โครงการฯ 2. ขั้นดาเนินงาน (Do) ดาเนินการตามแผน จัดกิจกรรมรูปแบบการฝึกอบรม ให้กับประชาชนตาบลแสงอรุณ

ที่

งาน/โครงการ/ กิจกรรม/หลักสูตร

1 ดาเนินการจัด โครงการการศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต

เป้าหมาย (คน) 3 (4 )

ผลการดาเนินงาน (คน) ชาย หญิง 1 8

4 8

รวม 5 16

ระยะเวลา พื้นที่ดาเนินการ

ในการ ดาเนินงาน

ศาลาประชุม หมู่ 1 วันที่ 29 พฤศจิกายน ตาบลแสงอรุณ 2565 อ.ทับสะแก

งบประมาณ (บาท) 1,325

40

ที่

งาน/โครงการ/ กิจกรรม/หลักสูตร

เป้าหมาย (คน)

ผลการดาเนินงาน (คน) ชาย หญิง

พื้นที่ดาเนินการ

รวม

หลักสูตร สุขภาพดี ชีวีมีสุข จานวน 3 ชั่วโมง รวม

ระยะเวลา ในการ ดาเนินงาน

งบประมาณ (บาท)

จ.ประจวบคีรีขันธ์

3

1

4

5

3. ขั้นตรวจสอบ (Check) 3.1 การประเมินผลก่อนดาเนินโครงการ 3.2 การประเมินระหว่างดาเนินโครงการ 3.3 การประเมินเมื่อเสร็จสิ้นโครงการ 4. ขั้นปรับปรุงแก้ไข (Action) 4.1 รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สรุป และจัดทารายงานการประเมินโครงการ 4.2 ประชุมคณะทางานเพื่อนาข้อมูลจากการประเมินโครงการไปใช้ปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาดาเนินโครงการต่อไป 6.3 ผลผลิตที่เกิดขึ้นจากการดาเนินงานโครงการ 6.3.1 เป้าหมายเชิงปริมาณ ประชาชนทั่วไปตาบลแสงอรุณ/ห้วยยาง/เขาล้าน จานวน 16 คน 6.3.2 เป้าหมายเชิงคุณภาพ ผู้เรี ยนที่เข้าร่ วมกิจกรรม มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะที่จาเป็นในการดาเนินชีวิต มี เจตคติที่ ถูกต้อง สามารถดูแลสุขภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างเหมาะสม 6.4 ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการดาเนินงานโครงการ ผู้เรียนนาความรู้ ความเข้าใจ และทักษะที่จาเป็นในการดาเนินชีวิต มีเจตคติที่ถูกต้อง สามารถดูแลสุขภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างเหมาะสม 7. ปัญหาและอุปสรรค -

8. ข้อเสนอแนะ/แนวทางการดาเนินงานต่อไป

1,325

41 ผู้ที่เข้ารับการอบรมควรนาความรู้และประสบการณ์ไปถ่ายทอดให้กับประชาชนในชุมชน แนะนาการ ทากิจกรรมที่ได้รับมาไปเผยแพร่ ให้ เกิดประโยชน์ กับประชาชนในชุมชน โดยมี แนวทางการดาเนินงานจัด กิจกรรมที่หลากหลายตามความต้องการของประชาชนในพื้นที่ให้มากที่สุด

42 9. รูปภาพโครงการ/กิจกรรม โครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต หลักสูตร สุขภาพดีชีวีมีสุข ในวันที่ 29 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 ณ ศาลาประชุม ม.1 บ้านไร่ใน ตาบลแสงอรุณ อาเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

43 1. ชื่อโครงการ : โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน กศน.ตาบลเขาล้าน หลักสูตรการบริหารจัดการขยะ จานวน 3 ชั่วโมง 2. ความสอดคล้องของแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 2.1 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพมนุษย์ 2.2 สอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพมนุษย์ทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา 2.3 สอดคล้องกับนโยบายและจุ ดเน้นการดาเนิน งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จุดเน้นที่ 1 ด้านการจัดการเรียนรู้คุณภาพ 1.1 น้อมนาพระบรมราโชบายสู่การปฏิบัติ รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการดาเนินงานโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชดาริทุกโครงการ และโครงการอันเกี่ยวเนื่องจากราชวงศ์ จุดเน้นที่ 2 ด้านการสร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ 2.9 ส่งเสริมการสร้างและพัฒนานวัตกรรมของบุคลากร กศน. รวมทั้งรวบรวมและเผยแพร่ เพื่อให้ หน่วยงาน / สถานศึกษา นาไปใช้ในการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน 2.4 สอดคล้องกับพันธกิจของสานักงาน กศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กศน. เพื่อประชาชน “ก้าวใหม่ : ก้าวแห่งคุณภาพ” นโยบายและจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 2. ด้านการสร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ 2.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตที่เน้นการพัฒนาทักษะที่จาเป็นสาหรับแต่ละช่วงวัย และ การจัดการศึกษาและการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับแต่ละกลุ่มเป้าหมายและบริบทพื้นที่ 2.2 พัฒนาหลักสูตรอาชีพระยะสั้นที่เน้น New skill Up skill และ Re skเที่สอดคล้องกับบริบท พื้ น ที่ ความต้ อ งการของกลุ่ ม เป้ า หมาย ความต้ อ งการของตลาดแรงงาน และกลุ่ ม อาชี พ ใหม่ ที่ ร องรั บ Disruptive Technology 2.5 สอดคล้องกับพันธกิจของ กศน.อาเภอทับสะแก พันธกิจที่ 1 จัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้ผู้เรียน/ ผู้รับบริการ ทุกกลุ่ม ทุกช่วงวัย มีโอกาสการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ พันธกิจที่ 2 จัดกิจกรรมและส่งเสริมให้ผู้เรียน/ผู้รับบริการ มีทักษะในการแสวงหาความรู้ตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พันธกิจที่ 3 จัดกิจกรรมและส่งเสริมให้ผู้เรียน/ผู้รับบริการมีทักษะการเรียนรู้พร้อมรับการ เปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 พันธกิจที่ 4 จัดกิจกรรมและส่งเสริมสถานศึกษาคุณธรรมมีการจัดกิจกรรมครอบคลุม 4 ด้าน ได้แก่ ด้านศาสนา ด้านวิถีไทย ด้านคุณธรรมอัตลักษณ์ และกิจกรรมจิตอาสาทาความดีด้วยหัวใจ พันธกิจที่ 6 สถานศึกษาพัฒนาหลักสูตรและรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและ นวัตกรรมที่สอดคล้องกับบริบทของชุมชน

44 พันธกิจที่ 8 ส่งเสริมและสนับสนุนภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย 2.6 สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง 3. หลักการและเหตุผล การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชนเป็นการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยที่มุ่งเน้นการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กลุ่มเป้าหมายนอกระบบซึ่งได้แก่ ผู้เรียนทั่วไปได้มีการพัฒนา ความรู้ความสามารถในการแสวงหาความรู้ในการเติมเต็มปัญญาให้กับสังคมที่อยู่นอกระบบการศึกษา เพื่อ สร้างเสริมการเรียนรู้ด้วยกระบวนการต่างๆ ในการแก้ไขปัญหาและการพัฒนาชุมชน การจัดการความรู้ การ วิจัยชุมชน ซึ่งเป็นพื้นฐานของการนาความรู้ในการแก้ไขปัญหาของชุมชน การพัฒนาสังคม ซึ่งการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาสังคมและชุมชนมีรูปแบบการเรียนรู้ที่หลากหลาย เป็นหลักสูตรระยะสั้นที่ตอบสนองความต้องการ ของชุม ชน โดยใช้ชุม ชนเป็ น ฐานของการพัฒ นาการเรี ยนรู้ของคนในชุมชน การระดมทุน ของชุม ชนเป็ น เครื่องมือในการจัดการเรี ยนรู้เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาสังคมและชุมชนของ ตนเอง โดยเน้นการจัดเวทีชาวบ้านการจัดกระบวนการเรียนรู้ของชุมชนเป็นการพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ ของคนในชุมชน ในการพัฒนาการเรียนรู้ของคนในชุมชนเนื้อหาสาระมุ่งเน้นในเรื่องเกี่ยวกับการพัฒนาสังคม และชุมชน เช่นการอบรมเข้าค่ายประชาธิปไตย การอบรมให้ความรู้ด้ านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การจัดกลุ่มวิสาหกิจชุมชน เป็นต้น ศูน ย์ ก ารศึก ษานอกระบบและการศึก ษาตามอั ธ ยาศั ยอ าเภอทับ สะแก โดย กศน.ตาบลเขาล้ า น ได้ตระหนักถึงความสาคัญของการศึกษาดังกล่าว จึงได้ดาเนินการจัดโครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคม และชุมชนขึ้น เพื่อเป็นการศึกษาที่บูรณาการความรู้และทักษะพื้นฐานในการพัฒนาการเรียนรู้ของคนใน ชุมชน คนในชุมชนเกิดทักษะความรู้และนาไปประยุกต์ใช้ในชุมชนของแต่ละชุมชน/อาเภอได้ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน มีความรู้ ความเข้าใจ ร่วมวิเคราะห์สภาพปัญหาและ ความต้องการของชุมชน ร่วมทาและสร้างประสบการณ์ในการแก้ไขปัญหาของชุมชน 4.2 เพื่อให้ผู้เรียน มีทักษะในการวิเคราะห์สภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน 5. เป้าหมายการดาเนินงานโครงการ เชิงปริมาณ กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนทั่วไป จานวน 15 คน ผลการดาเนินงาน จานวน 16 คน เชิงคุณภาพ ผู้เรียน ที่เข้าอบรมมีความรู้และทักษะสามารถวิเคราะห์สภาพปัญหาและความต้องการ ของชุมชน มีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมและชุมชนของตนเองได้ 6. ผลการดาเนินงาน 6.1 งบประมาณที่ใช้

45 งบประมาณจากแผนงาน : พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตที่4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ งบดาเนินงาน จานวนเงิน 1,200บาท(หนึ่งพันสองร้อยบาทถ้วน) 1 ค่าวิทยากร จานวน 3 ชม. ๆ 200 บาท เป็นเงิน 600 บาท 2. ค่าวัสดุฝึกอบรม - ถังคัดแยกประเภทขยะ จานวน 4 ใบๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 600 บาท รวมเป็นเงิน 1,200 บาท 6.2 วิธีการดาเนินงาน (ชื่อโครงการ/กิจกรรม/หลักสูตร) 1. ขั้นวางแผน (Plan) 1.1 วางแผนปฏิบัติงาน 1.2 แต่งตั้งคณะทางาน 1.3 จัดทาโครงการและขออนุมัติโครงการ 1.4 ประชาสัมพันธ์โครงการฯ 2. ขั้นดาเนินงาน (Do) ดาเนินการตามแผน จัดกิจกรรมรูปแบบการฝึกอบรม ให้กับประชาชนตาบลเขาล้าน ที่

งาน/โครงการ/ กิจกรรม/หลักสูตร

1 ดาเนินการจัดโครง การการ ศึกษาเพื่อพัฒนา สังคมและชุมชน หลักสูตรการบริหาร จัดการขยะ จานวน 3 ชั่วโมง รวม

เป้าหมาย (คน)

ผลการดาเนินงาน (คน) ชาย หญิง

ระยะเวลา พื้นที่ดาเนินการ

รวม

15

5

11

16

15

5

11

16

ศาลาประชุม หมู่ 1 ตาบลเขาล้าน อาเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขนั ธ์

ในการ ดาเนินงาน

งบประมาณ (บาท)

วันที่ 6

ธันวาคม 2565

3. ขั้นตรวจสอบ (Check) 3.1 การประเมินผลก่อนดาเนินโครงการ 3.2 การประเมินระหว่างดาเนินโครงการ 3.3 การประเมินเมื่อเสร็จสิ้นโครงการ 4. ขั้นปรับปรุงแก้ไข (Action) 4.1 รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สรุป และจัดทารายงานการประเมินโครงการ

1,200

1,200

46 4.2 ประชุมคณะทางานเพื่อนาข้อมูลจากการประเมินโครงการไปใช้ปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาดาเนินโครงการต่อไป 6.3 ผลผลิตที่เกิดขึ้นจากการดาเนินงานโครงการ เชิงปริมาณ ประชาชนทั่วไปในตาบลเขาล้าน จานวน 16 คน เชิงคุณภาพ ผู้เรียนที่เข้าอบรมมีความรู้และทักษะสามารถวิเคราะห์สภาพปัญหาและความต้องการของ ชุมชน มีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมและชุมชนของตนเองได้ 6.4 ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการดาเนินงานโครงการ ผู้เรียนสามารถนาความรู้ทอี่ บรม และทักษะสามารถวิเคราะห์สภาพปัญหาและความต้องการ ของชุมชน มีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมและชุมชนของตนเองได้ 7. ปัญหาและอุปสรรค -

8. ข้อเสนอแนะ/แนวทางการดาเนินงานต่อไป ผู้ที่เข้ารับการอบรมควรนาความรู้และประสบการณ์ไปถ่ายทอดให้กับประชาชนในชุมชน แนะนาการ ทากิจกรรมที่ได้รับมาไปเผยแพร่ ให้ เกิดประโยชน์ กับประชาชนในชุมชน โดยมี แนวทางการดาเนินงานจัด กิจกรรมที่หลากหลายตามความต้องการของประชาชนในพื้นที่ให้มากที่สุด

47 9. รูปภาพโครงการ/กิจกรรม โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน กศน.ตาบลเขาล้าน หลักสูตร การบริหารจัดการขยะ จานวน 3 ชั่วโมง ในวันที่ 6 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2565 ณ ศาลาประชุม หมู่ ที่ 1 ตาบลเขาล้าน อาเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

48 1. ชื่อโครงการ : โครงการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กศน.ตาบลเขาล้านปีงบประมาณ 2566 2. ความสอดคล้องของแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 2.1 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 2.2 สอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา 2.3 สอดคล้องกับนโยบายและจุ ดเน้นการดาเนิน งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จุดเน้นที่ 2 ด้านการสร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ 2.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตที่เน้นการพัฒนาทักษะที่จาเป็นสาหรับแต่ละช่วงวัย และการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับแต่ละกลุ่มเป้าหมายและบริบทพื้นที่ 2.4 ส่งเสริมการจัดการศึกษาของผู้สูงอายุเพื่อให้เป็น Active Ageing Workforce และมี Life Skill ในการดารงชีวิตที่เหมาะกับช่วงวัย ภารกิจต่อเนื่อง 1.3 การศึกษาต่อเนื่อง 1) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาอย่างยั่งยืน โดยให้ความสาคัญกับการจัดการศึกษา อาชีพเพื่อการมีงานทาในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทาง หรือการบริการ รวมถึงการเน้นอาชีพช่างพื้นฐาน ที่ส อดคล้องกับศักยภาพของผู้ เรียน ความต้องการและ ศักยภาพของแต่ละพื้นที่ มีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ สอดรับกับความต้องการของตลาดแรงงาน และ การพัฒนาประเทศ ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยจัดให้มีหนึ่งอาชีพเด่น รวมทั้งให้ มีการกากับ ติดตาม และรายงานผลการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง 2.5 สอดคล้องกับพันธกิจของสานักงาน กศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พันธกิจที่ 2 ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึ กษาตามอัธยาศัยที่มี คุณภาพและการเรี ย นรู้ ตลอดชีวิตภายใต้หลั กปรัช ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะที่จาเป็นในโลก ศตวรรษที่ 21 พันธกิจที่ 3 ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาจัดทาหลักสูตร รูปแบบการจัดการเรียนรู้ สื่อและนวัตกรรม การวิจัย การวัดผลและประเมินผล ให้สอดคล้องกับบริบทในพื้นที่ พันธกิจที่ 4 ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษานาเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยี ดิจิทัลมาใช้ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ พันธกิจที่ 5 ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายจัดส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 2.6 สอดคล้องกับพันธกิจของ กศน.อาเภอทับสะแก พัน ธกิจ ที่ 1 จั ดกิจ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธ ยาศัย ให้ ผู้ เรียน/ ผู้รับบริการ ทุกกลุ่ม ทุกช่วงวัย มีโอกาสการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ

49 พันธกิจที่ 3 จัดกิจกรรมและส่งเสริมให้ผู้เรียน/ผู้รับบริการ มีทักษะการเรียนรู้พร้อมรับการ เปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 พันธกิจที่ 5 สถานศึกษาส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย พันธกิจที่ 6 สถานศึกษาพัฒนาหลักสูตรและรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่ อและ นวัตกรรมที่สอดคล้องกับบริบทของชุมชน พันธกิจที่ 8 ส่งเสริมและสนับสนุนภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย 2.7 สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง 3. หลักการและเหตุผล หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชน ในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนิน ไปในทางสายกลาง มีความพอประมาณ มีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี พอสมควรต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะต้องอาศัย ความรอบรู้ ความรอบคอบและความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนาวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการ ดาเนินการทุกขั้นตอน ให้มีสานึกในคุ ณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และมีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดาเนินชีวิต ด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้ เป็นอย่างดี ศูน ย์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธ ยาศัยอาเภอทับสะแก โดย กศน.ตาบลเขาล้ า น ได้เล็ งเห็ น ความส าคัญของเรื่ อ งดังกล่ าว จึ ง ได้ จัด โครงการการเรียนรู้ห ลั กปรัช ญาของเศรษฐกิจพอเพีย ง กศน.ตาบลเขาล้าน ประจาปีงบประมาณ 2566 ขึ้น 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อให้ผู้เรียนในตาบลเขาล้าน มีความรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4.2 เพื่อให้ผู้เรียนในตาบลเขาล้าน มีทักษะกระบวนการคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5. เป้าหมายการดาเนินงานโครงการ เชิงปริมาณ กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนทั่วไป จานวน 15 คน ผลการดาเนินงาน จานวน 16 คน เชิงคุณภาพ ผู้เรียนในตาบลเขาล้าน มีความรู้และทักษะกระบวนการคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง สามารถนามาประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตและพัฒนาสังคมได้

50 6. ผลการดาเนินงาน 6.1 งบประมาณที่ใช้ งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2566 จากแผนงาน : พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ มนุษย์ ผลผลิตที่ 4 ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ งบดาเนินงาน เพื่อเป็น ค่ า ใช้ จ่ า ยในการจั ด การศึ ก ษาต่ อ เนื่ อ ง กิ จ กรรมจั ด การเรี ย นรู้ ต ามหลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง จานวนเงิน 1,267 บาท (หนึ่งพันสองร้อยหกสิบเจ็ดบาทถ้วน) ตามรายละเอียดดังนี้ - ค่าตอบแทนวิทยากร 200 x 3ชั่วโมง เป็นเงิน 600 บาท - ค่าวัสดุโครงการ เป็นเงิน 667 บาท ดินสาหรับปลูก ถุงละ 25 บาท จานวน 10 ถุง เป็นเงิน 250 บาท ถุงสาหรับเพาะ 1 กก ๆ 42 บาท เป็นเงิน 42 บาท เมล็ดผัก 15 ซอง ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 375 บาท รวมเป็นเงิน 1,267 บาท หมายเหตุ ทุกรายการถัวเฉลี่ยจ่ายเท่าที่จ่ายจริง 6.2 วิธีการดาเนินงาน (ชื่อโครงการ/กิจกรรม/หลักสูตร) 1. ขั้นวางแผน (Plan) 1.1 วางแผนปฏิบัติงาน 1.2 แต่งตั้งคณะทางาน 1.3 จัดทาโครงการและขออนุมัติโครงการ 1.4 ประชาสัมพันธ์โครงการฯ 2. ขั้นดาเนินงาน (Do) ดาเนินการตามแผน จัดกิจกรรมรูปแบบการฝึกอบรม ให้กับประชาชนตาบลเขาล้าน ผลการดาเนินงาน งาน/โครงการ/ เป้าหมาย (คน) ที่ พื้นที่ดาเนินการ กิจกรรม/หลักสูตร (คน) ชาย หญิง รวม 1 ดาเนินการจัด โครงการเรียนรู้ตาม หลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง หลักสูตร“พึ่งตนเอง” ตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง จานวน 3 ชั่วโมง รวม

15

2

14

16

15

2

14

16

ศาลาประชุม หมู่ 2 ตาบลเขาล้าน อาเภอ ทับสะแก จังหวัดประจวบ คีรีขันธ์

ระยะเวลา ในการ ดาเนินงาน วันที่ 7

ธันวาคม 2565

งบประมาณ (บาท) 1,267

1,267

51 3. ขั้นตรวจสอบ (Check) 3.1 การประเมินผลก่อนดาเนินโครงการ 3.2 การประเมินระหว่างดาเนินโครงการ 3.3 การประเมินเมื่อเสร็จสิ้นโครงการ 4. ขั้นปรับปรุงแก้ไข (Action) 4.1 รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สรุป และจัดทารายงานการประเมินโครงการ 4.2 ประชุมคณะทางานเพื่อนาข้อมูลจากการประเมินโครงการไปใช้ปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาดาเนินโครงการต่อไป 6.3 ผลผลิตที่เกิดขึ้นจากการดาเนินงานโครงการ เชิงปริมาณ ประชาชนทั่วไปในตาบลเขาล้าน จานวน 16 คน เชิงคุณภาพ ผู้เรียนที่เข้าอบรมมีความรู้และทักษะสามารถวิเคราะห์สภาพปัญหาและความต้องการของ ชุมชน มีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมและชุมชนของตนเองได้ 6.4 ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการดาเนินงานโครงการ ผู้เรี ยนมีความรู้ และทักษะกระบวนการคิดตามหลักปรัช ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามา ประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตและพัฒนาสังคมได้ 7. ปัญหาและอุปสรรค -

8. ข้อเสนอแนะ/แนวทางการดาเนินงานต่อไป ผู้ที่เข้ารับการอบรมควรนาความรู้และประสบการณ์ไปถ่ายทอดให้กับประชาชนในชุมชน แนะนาการ ทากิจกรรมที่ได้รับมาไปเผยแพร่ ให้ เกิดประโยชน์ กับประชาชนในชุมชน โดยมี แนวทางการดาเนินงานจัด กิจกรรมที่หลากหลายตามความต้องการของประชาชนในพื้นที่ให้มากที่สุด

52 9. รูปภาพโครงการ/กิจกรรม โครงการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง “พึ่งตนเอง” ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จานวน 3 ชั่วโมง ในวันที่ 7 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2565 ณ ศาลาประชุม หมู่ 2ตาบลเขาล้าน อาเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

53

รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายและ จุดเน้นการดาเนินงานสานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย

54

รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานของสานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กศน.ตาบลเขาล้าน กศน.อาเภอทับสะแก 1. โครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย 2. ความสอดคล้องของแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ สอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานของสานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ 2563 ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา 3. หลักการและเหตุผล กระทรวงศึกษาธิการ ได้มีนโยบายดาเนินงานด้านส่งเสริมการอ่านของประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยมุ่งหวังให้คนไทยมีนิสัยรักการอ่าน สานักงาน กศน. ได้กาหนดนโยบายส่งเสริมการอ่านในหลากหลาย รูปแบบ และกาหนดให้ครูกศน.ตาบล เป็นสื่อกลางในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เพื่อพัฒนาเป็นสังคม แห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืน เพื่อส่งเสริมให้เกิดการนิสัยรักการอ่านการเรียนรู้ ขยายขอบเขต และเพิ่มโอกาสการเรียนรู้ ให้กับ นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป และเป็นการกระตุ้นให้เกิดความสนใจทั่วทุกพื้นที่อย่างทั่วถึง และ ต่อเนื่อง อันจะนาไปสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ในอาเภอทับสะแก กศน.อาเภอทับสะแก โดยกศน.ตาบลนาหูกวาง จึงจัดโครงการส่งเสริมการอ่าน ประจาปีงบประมาณ 2566 เคลื่อนที่ออกใหบริการประชาชนในพื้นที่ต่าง ๆ ขึ้น ประกอบด้วยกิจกรรมให้บริการ สื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่ทันสมัย และจัดกิจกรรมส่งเสริมการ อ่านอื่น ๆ เช่น จั ดนิ ทรรศการข่าวสารที่เป็นที่ส นใจ กิจกรรมตอบปัญหา เล่ านิทาน วาดภาพระบายสี กิจกรรมส่งเสริมการอ่านโดยใช้ QR CODE เป็นต้น โดยมีเป้าหมายให้บริการส่งเสริมการอ่านร่วมกับ กศน. ตาบล ซึ่งเป็นอีกส่วนหนึ่งของการผลักดันให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้ 4. วัตถุประสงค์ 1 เพื่อส่งเสริม สนับสนุน การอ่าน/การเรียนรู้ และปลูกฝังนิสัยรักการอ่านให้กับกลุ่มเป้าหมายอย่าง กว้างขวาง ทั่วถึงทุกพื้นที่ 2. เพื่อเพิ่มช่องทางและโอกาสการอ่าน/การเรียนรู้ให้กลุ่มเป้าหมาย 3. เพื่อส่งเสริมความร่วมมือ และประชาสัมพันธ์กิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอัธยาศัย 5. เป้าหมายการดาเนินงานโครงการ เชิงปริมาณ

55 กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนทั่วไป จานวน 150 คน ผลดาเนินงาน ประชาชนทั่วไป จานวน 523 คน เชิงคุณภาพ ประชาชนในตาบลนาหูกวาง ที่ได้รับบริการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ และ ปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน/การเรียนรู้ อย่างกว้างขวาง ทั่วถึง และมีคุณภาพ 6. ผลการดาเนินงาน 6.1 งบประมาณที่ใช้ 6.2 วิธีการดาเนินงาน (ชื่อโครงการ/กิจกรรม/หลักสูตร) 1. ขั้นวางแผน (Plan) 1.1 วางแผนปฏิบัติงาน 1.2 แต่งตั้งคณะทางาน 1.3 จัดทาโครงการและขออนุมัติโครงการ 1.4 ประชาสัมพันธ์โครงการฯ 2. ขั้นดาเนินงาน (Do) ดาเนินการตามแผน ผลการดาเนินงาน งาน/โครงการ/ เป้าหมาย (คน) ที่ กิจกรรม/หลักสูตร (คน) ชาย หญิง รวม 1

2

กิจกรรมส่งเสริมการ อ่าน(กศน.ตาบล/ ศูนย์ การเรียนชุมชน) การศึกษาตาม / อาสาสมัครส่งเสริมการ อ่าน - กิจกรรมส่งเสริมการ อ่าน - กิจกรรมอ่านเรียนรู้ ผ่านสื่อออนไลน์ บ้านหนังสือชุมชน - กิจกรรมหมุนเวียน สื่อ - กิจกรรมสาระน่ารู้กับ บ้านหนังสือ - กิจกรรมพัฒนาบ้าน หนังสือ - อ่านหนังสือออนไลน์

ระยะเวลา พื้นที่ดาเนินการ

ในการ ดาเนินงาน

งบประมาณ (บาท)

50

85

117

202 กศน.ตาบลเขาล้าน

1 ตุลาคม 2565 – 30 มีนาคม 2566

-

50

75

116

191 บ้านหนังสือชุมชนบ้าน โป่งแดง

1 ตุลาคม 2565 – 30 มีนาคม 2566

-

56

ที่

3

งาน/โครงการ/ กิจกรรม/หลักสูตร ผ่านระบบ qr code กิจกรรมส่งเสริมการ อ่านอื่น ๆ - โครงการอาเภอยิ้ม ประจาปีงบประมาณ 2566

เป้าหมาย (คน)

50

ผลการดาเนินงาน (คน) ชาย หญิง

รวม

67

160

93

พื้นที่ดาเนินการ

ในการ ดาเนินงาน

งบประมาณ (บาท)

วันที่ 29 พฤศจิกายน ศาลาบ้านไร่ 2565 ใน หมู่ที่ 1 ตาบลแสง อรุณ วันที่ 22 ธันวาคม หมู่บ้าน 2565 หนองพลับ หมู่ที่ 9 ตาบลห้วย ยางศาลา เอนกประสง วันที่ 22 กุมภาพันธ์ ค์บ้านหนอง 2566 ยาว

- กิจกรรมอาเภอ เคลื่อนที่

รวม

ระยะเวลา

150

227

326

523

3. ขั้นตรวจสอบ (Check) 3.1 การประเมินผลก่อนดาเนินโครงการ 3.2 การประเมินระหว่างดาเนินโครงการ 3.3 การประเมินเมื่อเสร็จสิ้นโครงการ 4. ขั้นปรับปรุงแก้ไข (Action) 4.1 รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สรุป และจัดทารายงานการประเมินโครงการ

-

57 ภาพประกอบกิจกรรม การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย

กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน/หน่วยบริการเคลื่อนที่

บ้านหนังสือชุมชนบ้านห้วยแห้ง ต เขาล้าน

กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน/อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน

58 การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย

กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน/หน่วยบริการเคลื่อนที่

บ้านหนังสือชุมชนบ้านห้วยแห้ง ต เขา ล้าน

กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน/อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน

59 การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย

กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน/หน่วยบริการเคลื่อนที่

บ้านหนังสือชุมชนบ้านห้วยแห้ง ต เขาล้าน

กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน/อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน

60

61

ส่วนที่ 4 ผลงานดีเด่น (Best Practice) 1. ชื่อผลงาน การจักสานใบมะพร้าว 2. หน่วยงาน/สถานศึกษา/กศน.ตาบล กศน.ตาบลเขาล้าน กศน.อาเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 3. ชื่อเจ้าของผลงาน นางนิยะดา อินไชยยา ครู กศน.ตาบลเขาล้าน 4. ความสอดคล้อง . ความสอดคล้องของแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 4.1 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580 ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน 4.2 สอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการส้รางสังคมแห่งการเรียนรู้ 4.3 สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 1. เรียนรู้การใช้ดิจิทัล เพื่อใช้เป็นเครื่องมือสาาหรับหาช่องทางในการสร้างอาชีพ 2. จัดทาหลักสูตรพัฒนาอาชีพที่เหมาะสมสาหรับผู้ที่เข้าสู่สังคมสูงวัย 4.4 สอดคล้องกับ นโยบายและจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 4. การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน 4.1 พัฒนาหลักสูตรอาชีพที่เน้น New skill Up - skill และ Re - skill ที่สอดคล้องกับมาตรฐาน อาชีพ บริบทพื้นที่ และความสนใจ พร้อมทั้งสร้างช่องทางอาชีพในรูปแบบที่ความหลากหลายของ กลุ่มเป้าหมาย เช่น ผู้พิการ ผู้สูงอายุ ความต้องการของตลาดแรงงาน และกลุ่มอาชีพใหม่ที่รองรับ Disruptive Technology เพื่อการเข้าสู่การรับรองสมรรถนะและได้รับคุณวุฒิตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติรวมทั้งสามารถนา ผลการเรียนรู้และ ประสบการณ์เทียบโอนเข้าสู่ระบบการสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank) เพื่อให้ กลุ่มเป้าหมายมีการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น 4.2 ยกระดับผลิตภัณฑ์ สินค้า บริการจากโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ทีเ่ น้น “ส่งเสริมความรู้ สร้าง อาชีพ เพิ่มรายได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี” ให้มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของตลาด ต่อยอดภูมิปัญญา ท้องถิ่นเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม พัฒนาสู่วิสาหกิจชุมชน ตลอดจนเพิ่มช่องทางประชาสัมพันธ์และช่องทางการ จาหน่าย 2.5 สอดคล้องกับพันธกิจของสานักงาน กศน.จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พันธกิจที่ 2 ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มี คุณภาพและการเรียนรู้ตลอดชีวิตภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะที่จาเป็นในโลก ศตวรรษที่ 21

62 พันธกิจที่ 3 ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษาจัดทาหลักสูตร รูปแบบการจัดการเรียนรู้ สื่อ และนวัตกรรม การวิจัย การวัดผลและประเมินผล ให้สอดคล้องกับบริบทในพื้นที่ พันธกิจที่ 4 ส่งเสริม สนับสนุน ให้สถานศึกษานาเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยี ดิจิทัลมาใช้ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ พันธกิจที่ 5 ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายจัดส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 2.6 สอดคล้องกับพันธกิจของ กศน.อาเภอทับสะแก พันธกิจที่ 1 จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีคุณภาพ พันธกิจที่ 2 จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาที่สามารถสร้างอาชีพสร้างรายได้ พันธกิจที่3 จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ประชาชนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รัก การเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง พันธกิจที่ 4 ส่งเสริม พัฒนาหลักสูตร และกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงาม รู้จักสิทธิหน้าที่ของตนเองดารงชีวิตอย่างเหมาะสมบนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วัฒนธรรม สังคม และ ชุมชน สามารถปรับตัวรู้เท่าทันกับการเปลี่ยนแปลง พันธกิจที่5 ส่งเสริมสนับสนุนให้ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาและการ เรียนรู้ตลอดชีวิต พันธกิจที่ 6 พัฒนาแหล่งเรียนรู้ สื่อเทคโนโลยีเพื่อสร้างโอกาสการเรียนรู้ตลอดชีวิต 2.7 สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา 5. ที่มาและความสาคัญของผลงาน 5.1 ขั้นปัญหา อาเภอทับสะแกปลูกมะพร้าวกันมาก มะพร้าวลูกแก่ที่ไม่ถูกนามาทาพันธุ์มักถูกคัดทิ้ง เปลือก นามาทาขุยมะพร้าว วัสดุปลูก ส่วนกะลาถ้ าไม่ถูกนามาทางานศิลปะหรืออื่นๆ ก็มักถูกทิ้งหรือทาเชื้อเพลิง ซึ่ง ได้ราคาไม่มากนัก พอดีช่วง 2-3 ปีที่แล้ว เริ่มมีการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากมะพร้าวในรูปแบบต่างๆ เพื่อเพิ่ม มูลค่าของมะพร้าว 5.2 ขั้นวิเคราะห์ปัญหา ศูน ย์ การศึ กษานอกระบบและการศึก ษาตามอัธ ยาศั ยอ าเภอทั บสะแก โดย กศน.ต าบล เขาล้าน มีการเข้าสารวจความต้องการและถอดบทเรียนเพื่อหาแนวทางการดาเนินงานให้กับชุมชนเพื่อร่ว ม กาหนดแนวทางการแก้ไขปัญหา และร่วมปรับปรุงเพื่อพัฒนาต่อยอดกิจกรรม พบว่าประชาชนส่วนใหญ่ใน อาเภอทับสะแกประกอบอาชีพทางการเกษตร ส่วนมากทาสวนมะพร้าว พบว่า มีการทามะพร้าวขาวเป็น อาชีพรองจากการขายผลมะพร้าว และทาให้เกิดผลิตภัณฑ์ที่เหลื อใช้ได้แก่ เปลือก กะลา น้า มีก ารนาไปขาย ต่อในราคาต่า เพื่อให้ผลิตภัณฑ์มีมูลค่าเพิ่มขึ้นทางกลุ่มจึงร่วมศึกษาถึงการแปรรูปผลิตภัณฑ์มะพร้าวด้วยการ สานใบมะพร้าว เพิ่มรายได้ให้กับประชาชนในชุมชน และเป็นการอนุรักษ์ธรรมชาติอีกแนวทางหนึ่ง

63 5.3 ขั้นสรุปแนวทางที่จะแก้ปัญหา กศน.ตาบลเขาล้าน ได้จัดทาแผนการการปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน ในการส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชน นาผลิตภัณฑ์จากมะพร้าว มาเพิ่มมูลค่า ภายใต้กิจกรรม โครงการการจัด การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ ( ในรูปแบบกลุ่มสนใจ กศน.ตาบลเขาล้าน) ในหลักสูตร การจักสานใบมะพร้าว เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับมะพร้าวและสร้างเป็นรายได้เสริมให้ประชาชนในชุมชน การจักสานใบมะพร้าว เป็นการนาผลผลิตทีเ่ หลือมาแปรรูปให้เกิดประโยชน์ และมีมูลค่าเพิม่ ขึ้น 6. วัตถุประสงค์ 6.1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนได้ฝึกทักษะอาชีพตามความต้องการของตนเอง 6.2 เพื่อส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ในการพัฒนาอาชีพและแก้ไขปัญหาในกลุ่มอาชีพของตนเอง 6.3 เพื่อส่งเสริมพัฒนาอาชีพด้วยนวัตกรรมเทคโนโลยี 7. วิธีการดาเนินการ 7.1 ขั้นวางแผน (Plan) - ผู้บริหารและบุคลากร ร่วมประชุมวางแผนการดาเนินงานและทาความเข้าใจกรอบแนว ทางการดาเนินงานการจัดกิจกรรม ให้สอดคล้องกับนโยบายของ สานักงาน กศน. - ครูกศน.ตาบลเขาล้าน ดาเนินการศึกษาข้อมูลเบื้องต้นของชุมชน นามาสู่กระบวนการ วิเคราะห์ข้อมูล จากการเข้ าร่วมประชุมหมู่บ้าน การจัดเวทีช าวบ้านและการร่วมปฏิบัติงานกับหน่วยงาน ราชการอาเภอทับสะแกและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง - ครูกศน.ตาบลเขาล้านนาข้อมูลที่ได้จากการสารวจมาวิเคราะห์ปัญหา/ความต้องการ มา ออกแบบกิจกรรมการจัดกระบวนการเรียนรู้การจักสานใบมะพร้าว ให้เหมาะสมกับประชาชนผู้รับบริการ - ครูกศน.ตาบลเขาล้านประสานงานวิทยากรและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง - ครูกศน.ตาบลเขาล้านและวิทยากร ร่วมกันออกแบบการจัดกิจกรรมแผนการเรียนรู้ และ จัดทาหลักสูตรการจักสานใบมะพร้าว - เขียนเสนอโครงการ/ขออนุมัติโครงการจากผู้บริหาร - ประชาสัมพันธ์โครงการฯ เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วม 7.2 ขั้นดาเนินงาน (Do) ที่

งาน/โครงการ/ กิจกรรม/หลักสูตร

1 การจักสานใบมะพร้าว จานวน 12 ชั่วโมง

รวม

เป้าหมาย (คน)

ผลการดาเนินงาน (คน) ชาย

หญิง

รวม

6

3

8

11

6

3

8

11

ระยะเวลา พื้นที่ดาเนินการ ณ ศาลาประชุม ม 9 ต.เขาล้าน อ.ทับสะแก จ. ประจวบคีรีขันธ์

ในการ ดาเนินงาน 28-30 มกราคม 2566

งบประมาณ (บาท) 3,400

3,400

64 7.3 ขั้นตรวจสอบ (Check) มีการประเมินโครงการเมื่อเสร็จสิ้นโครงการและมีแบบประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ 7.3.1 ในการติดตามและประเมินผล โครงการการ ศึกษาเพื่อพัฒนา อาชีพหลักสูตร การจัก สานใบมะพร้าว จานวน 12 ชั่วโมง วันที่ 28– 30 เดือน มกราคม พ.ศ. 2566 ณ ศาลาประชุม ม 9 ต. เขาล้าน อาเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมจานวน 11 คน พบว่ามีค่าร้อยละความพึง พอใจระดับ มากขึ้นไป 7.3.2 ผลการวิเคราะห์แบบการติดตามผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง พบว่า ผู้จบหลักสูตร ได้นาความรู้ /ทักษะไปใช้ประโยชน์หลังจากจบหลักสูตรสามารถเพิ่มทักษะ คิดเป็นร้อยละ 100 7.3.3 รายงานผลโครงการ 7.4 ขั้นปรับปรุงแก้ไข (Action) - ครู กศน.ตาบลเขาล้าน รวบรวมข้อมูลวิเคราะห์ข้อมูล สรุป ผลและดาเนินการพัฒนา หลั ก สู ต รและการจั ด กิ จ กรรมให้ ค รอบคลุ ม กั บ กลุ่ ม เป้ า หมายทุ ก ในพื้ น ที่ และมี ก ารพั ฒ นากระบวนการ ดาเนินงานอย่างยั่งยืน พัฒนากระบวนการเรียนรู้ด้านอาชีพของประชาชน ให้มีความก้าวหน้าสอดคล้องบริบท ของชุมชน - ครู กศน.ตาบลเขาล้ าน ส่ งเสริม การจัด กิจกรรมอย่ างต่ อเนื่อง เพื่ อให้ เกิ ดการพั ฒ นา กระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาอาชีพที่หลากหลายและสอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการ และเกิดการ รวมกลุ่มพัฒนาอาชีพแบบพึ่งพาตนเอง สามารถสร้างรายได้ให้กับครอบครัวและชุมชน - ครู กศน.ตาบลเขาล้านสรุปผลการดาเนินงานเป็นรายงาน เผยแพร่ต่อต้นสังกัด และ สาธารณะ - ครู กศน.ตาบลเขาล้านนาผลการประเมินไปพัฒนาโครงการต่อไป 8. ตัวชี้วัดความสาเร็จ 8.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (Output) 8.1.1 ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการได้ฝึกทักษะ ส่งเสริมเรียนรู้ในการพัฒนาอาชีพและ แก้ไขปัญหาในกลุ่มอาชีพ และส่งเสริมพัฒนาอาชีพด้วยนวัตกรรม ตามความต้องการของตนเอง 8.1.2 ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในระดับมาก ขึ้นไป 8.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcome) 8.2.1 ร้อยละ 80 ของประชาชนตาบลเขาล้านที่เข้าร่วมโครงการฝึกทักษะตามความต้องการ ของตนเอง ทาให้มีทักษะด้านอาชีพเบื้องต้น สามารถมองเห็นช่องทางในการประกอบอาชีพ หรือพัฒนา อาชีพที่ทาอยู่ และรู้วิธีการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนาอาชีพให้ดียิ่งขึ้น 9. การประเมินผลและเครื่องมือการประเมินผล - สังเกตพฤติกรรมผู้เข้าร่วมโครงการ - แบบประเมินความพึงพอใจ - รายงานการนิเทศจากคณะนิเทศภายในสถานศึกษา

65 10. ผลการดาเนินงาน ประชาชนทีเ่ ข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจในการจักสานใบมะพร้าว สามารถนาวัสดุที่เหลือ ใช้มาแปรรูปเป็นซุ้ม หมวก เป็นการฝึกทักษะด้านอาชีพเบื้องต้นในการจักสานใบมะพร้าว สามารถมองเห็น ช่องทางในการสร้างรายได้ให้ตนเองและครอบครัว 11.บทสรุป การจักสานใบมะพร้าว สร้างอาชีพ เป็นการนาผลผลิตเหลือทิ้งมาแปรรูปให้เกิดประโยชน์ ภายใต้ การด าเนิ น งานของการจั ด การศึ ก ษาเพื่ อ พั ฒ นาอาชี พ ( รูป แบบกลุ่ ม สนใจ) โดยมี ก ารจั ด ท าแผนการ ปฏิบัติงาน กศน.ตาบล จัดหางบประมาณมาดาเนินการจัดกิจกรรมในรูปแบบฝึกอบรมประชาชน ดาเนินการ ปฏิบัติตามแผนงาน/โครงการที่กาหนด สรุปผลการดาเนินงาน และคืนข้อมูลลงสู่ชุมชน 12. กลยุทธ์หรือปัจจัยที่ทาให้ประสบความสาเร็จ 12.1 มีการวางแผนการดาเนินงาน มีการจัดทาแผนงานของโครงการนาเครื่องมือ Plan, Do, Check, Act มาใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการด้านคุณภาพของโครงการเพื่อให้บรรลุผล 12.2 การมีส่วนร่วมของบุคลากรที่มีส่วนเกี่ยวข้อง มีการสื่อสารที่เหมาะสม ในการประสานงานกับ ภาคีเครือข่ายและชุมชน 12.3 มีการจัดการผู้มสี ่วนได้ส่วนเสีย คือ มีการสารวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย เพื่อให้เข้าใจ ได้อย่างถ่องแท้ก่อนลงมือดาเนินการวางแผนงานโครงการ 12.4 เป็นการจัดกิจกรรมจากการนาข้อมูลในการสารวจความต้องการมาวิเคราะห์ทาให้ทราบถึง ข้อมูลพื้นฐานของชุมชน และมีการเสนอแนวทางในการพัฒนาชุมชน เพื่อให้คนในชุมชนมีการประกอบอาชีพ การดารงชีวิตประจาวัน 12.5 วิทยากรมีความพร้อมและความตั้งใจที่นาประสบการณ์การทางานมาถ่ายทอดองค์ความรู้มี ความเข้าใจในรายละเอียดโครงการเป็นอย่างดี 12.6 ความพร้อมของสถานที่ อุปกรณ์ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมมีระบบวัดผลประเมินผล ที่มีประสิทธิภาพ 12.7 มีการใช้ทรัพยากรในชุมชนให้เกิดประโยชน์และสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับทรัพยากรในชุมชน 13.ข้อเสนอแนะ ร่วมส่งเสริมและพัฒนาชุมชนต่อไป ในด้านการเพิ่มมูลค่าให้กับมะพร้าวบอนไซ 14 การเผยแพร่ - การเผยแพร่ เผยแพร่ผลงานผ่าน http://oniepr.com/news_show.php?nid=6924 เผยแพร่ผลงานผ่าน https://www.facebook.com/nfe.thapsakae เผยแพร่ผลงานผ่าน Facebook กศน.ตาบลเขาล้าน

66 - ได้รบั การยอมรับ ได้รับการยอมรับจากประชาชนในชุมชนในการจัดกิจกรรม ภาพกิจกรรมการนิเทศติดตามการจัดหลักสูตรการจักสานใบมะพร้าว กศน.อาเภอทับสะแก

.

จัดทาหลักสูตรรายวิชามะพร้าวทับสะแก 1 , 2 และ 3 เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับภูมิปญ ั ญาที่มีอยู่ในอาเภอทับสะแกและเกิดความภาคภูมิใจในท้องถิ่น ซึ่งในหัวเรื่อง โครงการพัฒนาอาชีพมะพร้าว ผู้เรียนสามรถนาหลักสูตรการแปรรูผลิตภัณฑ์จากมะพร้าว มาจัดทาเป็นโครงการในการพัฒนาอาชีพได้อย่างสอดคล้องกับเนื้อหาหลักสูตร

67 โครงการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสูตร การจักสานใบมะพร้าว จานวน 12 ชั่วโมง ในวันที่ 28-30 มกราคม 2566 ณ บ้านศาลาประชุม หมู่ 9 บ้านสวนส้ม ตาบลเขาล้าน อาเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

68

ภาพประกอบกิจกรรม ภาพกิจกรรมการนิเทศติดตามการจัดหลักสูตร การจักสานใบมะพร้าว จานวน 12 ชั่วโมง กศน.อาเภอทับสะแก

69

70

71

72

73

74

75

76

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.