บทที่ ๑ บทนำ รวม 5 บท Flipbook PDF

บทที่ ๑ บทนำ รวม 5 บท

49 downloads 105 Views 4MB Size

Story Transcript

บทสรุปผู้บริหาร โครงการปฐมนิเทศนั กศึกษาหลักสู ตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา ๒๕๖5 เพื่อให้นักศึกษา กศน.อาเภอชุมพลบุรี เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้ าใจในการเรี ย นรู้ ต ามหลั ก สู ตรการศึ ก ษานอกระบบระดั บ การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานพุ ท ธศั ก ราช 2551 ด าเนิ น การ ในวั น ที่ 16 เดื อ น พฤศจิ ก ายน 2565 กลุ่ ม เป้ า หมายนั ก ศึ ก ษา ระดั บ ประถมศึ ก ษา ระดั บ มัธยมศึกษาตอนต้น และนักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 180 คน ตาบลละ 20 คน สถานที่ ดาเนินการจัดกิจกรรม ตาบล ทั้ง 9 ตาบล ผู้รับผิดชอบโครงการ นางอิสรีย์ บุญมี ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล ไพรขลา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และนักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ การปฏิบัติตนของนั กศึกษาใน สถานศึกษา ได้มีขั้นตอนการดาเนินการที่สาคัญดังนี้ ๑. การวางแผน(Plan) มีการประชุมผู้บริหารและคณะครู กศน.อาเภอชุมพลบุรี โดยให้ผู้เข้าร่วมประชุม ระดมความคิดเพื่อวางแผนการดาเนินงาน ๒. การปฏิบัติตามแผน (Do) เพื่อให้บุคลากร กศน.อาเภอชุมพลบุรี มีความรู้ ความเข้าใจและทักษะใน การจัดทาสื่อประชาสัมพันธ์งาน กศน. ในรูปแบบการจัดทาเว็บไซต์ กศน.อาเภอและเว็บไซต์ กศน.ตาบล ๓. การตรวจสอบหรือประเมินผล (Check) เพื่อประเมินผลการดาเนินงานโครงการฯ ๔. การนาผลการประเมินมาปรับปรุงงาน(Action) นาผลการประเมินมาปรับปรุงโครงการในครั้งต่อไป เพื่อทราบผลการดาเนินโครงการและปรับปรุงพัฒนาโครงการ จากการดาเนินการข้างต้นสามารถสรุปผลการดาเนิน โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอก ระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ร้อยละ 85 นักศึกษา มีความรู้ ความเข้าใจแผนการลงทะเบียนและโครงสร้างหลักสูตรนักศึกษามีทักษะความรู้พื้นฐานและ เข้าใจวิธีการเรียน กศน. ผู้เข้าร่วมโครงการมีระดับความพึงพอใจระดับมากและมากที่สุด ร้อยละ 100 บรรลุตาม เป้ าหมายที่ กาหนดไว้ร้อ ยละ 85 และควรมีการศึ กษาผลลั พ ธ์ (Outcome) หรือผลกระทบ (Impact) ของ โครงการที่มีต่อผู้ร่วมโครงการในลักษณะของการติดตามผล (Follow-up or Tracer Study) เพื่อดูผลสรุปรวม และประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการที่แท้จริง ทั้งนี้เพื่อการกาหนดแนวทางการขยายโครงการอย่างต่อเนื่อง 1. สรุปผลการประเมินโครงการ 1.1 ด้านข้อมูลพื้นฐาน ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จานวน 123 คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 15 - 60 ปี จานวน 123 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ จะอยู่ระดับประถม จานวน 123 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมอยู่ในเกณฑ์ ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 100 ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน คิดเป็นร้อยละ 100

2. อภิปรายผล การประเมินโครงการปฐมนิเทศนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา ๒๕๖5 ดาเนินตามรูปแบบการประเมินทุก ขั้นตอนอย่างเป็นระบบผลการประเมินเป็นไป ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด คือ การดาเนินโครงการ มีการวิเคราะห์ สภาพปัญหาการดาเนินโครงการ การศึกษาความต้องการของผู้ที่ร่วมดาเนินโครงการ วางแผนและจัดทาให้ตรง ตามสภาพที่แท้จริงมากที่สุดทาให้การดาเนินโครงการเป็นไปตามขั้นตอนที่กาหนดอย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้อง กับแนวคิดในการวางแผนของ อุทัย บุญประเสริฐ (2532 : 23) ที่กล่าวว่าถ้าหน่วยงานใดมีการวางแผน โดย วางแผนเป็นไปด้วยดี มีประสิทธิภาพ มีแผนงานที่ดีตั้งแต่ต้น การปฏิบัติงานตามแผนย่อมมีประสิทธิภาพสูง นอกจากนั้นการจัดทาปฏิทินปฏิบัติงานตามขั้นตอนโดยละเอียด การดาเนินงานตามปฏิทินปฏิบัติงานที่กาหนดทุก ขั้นตอน และทุกกิจกรรม ทาให้ผลการปฏิบัติงานมีคุณภาพโดยเฉพาะการนิเทศติดตามกากับ และให้ขวัญกาลังใจ แก่ผู้ปฏิบัติงานอย่างสม่าเสมอ เป็นส่วนสาคัญอย่างยิ่ง ซึ่งผลที่ได้สามาถนาไปใช้ในการปรับปรุงโครงการในปีต่อๆไปเพื่อจะได้ทราบว่าการดาเนินงานทุก ขั้นตอน ได้ตรงตามเป้าหมายที่กาหนดหรือไม่ และจะต้องนาผลการประเมินมาปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาการ ดาเนินงานให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดของหน่วยงานโดยจะเห็นได้จากผลการประเมินโครงการที่บ่งชี้ ว่ากระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายมีคะแนนการประเมินที่มีค่าเฉลี่ยต่าที่สุด ซึ่งทาให้เห็นแนวทางในการพัฒนา รูปแบบการดาเนินการต่อไป 3.ข้อเสนอแนะ 3.1 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและเชิงปฏิบัติ 3.1.1 ควรให้ กลุ่ ม บุ ค คลทุ ก ฝ่ ายที่ เกี่ ยวข้ อง เข้ามามี ส่ ว นร่ว มในการคิ ด วิเคราะห์ ตลอดจน ร่วมกันวางแผนโครงการ ดาเนินงานไปตามโครงการ และติดตามประเมินผลการจัดทาโครงการต่าง ๆ ร่วมกัน 3.1.2 ควรมีการชี้แจงรายละเอียดโครงการให้แก่ผู้เกี่ยวข้องทุกระดับได้รับทราบและเข้าใจตั้งแต่ เริ่มดาเนินการ และมีการสรุปรายงานผลให้ทราบเป็นระยะ 3.1.3 ส่งเสริมและพัฒนาเสริมสร้างคุณภาพชีวิตสาหรับผู้เข้าร่วมโครงการ 3.2 ข้อเสนอแนะเพื่อการดาเนินงานต่อไป ควรมี ก ารศึ ก ษาผลลั พ ธ์ (Outcome) หรื อ ผลกระทบ (Impact) ของโครงการที่ มี ต่ อ ผู้ ร่ ว ม โครงการในลักษณะของการติดตามผล (Follow-up or Tracer Study) เพื่อดูผลสรุปรวมและประโยชน์ที่ได้รับ จากโครงการที่แท้จริง ทั้งนี้เพื่อการกาหนดแนวทางการขยายโครงการในพื้นที่อื่นต่อไปสาหรับสถานศึกษาและ ชุมชนอื่นต่อไป

ก คานา โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา ๒๕๖5 จัดขึ้นเพื่อสอดคล้องกับการจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียน ทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ ตระหนักถึงความสาคัญของการพัฒนาคนตลอดชวงชีวิตไดมุงมั่นขับเคลื่อนภารกิจ หลักตามแผนพัฒนาประเทศ และนโยบายและจุดเนนของกระทรวงศึกษาธิการ ที่คานึงถึงหลักการบริหารจัดการ ทั้งในเรื่องหลักธรรมาภิบาล หลักการกระจายอานาจการใชประโยชนจากเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารการ มุงเนนผลสัมฤทธิ์ และปฏิบัติการดานขอมูลขาวสารการสรางบรรยากาศในการทางานและการเรียนรูตลอดจนการ ใชทรัพยากรดานการจัดการศึกษาอยางมีคุณภาพโดยเนนการพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐานการศึกษาต่อเนื่องและการศึกษาตามอัธยาศัยใน 4 ประเด็นใหญ ประกอบดวยการจัดการเรียนรู คุณภาพ การสรางสมรรถนะและทักษะคุณภาพ องคกร สถานศึกษาและแหลงเรียนรูคุณภาพ และการบริหาร จัดการคุณภาพ อันจะนาไปสูการสรางโอกาสและลดความเหลื่อมล้าทางการศึกษา การยกระดับคุณภาพและเพิ่ม ประสิทธิภาพการใหบริการสาหรับทุกกลุมเปาหมายและสรางความพึงพอใจใหกับผูรับริการ จากหลักการและเหตุผลดังกล่าวศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอชุมพลบุรี จึงจัดโครงการปฐมนิเทศนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา ๒๕๖5 นักศึกษา กศน.อาเภอชุมพลบุรี เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจใน การเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551

นางอิสรีย์ บุญมี ครู กศน.ตาบลไพรขลา พฤศจิกายน ๒๕๖๕

ข สารบัญ หน้า บทที่ ๑ บทนา ที่มาและความสาคัญ วัตถุประสงค์ ขอบเขตการศึกษา ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ ๒ เอกสารที่เกี่ยวข้อง บทที่ ๓ วิธีการดาเนินงาน ประชากรกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา การเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ ๔ ผลการดาเนินงาน ผลการวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ ๕ สรุปผลและอภิปรายข้อมูล วัตถุประสงค์การศึกษา สรุปผลการศึกษา อภิปรายผลการศึกษา ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก โครงการที่ได้รับอนุมัติ คาสั่งคณะกรรมการดาเนินงาน เอกสารที่เกี่ยวข้องกับโครงการ แบบประเมินความพึงพอใจ ภาพประกอบโครงการ คณะผู้จัดทา

1 3 5 5 7 16 16 16 16 17 19 20 24 24 25 25 26

บทที่ 1 บทนา

1

ที่มาและความสาคัญ พระราชบัญญัติการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๒ (ฉบับปรับปรุงแก้ไข ๒๕๔๕) กาหนดให้การจัดการศึกษาต้อง เป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรม โดยเน้นการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนเป็นสาคัญ เพื่อให้เกิดทักษะการคิด และ การลงมือปฏิบั ติจริง และด้วยสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยมีนโยบายให้ สถานศึกษาในสังกัดจัดกิจกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อยกระดั บการศึกษาของประชากรวัยแรงงาน อายุ ๑๕ – ๕๙ ปี อย่างน้อยให้จบการศึกษาระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อสร้างกระบวนการให้กลุ่มเป้าหมายเกิดการคิด เป็น แก้ปัญหาเป็น และเสริมทักษะ ในการดารงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างผาสุก การจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน เป็นสาคัญ เป็นการสร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ตามปรัชญา “คิดเป็น” เพื่อสร้างคุณภาพชีวิตและ สังคม มีการบูรณาการอย่างสมดุลระหว่างปัญญาธรรม ศีลธรรม และวัฒนธรรม มุ่งสร้างพื้นฐานการเป็นสมาชิกที่ ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และพัฒนาความรู้ ความสามารถ เพื่อการทางานที่ มีคุณภาพ สอดคล้องกับนโยบาย และจุดเน้นสานักงาน กศน. ปีงบประมาณ ๒๕๖6 และ ภารกิจต่อเนื่อง ๑.๑ การศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ๑) สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบตั้งแต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยดาเนินการให้ ผู้เรียนได้รับการสนับสนุนค่าจัดซื้อหนังสือเรียน ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และค่าจัดการเรียน การสอน อย่างทั่วถึงและเพียงพอ เพื่อเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงบริการทางการศึกษาที่มีคุณภาพโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ๒) จัด การศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐานให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการ ศึกษา ผ่ า นการเรี ย นแบบเรี ย นรู้ ด้ ว ยตนเอง การพบกลุ่ ม การเรี ย นแบบขั้ น เรี ย น และการเที ย บโอนความรู้ แ ละ ประสบการณ์ ที่มีความโปร่ง 'ใส ยุติธรรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามที่กาหนด และสามารถตอบสนองความ ต้องการ ของกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ สานักงานกศน.เปนหนวยงานที่มีภารกิจในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตระหนักถึงความสาคัญของการพัฒนาคนตลอดชวงชีวิตไดมุงมั่นขับเคลื่อนภารกิจหลักตามแผนพัฒนาประเทศ และนโยบายและจุดเนนของกระทรวงศึกษาธิการ ที่คานึงถึงหลักการบริหารจัดการทั้งในเรื่องหลักธรรมาภิบาล หลั กการกระจายอานาจการใชประโยชนจากเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่ อสารการมุ งเนนผลสั มฤทธิ์และ ปฏิบัติการดานขอมูลขาวสารการสรางบรรยากาศในการทางานและการเรียนรู ตลอดจนการใชทรัพยากรดานการ จัดการศึกษาอยางมีคุณภาพโดยเนนการพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พื้นฐานการศึกษา ต่ อ เนื่ อ งและการศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย ใน 4 ประเด็ น ใหญ ประกอบดวยการจั ด การเรี ย นรู คุ ณ ภาพ การสราง สมรรถนะและทักษะคุณภาพ องคกร สถานศึกษาและแหลงเรียนรูคุณภาพ และการบริหารจัดการคุณภาพอันจะ นาไปสูการสรางโอกาสและลดความเหลื่อมล้าทางการศึกษา การยกระดับ คุณภาพและเพิ่มประสิทธิภาพการให บริการสาหรับทุกกลุมเปาหมายและสรางความพึงพอใจใหกับผูรับริการ

2 จากหลักการและเหตุผลดังกล่าวศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอชุมพลบุรี จึงจัดโครงการปฐมนิเทศนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้ นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา ๒๕๖5 นักศึกษา กศน.อาเภอชุมพลบุรี เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจใน การเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ความสอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ดานการจัดการเรียนรูคุณภาพ 1.5 ปรับระบบทดสอบ วัดผล และประเมินผล โดยเนนการใชเทคโนโลยีเปนเครื่องมือใหผูเรียน สามารถเขาถึงการประเมินผลการเรียนรูไดตามความตองการ เพื่อการสรางโอกาสในการเรียนรู ใหความสาคัญกับ การเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรูและประสบการณ พัฒนาระบบการประเมินสมรรถนะผูเรียน ใหตอบโจทยการประเมินในระดับประเทศและระดับสากล เชน การประเมินสมรรถภาพผูใหญ ตลอดจนกระจาย อานาจไปยังพื้นที่ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู 1.6 สงเสริมการใชเทคโนโลยีในการจัดหลักสูตรการเรียนรูในระบบออนไลนดวยตนเองครบวงจร ตั้งแตการลงทะเบียนจนการประเมินผลเมื่อจบหลักสูตร ทั้งการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การ ศึกษาตอเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อเปนการสรางและขยายโอกาสในการเรียนรูใหกับกลุมเปาหมายที่ สามารถเรียนรูไดสะดวก และตอบโจทยความตองการของผูเรียน 1.7 พัฒนา Digital Learning Platform แพลตฟอรมการเรียนรูของสานักงาน กศน. ตลอดจน พัฒนาสื่อการเรียนรูทั้งในรูปแบบออนไลนและออฟไลน และใหมีคลังสื่อการเรียนรูที่เปนสื่อที่ถูกตองตาม กฎหมายงายตอการสืบคนและนาไปใชในการจัดการเรียนรู 1.8 เรงดาเนินการเรื่อง Academic Credit-bank System ในการสะสมและเทียบโอนหนวยกิต เพื่อการสรางโอกาสในการศึกษา ภารกิจต่อเนื่อง ๑. ด้านการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ ๑.๑ การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑) สนั บ สนุ น การจั ด การศึ ก ษานอกระบบตั้ ง แต่ ป ฐมวั ย จนจบการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานโดย ดาเนินการให้ผู้เรียนได้รับการสนับสนุนค่าจัดซื้อหนังสือเรียน ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และค่าจัดการ เรียน การสอนอย่างทั่วถึงและเพียงพอ เพื่อเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงบริการทางการศึกษาที่มี คุณภาพโดยไม่เสีย ค่าใช้จ่าย ๒) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้ด้อย พลาดและขาด โอกาสทางการศึ กษา ผ่ านการเรี ย นแบบเรียนรู้ด้ว ยตนเอง การพบกลุ่ ม การเรียนแบบขั้ นเรีย น และการจั ด การศึกษาทางไกล ๓) พัฒนาประสิทธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้น พื้นฐาน ทั่งด้านหลักสูตร รูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน สื่อและนวัตกรรม ระบบการวัดและประเมินผล การ เรียน และระบบการให้บริการนักศึกษาในรูปแบบอื่น ๆ ๔) จัดให้มีการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ที่ มีความโปร่ ง'ใส ยุ ติธ รรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามที่กาหนด และสามารถตอบสนองความต้องการ ของ กลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ

3 วัตถุประสงค์ - เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ - เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ การปฏิบัติตนของนักศึกษาในสถานศึกษา กลุ่มเป้าหมาย เชิงปริมาณ - นักศึกษา กศน.อาเภอชุมพลบุรี ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย ประจาภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา ๒๕๖5 จานวน ๑๘๐ คน เชิงคุณภาพ ๑.ร้อยละ ๘๕ ของนักศึกษา กศน.อาเภอชุมพลบุรี ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย ประจ าภาคเรีย นที่ 2 ปี ก ารศึ กษา ๒๕๖5 มี ค วามรู้ค วามเข้าใจหลั ก สู ต ร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติตนให้ เป็น นักศึกษาที่ดีของสถานศึกษา 2.ร้ อยละ 85 ของนั กศึก ษาที่ เข้าร่ว มโครงการมีความพึ งพอใจต่ อการเข้าร่ว มโครงการปฐมนิ เทศ นักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาคเรียน ที่ 2 ปีการศึกษา ๒๕๖5 วิธีการดาเนินงาน กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พื้นที่ ระยะเวลา งบประ ดาเนินการ มาณ 1.ขั้นวางแผน (Plan) เพื่อวางแผน ครู กศน.อาเภอ ๑9 คน กศน.อาเภอ ๒ - ประชุมวางแผนคณะ ดาเนินงาน ชุมพลบุรี ชุมพลบุรี พฤศจิกายน ครู ผู้บริหารและผู้ที่ มอบหมายหน้าที่ ๒๕๖5 เกี่ยวข้อง แต่งตั้งคณะ และจัดทาโครงการ ดาเนินงาน เพื่อเสนอขอ - เขียนโครงการเพื่อ งบประมาณ เสนอขออนุมัติ 2.ขั้นดาเนินงาน (Do) ดาเนินการจัดกิจกรรม ๑. เพื่อให้นักศึกษา นักศึกษา กศน. 1๘0 คน กศน.ตาบล ๑6 ๑๘,๐๐๐ ตามแผนที่กาหนด ดังนี้ มีความรู้ ความ อาเภอชุมพลบุรี ประถม ทั้ง ๙ ตาบล พ.ย บาท ๒.1 ความรู้เกี่ยวกับ เข้าใจหลักสูตร ที่ลงทะเบียนใน ม.ต้น - กศน.ตาบล ๒๕๖5 หลักสูตรการศึกษา การศึกษานอก ภาคเรียนที่ ม.ปลาย ไพรขลา นอกระบบระดับ ระบบระดับ 1/2565 - กศน.ตาบล การศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาขั้น ศรีณรงค์ พุทธศักราช 2551 พื้นฐาน - กศน.ตาบล - หลักการ พุทธศักราช ๒๕๕๑ สระขุด

4 กิจกรรมหลัก

วัตถุประสงค์

- จุดมุ่งหมาย - โครงสร้างหลักสูตร - การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ - การวัดและระเมินผล

๒. เพื่อให้ นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจใน บทบาทหน้าที่ การ ปฏิบัติตนของ นักศึกษาใน สถานศึกษา

กลุ่มเป้าหมาย

เป้าหมาย

๒.2 ระเบียบข้อปฏิบัติ สถานศึกษา ๒.3 การมอบหลักฐาน ทางการศึกษา ๒.4 การแนะแนวทาง การศึกษา 3.ขั้นตรวจสอบ (Check) 3.1 การประเมินผล ก่อนดาเนินโครงการ 3.2 การประเมิน ระหว่างดาเนิน โครงการ 3.3 การประเมินเมื่อ เสร็จสิ้นโครงการ 4. ขั้นปรับปรุงแก้ไข (Action) 4.1 ประชุม คณะกรรมการ โครงการเพื่อสรุปผล การดาเนินงาน โครงการ 4.2 นาผลการดาเนิน โครงการไปปรับปรุง และพัฒนาโครงการ

พื้นที่ ดาเนินการ - กศน.ตาบล ยะวึก - กศน.ตาบล หนองเรือ - กศน.ตาบล นาหนองไผ่

ระยะเวลา

- กศน.ตาบล ชุมพลบุรี - กศน.ตาบล เมืองบัว - กศน.ตาบล กระเบื้อง เพื่อให้ทราบผล ครู กศน.อาเภอ ความพึงพอใจและ ชุมพลบุรี ความรู้ที่ได้รับจาก การอบรมและ ดาเนินโครงการ ปัญหาอุปสรรคและ แนวทางแก้ไข

19 คน

กศน.อาเภอ ชุมพลบุรี

๑6 พ.ย ๒๕๖5

เพื่อเป็นข้อมูลใน เจ้าหน้าที่ที่ การนาไปปรับปรุง รับผิดชอบงาน การจัดกิจกรรมครั้ง ต่อไป

๔ คน

กศน.อาเภอ ชุมพลบุรี

20 พ.ย ๒๕๖5

งบประ มาณ

5 ขอบเขตด้านพื้นที่และเวลา ขอบเขตด้านพื้นที่ ปฐมนิเทศ นักศึกษา ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้นและระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย พื้นที่ 9 ตาบล ตาบล 20 คน ได้แก่ ตาบลไพรขลา ตาบลหนองเรือ ตาบลนาหนองไผ่ ตาบลชุมพลบุรี ตาบลศรีณรงค์ ตาบลกระเบื้อง ตาบลยะวึก ตาบลเมืองบัว ตาบลสระขุด ขอบเขตด้านเวลา ดาเนินการ วันที่ 16 เดือน พฤศจิกายน 2565 ขอบเขตด้านเนื้อหา การจัดโครงการปฐมนิเทศนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา ๒๕๖5 มีเนื้อหา ดังนี้ 1. แผนการลงทะเบียน ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 2. โครงสร้างหลักสูตร 3. การรักษาสภาพนักศึกษา 4. การเทียบโอนผลการเรียน 5. การจัดกระบวนการเรียนรู้ 6. กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต 7. เกณฑ์การประเมินคุณธรรม 8. การวัดผลประเมินผล 9. การย้ายสถานศึกษา 10การพ้นสภาพการเป็นนักศึกษา 11 เกณฑ์การจบหลักสูตร 12 การยื่นคาร้องขอจบหลักสูตร ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ได้จากโครงการฯ ผลลัพธ์ - นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 - นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติตนตามกฎ ระเบียบของสถานศึกษา - นักศึกษามีทักษะในการเรียนรู้และร่วมกิจกรรมตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พื้นฐานพุทธศักราช 2551 - ครูและนักศึกษามีปฏิสัมพันธ์และสร้างมนุษย์สัมพันธ์ต่อการเรียนรู้ - ครูและนักศึกษามีเจตคติ ที่ดีต่อการจัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พื้นฐานพุทธศักราช 2551 ตัวชี้วัดความสาเร็จของโครงการ ตัวชี้วัดผลผลิต (Out puts) - กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการฯ ผ่านเกณฑ์ตามหลักสูตร ๑๘๐ คน - กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการฯ มีความพึงพอใจระดับ ดีมาก จานวน ๑๘๐ คน - ร้อยละ ๘๕ ของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างหลักสูตรการศึกษานอก ระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

6 - ร้อยละ 85 ของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมโครงการปฐมนิเทศนักศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา ๒๕๖5 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcomes) - นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 - นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติตนตามกฎ ระเบียบของสถานศึกษา - นักศึกษามีทักษะในการเรียนรู้และร่วมกิจกรรมตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พื้นฐานพุทธศักราช 2551 - ครูและนักศึกษามีปฏิสัมพันธ์และสร้างมนุษย์สัมพันธ์ต่อการเรียนรู้ - ครูและนักศึกษามีเจตคติ ที่ดีต่อการจัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551

7 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอชุมพลบุรี ดาเนินการจัดโครงการ ปฐมนิเทศนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาค เรียนที่ 2 ปีการศึกษา ๒๕๖5 ศึกษาเอกสารกรอบเนื้อหาในการให้ความรู้ ดังนี้ แนวคิดและทฤษฎี

คู่มือ นักศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 1. แผนการลงทะเบียน ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 2. โครงสร้างหลักสูตร 3. การรักษาสภาพนักศึกษา 4. การเทียบโอนผลการเรียน 5. การจัดกระบวนการเรียนรู้ 6. กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต 7. เกณฑ์การประเมินคุณธรรม 8. การวัดผลประเมินผล 9. การย้ายสถานศึกษา 10การพ้นสภาพการเป็นนักศึกษา 11 เกณฑ์การจบหลักสูตร 12 การยื่นคาร้องขอจบหลักสูตร 1. แผนการลงทะเบียน ระดับประถมศึกษา หมาย สาระการเรียนรู้ รหัสวิชา จานวนหน่วยกิต ลงทะเบียน เทียบโอน เหตุ วิชาบังคับ ทักษะการเรียนรู้ ทร11001 5 √ คณิตศาสตร์ พค11001 3 √ วิทยาศาสตร์ พว11001 3 √ วิชาเลือกบังคับ การเงินเพื่อชีวิต 1 สค12021 2 √ วิชาเลือกเสรี รู้ทันข่าวและFake News สค0200036 2 √ รวม กิจกรรม กพช.

15 จานวน ชม. 50

ลงทะเบียน นก.สะสม 15

8 แผนการลงทะเบียน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สาระการเรียนรู้ รหัสวิชา วิชาบังคับ คณิตศาสตร์ พค21001 วิทยาศาสตร์ พว21001 ทักษะการเรียนรู้ ทร21001 วิชาเลือกบังคับ ลูกเสือสามัญ กศน. วิชาเลือกเสรี อาชญากรรมบนโลกออนไลน์ กฎหมายที่ควรรู้คู่โลกออนไลน์

√ √ √ √

สค22021

3

สค0200037 สค0200038 รวม

2 2 20 จานวน ชม. 50

√ √ √

แผนการลงทะเบียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สาระการเรียนรู้ รหัสวิชา วิชาบังคับ คณิตศาสตร์ พค31001 วิทยาศาสตร์ พว31001 ทักษะการเรียนรู้ ทร31001

สุขภาพและความปลอดภัยในชีวิต สุรินทร์บ้านเรา 3 รายวิชาคุณธรรมจริยธรรมในการใช้ สื่อสังคมออนไลน์

หมายเหตุ

√ ลงทะเบียน นก.สะสม 20

จานวนหน่วยกิต

ลงทะเบียน

5 5 5

√ √ √ √

สค32029

3



ทช 32005 สค 33143 สค0200035

2 2 2

√ √ √

24 จานวน ชม. 50

√ ลงทะเบียน 24

รวม กิจกรรม กพช.

ลงทะเบียน เทียบโอน

4 4 5

กิจกรรม กพช.

วิชาเลือกบังคับ การเงินเพื่อชีวิต 3 วิชาเลือกเสรี

จานวนหน่วยกิต

เทียบโอน

นก.สะสม

หมายเหตุ

9 ๒.โครงสร้างหลักสูตร หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่

สาระการเรียนรู้

จานวนหน่วยกิต ประถม

ม.ต้น

ม.ปลาย

วิชา บังคับ

วิชา เลือก

วิชา บังคับ

วิชา เลือก

วิชาบังคับ

วิชาเลือก

12

5

16

5

32

1.

สาระทักษะการเรียนรู้

5

2.

สาระความรู้พื้นฐาน

12

16

20

3.

สาระการประกอบอาชีพ

8

8

8

4.

สาระทักษะการดาเนินชีวิต

5

5

5

5.

สาระการพัฒนาสังคม

6

6

6

รวม

36

12 48

กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต

40

16 56

44

32 76

200 ชั่วโมง

สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ประกอบด้วย 5 สาระดังนี้ 1.สารทักษะการเรียนรู้ เป็ น สาระเกี่ยวกับการเรียนรู้ด้วยตนเอง การใช้แหล่งเรียนรู้ การจัดการ ความรู้ การคิดเป็น และการวิจัยอย่างง่าย 2.สาระความรู้พื้น ฐาน เป็ นสาระเกี่ยวกับภาษาและการสื่อสาร คณิ ตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี 3.สาระการประกอบอาชีพ เป็นสาระเกี่ยวกับการมองเห็นช่องทางและประกอบอาชีพ การจัดการ อาชีพอย่างมีคุณธรรม และการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง 4.สาระทักษะการดาเนินชีวิต เป็นสาระเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสุขศึกษาผลศึกษา และ ศิลปศึกษา 5.สาระการพัฒนาสังคม เป็นสาระเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมืองการ ปกครอง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี หน้าที่พลเมือง และการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม

10 กลุ่มเป้าหมาย เป็นประชาชนที่ไม่ได้อยู่ในระบบโรงเรียน ซึ่งเป็นไปตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ 2551 ระบุว่า “เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาให้ บุคคลได้รับการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างทั่ วถึง และมีคุณภาพตามกฎหมายว่าด้วย การศึ ก ษาแห่ งชาติ โดยให้ บุ ค คลซึ่ งได้ รั บ การศึ ก ษาการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานไปแล้ ว หรื อ ไม่ ก็ ต ามมี สิ ท ธิ ได้ รั บ การศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบหรือการศึกษาตาอัธยาศัยได้ แล้วแต่กรณีทั้งนี้ตามกระบวนการและ การดาเนินการที่ได้บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้ ระดับการศึกษา แบ่งระดับการศึกษาออกเป็ น 3 ระดับ คือ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและ ระดับมัธยมตอนปลาย โดยแต่ละระดับใช้เวลาเรียน 4 ภาคเรียน ยกเว้นกรณีที่มีการเทียบโอนทั้งนี้ต้อง ลงทะเบียนเรียนในสถานศึกษาอย่างน้อย 1 ภาคเรียน การลงทะเบียนเรียนรายวิชา การลงทะเบียนเรียนตามโครงสร้างหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ให้ลงทะเบียนเรียนเป็นรายวิชาและตามจานวนหน่วยกิตในแต่ละภาคเรียนดังนี้ (ปรับเพิ่มจานวนหน่วยกิ ตตามประกาศกระทรวงศึกษาการ เรื่องปรับแก้ไขคู่มือการดาเนินงาน หลักสู ตรการศึกษานอกระบบ ระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ลงวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ.2555) 1.ระดับประถมศึกษา ลงทะเบียนเรียนทั้งหมด ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต ให้ลงทะเบียนได้ภาคเรียนละ ไม่เกิน 14 หน่วยกิต 2.ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ลงทะเบียนเรียนทั้งหมด ไม่น้อยกว่า 56 หน่อยกิต ให้ลงทะเบียนเรียนได้ ภาคเรียนละไม่เกิน 17 หน่วยกิต 3.ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ลงทะเบียนเรียนทั้งหมด ไม่น้อยกว่า 76 หน่อยกิต ให้ลงทะเบียนเรียน ได้ภาคเรียนละไม่เกิน 23 หน่วยกิต กรณีที่นักศึกษาจะต้องจบหลักสูตรแต่มีจานวนหน่วยกิตที่ต้องลงทะเบี ยนเรียนเกินกว่าจานวนหน่วยกิต ที่กาหนดให้ลงทะเบียนเรียนในแต่ละภาคเรียน เนื่องจากมีการเทียบโอนผลการเรียนและหรือนักศึกษาที่มีการ สอบซ่อม ให้สถาศึกษาจัดให้ลงทะเบียนเรียนเพิ่มเติมในภาคเรียนสุดท้ายได้ไม่เกิน 3 หน่วยกิต จากที่กาหนดใน แต่ละระดับการศึกษา (หนังสือสานักงาน กศน. ด่วนมากที่ ศธ 021.30/3805 ลงวันที่ 26 ตุลาคม2553) 3. การรักษาสภาพนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 การลงทะเบี ยนรักษาสถานภาพ ในกรณี ที่ผู้เรียนไม่ส ามารถลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนใดจะต้อง ลงทะเบียนรักษาสถานภาพการเป็นนักศึกษาทุกภาคเรียน หากไม่สามารถลงทะเบียนรักษาสถานภาพการเป็น นักศึกษาในภาคเรียนใดได้ จะต้องลงทะเบียนรักษาสถานภาพการเป็นนักศึกษาย้อนหลังทุกภาคเรียนที่ไม่ ได้ ลงทะเบียนและให้เป็นไปตามวัน เวลา วิธีการที่สถานศึกษากาหนด ทั้งนี้ต้องไม่เกิน 6 ภาคเรียนติดต่อกัน

11 หากพ้นจาระยะเวลาดังกล่าวจะต้องขึ้นทะเบียนเป็นผู้เรียนใหม่ รายวิชาใดที่ผู้เรียนผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่หลักสูตรกาหนด สามารถเก็บผลการเรียนสะสมได้ 5 ปี นับจากวันอนุมัติผลการเรียน 4. การเทียบโอนผลการเรียน หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ผู้เรียนสามารถนาความรู้ ทักษะและประสบการณ์ที่ได้จากการศึกษาการเรียนรู้หรือจากการทางาน จาก ประสบการณ์ชีวิตหรือจากการจากการประกอบอาชี พมาเทียบโอน เป็นผลการเรีนตามหลักสูตรในระดับที่กาลัง ศึกษาอยู่ได้ โดยจะต้องลงทะเบียนเทียบโอนผลการเรียนตามระยะเวลาที่สถานศึกษากาหนด โดยมีแนวทางการ เทียบโอนผลการเรียนตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ สานักงานปลัด กระทรวงศึกษาธิการกาหนดรายละเอียด ตามแนวทางการเทียนโอนผลการเรียนตามหลักเกณฑ์ที่สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการกาหนด ให้เทียบโอนผลการเรียนได้ทั้งรายวิชาบังคับและรายวิชาเลือกโดยนับรวมกันแล้วต้องไม่เกินจานวนหน่วย กิตที่กาหนดในแต่ละระดับการศึกษา ระดับประถามศึกษา เทียบโอนได้ไม่เกิน 36 หน่วยกิต ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เทียบโอนได้ไม่เกิน 42 หน่วยกิต ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เทียบโอนได้ไม่เกิน 57 หน่วยกิต ๕.การจัดกระบวนการเรียนรู้ หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 วิธีการจัดการเรียนรู้จะมีวิธีเดียว คือ “วิธีเรียน กศน.” ที่สามารถจัดการเรียนรู้ได้หลายรูปแบบ เช่น 1. การเรียนรู้แบบพบกลุ่ม 2. การเรียนรู้ด้วยตนเอง 3. การเรียนรู้แบบทางไกล 4. การเรียนรู้แบบชั้นเรียน 5. การเรียนรู้แบบอื่นๆ ซึ่งในแต่ละรายวิชาผู้เรียนสามารถเลือกเรียนรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง หรือหลายรูปแบบก้ได้ แต่ทั้งนี้ต้อง ขึ้นอยู่กับความพร้อมของสถานศึกษาด้วย ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 กศน.อาเภอชุมพลบุรี จึงได้ปรับรูปแบบการจัด กระบวนการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนออกเป็น 4 รูปแบบด้วยกัน คือ 1. การเรียนรู้ On Site ซึ่งเป็นการเรียนรู้โดยการพบกลุ่มที่สถานศึกษาหรือพื้นที่ปลอดภัย ภายใต้ เงื่อนไขศูนย์บริหารสถานการณ์ COVID-19 (ศบค.จังหวัด) 2. การเรียนแบบ On-Air ซึ่งเป็นการเรียนรู้ผ่านสถานีวิทยุ และสถานีโทรทัศน์เพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ETV 3. การเรียนแบบ On Line ซึ่งเป็นการเรียนรู้ผ่านดิจิทัล สามารถเลือกเรียนได้ตามความสนใจและความ สะดวก เช่น Google Classroom,Home page,Line 4. การเรียนแบบ On Hand ซึ่งเป็นการเรียนรู้โดยครูส่งหนังสือ ใบงาน ใบความรู้ ให้กับผู้เรียนถึงบ้าน **** นักศึกษาสามารถแจ้งความประสงค์กับครูประจากลุ่มได้ว่ามีความประสงค์จะเรียนในรูปแบบใด****

12 ๖.กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) เป็นกิจกรรมที่เป็นองค์ประกอบสาคัญส่วนหนึ่งในโครงสร้างที่กาหนด ไว้ในหลักเกณฑ์และวิธีการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่กาหนดให้ ผู้เรียนต้องทากิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) จานวนไม่น้อยกว่า 200 ชั่วโมง ทาทุกเทอมๆ ละ 50 ชั่วโมง เป็ น เงื่อนไขในการจบหลั กสู ตร โดยเน้ น ให้ ผู้ เรียนน าข้อมูล ความรู้และประสบการณ์ มาฝึ กทักษะการคิด การ วางแผนปฏิบัติการที่จะส่งผลต่อการจัดกิจกรรมการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคม เพื่อให้ดารงอยู่ใน สังคมอย่างมีความสุข กระบวนการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) ๑. ผู้เรียนลงทะเบียนกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต ๒. ครูให้ความรู้พื้นฐาน และให้แนวทางทากิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต ๓ ผู้เรียนยื่นคาร้องขอทากิจกรรม และเสนอโครงการตามแบบที่กาหนด ๔ ประสานงานกับบุคคลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการทากิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต ๕. สถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการการประเมินโครงการ ๖. ผู้เรียนดาเนินการตามโครงการที่ได้รับอนุมัติพร้อมบันทึกการปฎิบัติงานเป็นรายบุคคลโดยอยู่ในการ กากับดูแลของครูที่ปรึกษาโครงการ ๗. คณะกรรมการประเมินโครงการ นิเทศตอดตามผลการดาเนินงานและประเมินผล ๘. ผู้เรียนจัดทาเอกสารรายงานผลการดาเนินงานตามโครงการส่งสถานศึกษาเมื่อสิ้นสุดโครงกาที่ทา กิจกรรมร ๙. คณะกรรมการประเมินนค่าผลสาเร็จของโครงการเป็นจานวน ชั่วโมงกิจกรรม ๑๐. สถานศึกษา และผู้เรียนบันทึกผลจานวนชั่วโมง 7. เกณฑ์การประเมินคุณธรรมหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นเงื่อนไขหนึ่งที่ผู้เรียนทุกคนต้องได้รับการประเมินตามเกณฑ์ที่ สถานศึกษากาหนด จึงจะได้รับการ พิจารณาให้จบหลักสูตรในแต่ละระดับการศึกษา โดยคณะกรรมการวัดผลและประเมินผลของสถานศึกษาพิจารณา ตุณธรรมเบื้องต้น ที่สานักงาน กศน.กาหนด มี จานวน 11 คุณธรรม ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 คุณธรรมเพื่อการพัฒนาตน ประกอบด้วย - สะอาด - สุขภาพ - กตัญญูกตเวที

13 กลุ่มที่ 2 คุณธรรมเพื่อการพัฒนางาน ประกอบด้วย - ขยัน - ประหยัด - ซื่อสัตย์ กลุ่มที่ 3 คุณธรรมเพื่อการพัฒนาการอยู่ร่วมกันในสังคม ประกอบด้วย - สามัคคี - มีวินัย - มีน้าใจ กลุ่มที่ 4 คุณธรรมเพื่อการพัฒนาประเทศ ประกอบด้วย - รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และรักความเป็นไทย - ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครอง ตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข เกณฑ์การประเมิน การประเมินคุณธรรม กาหนดเกณฑ์การประเมิน เป็น 4 ระดับ คือ ดีมาก หมายถึง ผู้เรียนมีพฤติกรรมตามตัวบ่งชี้ ร้อยละ 90 ขึ้นไป ของพฤติกรรมบ่งชี้ในแต่ละคุณธรรม ดี หมายถึง ผู้เรียนมีพฤติกรรมตามตัวบ่งชี้ ร้อยละ 70 - 79 ของพฤติกรรมบ่งชี้ในแต่ละคุณธรรม พอใช้ หมายถึง ผู้เรียนมีพฤติกรรมตามตัวบ่งชี้ ร้อยละ 50 - 69 ของพฤติกรรมบ่งชี้ในแต่ละคุณธรรม ปรับปรุง หมายถึง ผู้เรียนมีพฤติกรรมตามตัวบ่งชี้ ร้อยละ 0 - 49 ของพฤติกรรมบ่งชี้ในแต่ละคุณธรรม 8. การวัดผลประเมินผลหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 การประเมินผลระหว่างภาคเรียน คะแนนระหว่างภาค 60 คะแนน 1. คะแนนแฟ้มสะสมงาน 30 คะแนน - การเรียนรู้ด้วยตนเอง - ใบงาน 2. คะแนนโครงาน 20 คะแนน 3. คะแนนทดสอบย่อย 10 คาแนน การประเมินผลปลายภาคเรียน คะแนนสอบปลายภาค 40 คะแนน โดยนักศึกษาต้องทาข้อสอบปลายภาค ผ่าน 30 เปอร์เซ็นต์ ขึ้นไป (ต้องการคะแนนสอบปลายภาค ไม่ต่ากว่า 12 คะแนน)

14 การสอบซ่อม ผู้เรียนที่เข้าสอบปลายภาคเรียนแต่ผลการประเมินไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินผลรายวิชา ต้องเข้ารับการ ประเมินสอบซ่อม และให้ค่าระดับผลการเรียนไม่เกิน 1 การตัดสินผลการเรียนรายวิชา ให้คะแนนระหว่างภาคเรียนรวมกับคะแนนปลายภาคเรียน และจะต้องได้ คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 จึงจะถือว่าผ่านการเรียนในรายวิชานั่น ผู้เรียนต้องเข้าสอบปลายภาคเรียนด้วย แล้วนาคะแนนไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่กาหนด โดยให้ค่าระดับ ผลการเรียน เป็น 8 ระดับ ดังนี้ ได้คะแนนร้อยละ 80 – 100. ให้ระดับ 4 หมายถึง ดีเยี่ยม ได้คะแนนร้อยละ 75 – 79 . ให้ระดับ 3.5 หมายถึง ดีมาก ได้คะแนนร้อยละ 70 – 74 ให้ระดับ 3 หมายถึง ดี ได้คะแนนร้อยละ 65 – 69 ให้ระดับ 2.5 หมายถึง ค่อนข้างดี ได้คะแนนร้อยละ 60 – 64 ให้ระดับ 2 หมายถึง ป่านกลาง ได้คะแนนร้อยละ 55 – 59 ให้ระดับ 1.5 หมายถึง พอใช้ ได้คะแนนร้อยละ 50 – 54 ให้ระดับ 1 หมายถึง ผ่านเกณฑ์ขั้นต่าที่กาหนด ได้คะแนนร้อยละ 0 – 49 ให้ระดับ 0 หมายถึง ไม่ผ่านเกณฑ์ขั้นต่าที่กาหนด 9. การย้ายสถานศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 การย้ายสถานศึกษาโดยการลาออก ให้ยื่นเอกสารดังนี้ 1. ยื่นใบคาร้องขอลาออกจากสถานศึกษา 2. รูปถ่ายหน้าตรง ขนาด 4x5 เซนติเมตร จานวน 2 รูป หน้าตรงไม่สวมหมวก ไม่สวมแว่นตาดา ถ่ายไว้ไม่เกิน 6 เดือน 3. สถานศึกษาต้องตรวจสอบผลการเรียนและออกหลักฐานแสดงผลการเรียน ให้แก่ผู้เรียนอย่างช้าไม่ เกิน 5 วันทาการ ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัย 4. ให้สถานศึกษาระบุสาเหตุที่ออกในหลักฐานการศึกษาว่า “ลาออกเพื่อไปศึกษาต่อที่อื่น”

15 10การพ้นสภาพการเป็นนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

11 เกณฑ์การจบหลักสูตรหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

16 12 การยื่นคาร้องขอจบหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

หลักฐานการสมัคร สถานศึกษาจะต้องตรวจสอบหลักฐานการสมัครเข้าเป็นนักศึกษาให้ถูกต้องครบถ้วนดังนี้ ๑. ใบสมัครเป็นนักศึกษา ๒. รูปถ่ายหนึ่งนิ้ว จานวน ๔ รูป หน้าตรงไม่สวมแว่นตาดาและไม่สวมหมวก สวมเสื้อสีขาวมีปกหรือ ชุดสุภาพ(ถ่ายไม่เกิน ๖ เดือน โดยไม่ใช้รูปถ่ายประเภทโพลาลอยด์) เพื่อใช้ติดใบสมัคร ๑ รูป ติดบัตรประจาตัว ๑ รูป ติดสมุดประจาตัวนักศึกษา ๑ รูป และสาหรับกิจกรรมอื่นๆ ที่จาเป็นอีก ๑ รูป ๓. สาเนาทะเบียนบ้านตนเองที่มีชื่อบิดา มารดา พร้อมฉบับจริงไปแสดง ๔. สาเนาหนังสือสาคัญแสดงวุฒิการศึกษา จานวน ๒ ฉบับ เช่น ประกาศนียบัตร ระเบียนแสดงผล การเรียน พร้อมฉบับจริงไปแสดง ๕. สาเนาเอกสารที่เกี่ยวข้อง พร้อมฉบับจริงไปแสดง เช่น ใบเปลี่ยนชื่อ ชื่อสกุล ใบทะเบียนสมรส ใบ หย่า ฯลฯ

17 ตารางกาหนดการ โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา ๒๕๖5 วันที่ 16 พฤศจิกายน ๒๕๖5 เวลา เนื้อหา/กิจกรรม ๐๘.๐๐ - ๐๙.๐๐ น. - ลงทะเบียนนักศึกษา ๐๙.๐๐ - ๑๐.๐๐ น. - แนะนาบุคลากร กศน.ตาบล - บันทึกตรวจสุขภาพ นักศึกษา - แนะนาสถานที่ พบกลุ่ม ตารางพบกลุ่ม ๑๐.๐๐ – ๑๑.๐๐ น. - แนะแนวโครงสร้างหลักสูตร และการลงทะเบียนเรียนประจาภาคเรียน ที่ ๒/๒๕๖๔ - ระดับประถมศึกษา - ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย - รายละเอียดโครงสร้างหลักสูตร - สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ - วิธีการเรียน กศน. - การจัดกระบวนการเรียนรู้ ๑๑.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. - การวัดและประเมินผล/การจบหลักสูตร - การสมัครเรียนและการลงทะเบียนเรียน / แฟ้มสะสมงานนักศึกษา - การเทียบโอน - กิจกรรม กพช. - แนะนาวิธีการจัดการเรียนการสอน ของ งาน กศน. - ปฎิทินการพบกลุ่ม - แนะนาระเบียบการใช้ห้องสมุด **หมายเหตุ** กาหนดการสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม

ผู้รับผิดชอบ/วิทยากร ครู กศน.ตาบล/ศรช ครู กศน.ตาบล/ศรช

ครู กศน.ตาบล/ศรช

ครู กศน.ตาบล/ศรช

18 บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอชุมพลบุรี ดาเนินการจัดโครงการปฐมนิเทศ นักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา ๒๕๖5 มีวิธีการดาเนินงาน ดังนี้ ประชากรกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ประชากร คือ นักศึกษา กศน.อาเภอชุมพลบุรี ที่เข้าร่วมโครงการ : โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา ๒๕๖5 จานวน ๑๘0 คน กลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการปฐมนิเทศนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาค เรียนที่ 2 ปีการศึกษา ๒๕๖5 โดยการสุ่มตัวอย่าง จากกตารางแคซี่ & มอร์แกรน จานวน 123 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลโครงการปฐมนิเทศนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาค เรียนที่ 2 ปีการศึกษา ๒๕๖5 เป็นแบบสอบถามที่ใช้ในการ ประเมินผลโครงการประกอบด้วยเนื้อหา ดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ตอนที่ 2 ระดับความพึงพอใจที่มีต่อการเข้าร่วมโครงการฯ ลักษณะคาถามแบบ ประมาณค่า ให้คะแนน 5 ระดับ คือ 5 , 4, 3, 2 และ 1 ตามลาดับและนามาคิดเป็นร้อยละ ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะอื่นๆ เป็นคาถามปลายเปิด การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. การเก็บรวบรวมข้อมูลในการประเมินโครงการฯ จากการตอบ แบบสอบถามความคิดเห็นของจากผู้เข้าร่วมโครงการ 2. การจัดทาข้อมูลนาแบบสอบถามที่ได้รับคืน มาตรวจสอบความถูกต้อง สมบูรณ์และกาหนดคะแนนตามน้าหนัก แต่ละข้อ เพื่อนาไปวิเคราะห์โดยวิธีการทางสถิตินาผลการคานวณมา วิเคราะห์ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ของการประเมินการแปลความหมายของคะแนนของแบบสอบถามความคิดเห็น ผู้ ประเมินกาหนดเกณฑ์โดยอาศัยค่าเฉลี่ย (Mean) ของคะแนนเป็นตัวชี้วัด นามาแปลความหมายเทียบกับเกณฑ์ ดังนี้ คะแนนเฉลี่ย 4.51 – 5.00 3.51 – 4.50 2.51 – 3.50 1.51 – 2.50 1.00 – 1.50

แปลความหมาย ระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด ระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับน้อย ระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับน้อยที่สุด

19 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล แบบประเมินผลตอนที่ ๑ การแจกแจงความถี่และค่าร้อยละ แบบประเมินผลตอนที่ ๒ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แบบประเมินผลตอนที่ ๓ เป็นคาถามปลายเปิด นาข้อเสนอแนะที่มีความเรียงคล้ายกันมาสรุป ตามลาดับความถี่ นาข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์สรุปเพื่อวิเคราะห์ จุดเด่น จุดด้อยและนาข้อมูลที่ได้ไปใช้เพื่อการปรับปรุง การจัดกิจกรรมในครั้งต่อไป สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล - ความถี่ - ค่าร้อยละ - ค่าเฉลี่ย - ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ - นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มีความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ การปฏิบัติตนของนักศึกษาในสถานศึกษา - นักศึกษา กศน.อาเภอชุมพลบุรี ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย ประจาภาคเรียนที่ 2/๒๕๖5 มีความรู้ความเข้าใจหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติตนให้เป็นนักศึกษาที่ดีของสถานศึกษา ตัวชี้วัดผลสาเร็จของโครงการ 1.ดัชนีวัดผลผลิต ( output ) เชิงปริมาณ - นักศึกษา กศน.อาเภอชุมพลบุรี ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย ประจาภาคเรียนที่ 2/๒๕๖5 จานวน ๑๘๐ คน เชิงคุณภาพ ๑.ร้อยละ ๘๕ ของนักศึกษา กศน.อาเภอชุมพลบุรี ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ประจาภาคเรียนที่ 2/๒๕๖5 มีความรู้ความเข้าใจหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดั บ การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๕๑ เพื่ อ เป็ น แนวทางในการปฏิ บั ติ ต นให้ เป็ น นั ก ศึ ก ษาที่ ดี ข อง สถานศึกษา 2.ร้ อยละ 85 ของนั กศึก ษาที่ เข้าร่ว มโครงการมีความพึ งพอใจต่ อการเข้าร่ว มโครงการปฐมนิ เทศ นักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา ๒๕๖5

20 2.ดัชนีชี้วัดผลลัพธ์ ( outcome ) - นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 - นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติตนตามกฎ ระเบียบของสถานศึกษา - นักศึกษามีทักษะในการเรียนรู้และร่วมกิจกรรมตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 - ครูและนักศึกษามีปฏิสัมพันธ์และสร้างมนุษย์สัมพันธ์ต่อการเรียนรู้ - ครูและนักศึกษามีเจตคติ ที่ดีต่อการจัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ประโยชน์ ที่ได้รับ ตัวชี้วัดความสาเร็จของโครงการ ๑ ตัวชี้วัดผลผลิต (Out puts) ๑.๑ กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการฯ ผ่านเกณฑ์ตามหลักสูตร ๑๘๐ คน ๑.๒ กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการฯ มีความพึงพอใจ ๑๘๐ คน ๑.๓ ร้อยละ ๘๕ ของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างหลักสูตรการศึกษานอก ระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ๑.๔ ร้อยละ 85 ของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมโครงการปฐมนิเทศ นักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา ๒๕๖5 ๒ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcomes) 2.1 นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 2.2 นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติตนตามกฎ ระเบียบของสถานศึกษา 2.3 นักศึกษามีทักษะในการเรียนรู้และร่วมกิจกรรมตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 2.4 ครูและนักศึกษามีปฏิสัมพันธ์และสร้างมนุษย์สัมพันธ์ต่อการเรียนรู้ 2.5 ครูและนักศึกษามีเจตคติ ที่ดีต่อการจัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551

21 บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอชุมพลบุรี ดาเนินการจัดโครงการปฐมนิเทศ นักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา ๒๕๖5 มีผลการดาเนินงานดังนี้ ในการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อตอบวัตถุประสงค์ของการประเมินตามที่ กาหนดไว้ ผู้ประเมินใช้วิธีการทาง สถิติ ประกอบด้วย ค่าร้อยละ (Percentage) 1. การนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล โดยผู้ประเมินได้เสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นรายด้านตามโมเดลการประเมินซึ่งใช้รูปแบบสอบถาม ดังต่อไปนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 การประเมินผลตามวัตถุประสงค์ของโครงการ / กิจกรรม ตอนที่ ๓ ข้อเสนอแนะ เกณฑ์การวิเคราะห์ข้อมูลในการประเมิน มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด

คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน

๕ ๔ ๓ ๒ ๑

ค่าเฉลี่ยในการวิเคราะห์ข้อมูล ๔.๒๑ - ๕.๐๐ คือคะแนนที่ได้รับรู้ ๓.๔๑ – ๔.๒๐ คือคะแนนที่ได้รับรู้ ๒.๖๑ - ๓.๔๐ คือคะแนนที่ได้รับรู้ ๑.๘๑ - ๒.๖๐ คือคะแนนที่ได้รับรู้ ๑.๐๐ – ๑.๘๐ คือคะแนนที่ได้รับรู้

ระดับความคิดเห็น ระดับความคิดเห็น ระดับความคิดเห็น ระดับความคิดเห็น ระดับความคิดเห็น

อยู่ในระดับ อยู่ในระดับ อยู่ในระดับ อยู่ในระดับ อยู่ในระดับ

มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด

22 2. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลการดาเนินงานโครงการโดยการเก็บข้อมูลจากนักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการโดยใช้แบบสอบถาม ความพึงพอใจที่มีต่อโครงการ โดยสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง จานวน 123 คน ดังนี้ 2.1.ข้อมูลพื้นฐานของผู้เข้าร่วมกิจกรรม 2.๑.1. เพศ เพศ จานวน เปอร์เซ็นต์ ชาย 45 36.59 หญิง 78 63.41 รวม ๑23 100.00 จากตารางพบว่า ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นเพศชาย จานวน 45 คน คิดเป็นร้อยละ 36.59 ผู้เข้าร่วมโครงการฯเป็นเพศ หญิง จานวน 78 คน คิดเป็นร้อยละ 63.41 2.๑.2. อายุ รายการ ช่วงอายุ( ปี ) ต่ากว่า 15 ปี 15 - 39 40- ๕9 60ปีขึ้นไป จานวน ( คน ) 65 58 เปอร์เซ็นต์ 52.85 47.15 จากตารางพบว่า ผู้เข้าร่วมกิจกรรมอยู่ในช่วงอายุ 15 – 39 ปี เข้าร่วมกิจกรรมมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 52.85 รองลงมาช่วงอายุ 40 – ๕9 ปี ร้อยละ 47.15 ตามลาดับ 2.๑.3. ระดับการศึกษา เพศ จานวน เปอร์เซ็นต์ ระดับประถม 6 4.88 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 56 45.53 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 61 49.59 รวม 123 100.00 จากตารางพบว่า ผู้เข้าร่วมกิจกรรมระดับประถม จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 4.88 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 56 คนคิดเป็นร้อยละ 45.53 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 61 คน คิดเป็นร้อยละ 49.59 ตามลาดับ 2.๑.3. ด้านอาชีพ เพศ จานวน เปอร์เซ็นต์ อาชีพรับจ้าง 11 8.94 อาชีพค้าขาย อาชีพเกษตรกรรม 112 91.06 อาชีพรับราชการ อื่นๆ รวม 123 100.00

23 จากตารางพบว่า ผู้เข้าร่วมกิจกรรมอาชีพรับจ้าง จานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 8.94 อาชีพค้าขายจานวน - คน คิดเป็นร้อยละ - อาชีพเกษตรกรรม จานวน 112 คน คิดเป็นร้อยละ 91.06 ตามลาดับ 2.2 ข้อมูลระดับความพึงพอใจที่มีต่อ โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ประจาภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา ๒๕๖5 ๑. ด้านวิทยากร ที่

รายการ

มากที่สุด

ระดับความพึงพอใจ ปาน มาก น้อย กลาง

น้อย ที่สุด

X

แปล ความหมาย

1. 2. 3. 4. ๕.

การเตรียมตัวและความพร้อมของวิทยากร 500 92 4.81 มากที่สุด การถ่ายทอดของวิทยากร 520 76 4.85 มากที่สุด สามารถอธิบายเนื้อหาได้ชัดเจนและตรงประเด็น 535 64 4.87 มากที่สุด ใช้ภาษาที่เหมาะสมและเข้าใจง่าย 550 52 4.89 มากที่สุด การตอบคาถามของวิทยากรและการมีส่วนร่วม มากที่สุด ในกิจกรรม 515 80 4.84 6. เอกสารประกอบการบรรยายสื่อ /ประกอบการ มากที่สุด เรียนเพียงพอเพียงใด 510 84 4.83 รวม X 4.85 มากที่สุด รวม 3130 448 3570 เปอร์เซ็นต์ 84.82 12.14 96.96 จากตาราง จะพบว่า ผู้เข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการมีความพึงพอใจ โดยรวมเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด (=4.85) และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากที่สุดตามลาดับ โดยเรียงลาดับจากมากไปน้อย ดังนี้ ใช้ภาษาที่เหมาะสมและเข้าใจง่าย (=4.89) สามารถอธิบายเนื้อหาได้ชัดเจนและตรงประเด็น (=4.87) การถ่ายทอดของวิทยากร(=4.85) การตอบคาถามของวิทยากรและการมีส่วนร่วมในกิจกรรม (=4.84) เอกสารประกอบการบรรยายเหมาะสมจานวนสื่อ / อุปกรณ์การฝึกประกอบการเรียนเพียงพอเพียงใด(=4.83) ตามลาดับการเตรียมตัวและความพร้อมของวิทยากร(=4.81) ๒.ด้านสถานที่ / ระยะเวลา / อาหาร ที่

รายการ

มากที่สุด

1.

สถานที่จัดสะอาดและมีความเหมาะสม

2 3

.ความพร้อมของอุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ ระยะเวลาในการอบรมมีความเหมาะสม รวม รวม เปอร์เซ็นต์

500 535 490

ระดับความพึงพอใจ ปาน มาก น้อย กลาง

92 64 100

-

-

X

-

4.81 4.87 4.80

มากที่สุด

4.83

มากที่สุด 1781 96.53

X

1525 256 82.66 13.88

-

-

แปล ความหมาย

น้อย ที่สุด

-

มากที่สุด มากที่สุด

24 จากตาราง จะพบว่า ผู้เข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการมีความพึงพอใจ โดยรวมเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด (=4.83) และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน โดยเรียงลาดับจากมากไปน้อย ดังนี้ ความพร้อมของอุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ (= 4.87) สถานที่จัดสะอาดและมีความเหมาะสม(= 4.81) ระยะเวลา ในการอบรมมีความเหมาะสม(=4.80) ตามลาดับ ๓. ด้านเนื้อหา ที่ 1 2 3

รายการ

ระดับความพึงพอใจ ปาน มาก น้อย กลาง 112 104 100 -

แปล น้อย X ความหมาย ที่สุด เนื้อหามีความชัดเจนครบตามวัตถุประสงค์ 475 - 4.77 มากที่สุด ความรู้ทักษะที่ได้ สามารถนาไปใช้เผยแพรได้ 485 4.79 มากที่สุด ท่านพึงพอใจต่อหลักสูตรนี้เพียงใด 490 - 4.80 มากที่สุด 4.79 มากที่สุด รวม X รวม 1450 316 1766 เปอร์เซ็นต์ 79.59 17.13 95.72 จากตาราง จะพบว่า ผู้เข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการมีความพึงพอใจ โดยรวมเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด (=4.79) และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน โดยเรียงลาดับจากมากไปน้อย ดังนี้ ท่านพึงพอใจต่อหลักสูตรนี้เพียงใด(=4.80) ความรู้ทักษะที่ได้ สามารถนาไปใช้ประกอบอาชีพได้เพียงใด(=4.79) ท่านได้รับความรู้ และสามารถฝึกทักษะได้ตามที่คาดหวังมากน้อยเพียงใด(=4.77) ตามลาดับ มากที่สุด

๔. ด้านการนาความรู้ไปใช้ ที่

1. 2.

รายการ

เข้าใจเนื้อหาตามตัวชี้วัดและนาความรู้ที่ได้รับ ไปใช้เกิดประโยชน์และคุ้มค่า สามารถนาความรู้ไปเผยแพร่/และถ่ายทอดได้ รวม X รวม เปอร์เซ็นต์

มากที่สุด

ระดับความพึงพอใจ ปาน มาก น้อย กลาง

น้อย ที่สุด

X

แปล ความหมาย

490

100

-

-

-

4.80 มากที่สุด

535

64

-

-

-

4.87 มากที่สุด 4.84 มากทีส่ ุด ๑๑90 96.75

1025 165 83.33 13.41

จากตาราง จะพบว่า ผู้เข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการมีความพึงพอใจ โดยรวมเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด (=4.84) และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน โดยเรียงลาดับจากมากไปน้อย ดังนี้ สามารถนาความรู้ไปเผยแพร่ / ถ่ายทอดแก่ชุมชนได้(=4.87) สามารถนาความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวันของตนเอง ครอบครัวได้(=4.80) และ ตามลาดับ

25 ๕. ความพึงพอใจที่มีต่อการเข้าร่วมโครงการ ที่

รายการ

มากที่สุด

มาก

ระดับความพึงพอใจ ปานกลาง น้อย

น้อยที่สุด

X

1. มีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมโครงการ 7130 1185 ปฐมนิเทศนักศึกษาหลักสูตรการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา ๒๕๖5 รวม 7130 1185 8315 เปอร์เซ็นต์ 82.81 13.76 96.57 จากการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการปฐมนิเทศนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาค เรียนที่ 2 ปีการศึกษา ๒๕๖5 ผู้เข้าร่วมโครงการมี ระดับความพึงพอใจ ร้อยละ 96.57 บรรลุตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ โดยการสุ่มตัวอย่างจากกตารางแคซี่&มอร์ แกรน จานวน 123 คน สรุป ตารางที่ สรุปผลการดาเนินงานตามโครงการ ผลการ ดาเนินงาน 4.85

เป้าหมายการบรรลุ บรรลุ ไม่บรรลุ √

ตัวชี้วัด

เกณฑ์

๑. ด้านวิทยากร

4.21 - 5.00 ดีมาก

๒. ด้านสถานที่

4.83



๓. ด้านความรู้ ความเข้าใข

4.21 - 5.00 ดีมาก 4.21 – 5.00 ดีมาก

4.79



4.ด้านนาความรู้ ไปใช้

4.21 - 5.00 ดีมาก

4.84



หมายเหตุ

บทที่ 5 สรุปผลและอภิปรายข้อมูล

26

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอชุมพลบุรี ดาเนินการจัดโครงการปฐมนิเทศ นักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา ๒๕๖5 มีวิธีการสรุปผลและอภิปรายข้อมูล ดังนี้ 1.สรุปผลการประเมินโครงการ วัตถุประสงค์การศึกษา ๑. เพื่อศึกษาสภาพการดาเนินงานของโครงการปฐมนิเทศนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาค เรียนที่ 2 ปีการศึกษา ๒๕๖5 ๒. เพื่อศึกษาผลการดาเนินงานของโครงการ ดังนี้ ๒.๑. จานวนผู้เข้าร่วมโครงการเปรียบเทียบกับเป้าหมาย ๒.๒. ความรู้ ความเข้าใจและทักษะที่ได้รับจากการเข้าร่วมโครงการ ๒.๓. การนาไปใช้ประโยชน์ ๒.๔. ความพึงพอใจ ๓. เพื่อศึกษาข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ขอบเขตของโครงการ ๑. ด้านเนื้อหา 1. แผนการลงทะเบียน ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 2. โครงสร้างหลักสูตร 3. การรักษาสภาพนักศึกษา 4. การเทียบโอนผลการเรียน 5. การจัดกระบวนการเรียนรู้ 6. กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต 7. เกณฑ์การประเมินคุณธรรม 8. การวัดผลประเมินผล 9. การย้ายสถานศึกษา 10การพ้นสภาพการเป็นนักศึกษา 11 เกณฑ์การจบหลักสูตร 12 การยื่นคาร้องขอจบหลักสูตร 2.รูปแบบการจัดกิจกรรม 1. สารวจพื้นที่และจัดเตรียมสถานที่เพื่อจัดกิจกรรมฯ 2. ประสานงานกลุ่มเป้าหมายเพื่อเข้าร่วมกิจกรรมฯ 3. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง สื่อ /คู่มือ 4. จัดกิจกรรมฯ ตามวัน เวลาและสถานที่ที่กาหนด โดยมีการดาเนินงาน ตามกาหนดการ

27 3.สรุปผลการศึกษา 1. เพื่อต้องการทราบความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการปฐมนิเทศนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอก ระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาค เรียนที่ 2 ปีการศึกษา ๒๕๖5 นักศึกษา กศน. อาเภอชุมพลบุรี ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ประจาภาค เรีย นที่ 2 ปี การศึกษา ๒๕๖5 มีความรู้ ความเข้าใจหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติตนให้เป็นนักศึกษาที่ดีของสถานศึกษา 2.ร้ อยละ 85 ของนั กศึก ษาที่ เข้าร่ว มโครงการมีความพึ งพอใจต่ อการเข้าร่ว มโครงการปฐมนิ เทศ นักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา ๒๕๖5 3. เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น และข้อเสนอแนะต่างๆ 4. เพื่อนาผลจากการติดตามและประเมินผล ไปเป็นข้อมูลในการพัฒนา ปรับปรุงการดาเนินงานตาม แผนกาหนดการให้บรรลุตามวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 4.อภิปรายผล สรุปผลการดาเนินงาน ๑. สรุปภาพรวมจากการดาเนินโครงการปฐมนิเทศนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาค เรียนที่ 2 ปีการศึกษา ๒๕๖5 มีความรู้ความเข้าใจโครงสร้างหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติตนให้ เป็น นักศึกษาที่ดีของสถานศึกษา ๒. สามารถดาเนินงานได้ สาเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ของโครงการฯ ผู้ที่เข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่ มี ความคิดเห็นเกี่ยวกับการดาเนิน โครงการในภาพรวม อยู่ในระดับ มาก ๓.และจากการติดตามและประเมินผลจากกลุ่มตัวอย่างที่เข้า ร่วมโครงการ จานวน 123 คน พบว่า ผู้ตอบแบบประเมินส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อการดาเนินงานในภาพรวม อยู่ในระดับ ดีมาก ร้อยละ 96.57 5.ประโยชน์ที่ได้รับจากการทากิจกรรม 1. นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 2. นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติตนตามกฎ ระเบียบของสถานศึกษา 3. นักศึกษามีทักษะในการเรียนรู้และร่วมกิจกรรมตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พื้นฐานพุทธศักราช 2551 4. ครูและนักศึกษามีปฏิสัมพันธ์และสร้างมนุษย์สัมพันธ์ต่อการเรียนรู้ 5. ครูและนักศึกษามีเจตคติ ที่ดีต่อการจัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551

28 6.ปัญหาและข้อเสนอแนะ 1. นักศึกษาบางท่านไม่ได้มาร่วมกิจกรรมปฐมนิเทศ เพราะการเดินทางที่ไม่สะดวกเนื่องจากบ้านอยู่ไกล 2. ครูออกเยี่ยมบ้านนักศึกษา เพื่อเอาคู่มือนักศึกษาไปแจกให้นักศึกษา 3. ความหลากหลายของช่วงอายุ นักศึกษา มีอายุมาก ครูต้องให้ความสนใจและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับกลุ่ม ผู้เรียนให้มากยิ่งขึ้น 7. ข้อเสนอแนะเพื่อการดาเนินงานต่อไป ควรมีการศึกษาผลลัพธ์ (Outcome) หรือผลกระทบ (Impact) ของโครงการที่มีต่อผู้ร่วมโครงการ ในลักษณะของการติดตามผล (Follow-up or Tracer Study) เพื่อดูผลสรุปรวมและประโยชน์ที่ได้รับจาก โครงการ ที่แท้จริง ทั้งนี้เพื่อการกาหนดแนวทางการขยายโครงการอย่างต่อเนื่อง

ลงชื่อ....................................ผูร้ ายงาน (นางอิสรีย์ บุญมี) ครู กศน.ตาบลไพรขลา

ลงชื่อ.................................ผู้รบั รอง (นางสาลี ธราวุธ) ผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอชุมพลบุรี

ภาคผนวก

ลาดับที่ 1 / ๒๕๖6 ๑. ชื่อโครงการ : โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาคเรียนที่ 2/๒๕๖5 ๒. ความสอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ดานการจัดการเรียนรูคุณภาพ 1.5 ปรับระบบทดสอบ วัดผล และประเมินผล โดยเนนการใชเทคโนโลยีเปนเครื่องมือใหผูเรียน สามารถเขาถึงการประเมินผลการเรียนรูไดตามความตองการ เพื่อการสรางโอกาสในการเรียนรู ใหความสาคัญกับ การเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรูและประสบการณ พัฒนาระบบการประเมินสมรรถนะผูเรียน ใหตอบโจทยการประเมินในระดับประเทศและระดับสากล เชน การประเมินสมรรถภาพผูใหญ ตลอดจนกระจาย อานาจไปยังพื้นที่ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู 1.6 สงเสริมการใชเทคโนโลยีในการจัดหลักสูตรการเรียนรูในระบบออนไลนดวยตนเองครบวงจร ตั้งแตการลงทะเบียนจนการประเมินผลเมื่อจบหลักสูตร ทั้งการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การ ศึกษาตอเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อเปนการสรางและขยายโอกาสในการเรียนรูใหกับกลุมเปาหมายที่ สามารถเรียนรูไดสะดวก และตอบโจทยความตองการของผูเรียน 1.7 พัฒนา Digital Learning Platform แพลตฟอรมการเรียนรูของสานักงาน กศน. ตลอดจน พัฒนาสื่อการเรียนรูทั้งในรูปแบบออนไลนและออฟไลน และใหมีคลังสื่อการเรียนรูที่เปนสื่อที่ถูกตองตามกฎหมาย งายตอการสืบคนและนาไปใชในการจัดการเรียนรู 1.8 เรงดาเนินการเรื่อง Academic Credit-bank System ในการสะสมและเทียบโอนหนวยกิต เพื่อการสรางโอกาสในการศึกษา ภารกิจต่อเนื่อง ๑. ด้านการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ ๑.๑ การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑) สนั บ สนุ น การจั ด การศึ ก ษานอกระบบตั้ ง แต่ ป ฐมวั ย จนจบการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานโดย ดาเนินการให้ผู้เรียนได้รับการสนับสนุนค่าจัดซื้อหนังสือเรียน ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และค่าจัดการ เรียน การสอนอย่างทั่วถึงและเพียงพอ เพื่อเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงบริการทางการศึกษาที่มีคุณภาพโดยไม่เสีย ค่าใช้จ่าย ๒) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้ด้อย พลาดและขาด โอกาสทางการศึ กษา ผ่ านการเรี ย นแบบเรียนรู้ด้ว ยตนเอง การพบกลุ่ ม การเรียนแบบขั้ นเรีย น และการจั ด การศึกษาทางไกล ๓) พัฒนาประสิทธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้น พื้นฐาน ทั่งด้านหลักสูตร รูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน สื่อและนวัตกรรม ระบบการวัดและประเมินผล การ เรียน และระบบการให้บริการนักศึกษาในรูปแบบอื่น ๆ ๔) จัดให้มีการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ที่ มีความโปร่ง'ใส ยุ ติธ รรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามที่กาหนด และสามารถตอบสนองความต้องการ ของ กลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ

๓. หลักการและเหตุผล พระราชบัญญัติการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๒ (ฉบับปรับปรุงแก้ไข ๒๕๔๕) กาหนดให้การจัดการศึกษา ต้องเป็ น ไปเพื่อพั ฒ นาคนไทยให้ เป็ น มนุ ษย์ที่ส มบู รณ์ ทั้งทางร่างกาย จิตใจ สติปั ญ ญา ความรู้ คุณ ธรรม จริยธรรมและวัฒนธรรม โดยเน้นการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ที่เน้นให้ผู้เรียนเป็นสาคัญ เพื่อให้เกิดทักษะการ คิด และการลงมือปฏิบัติจริง และด้วยสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยมีนโยบาย ให้สถานศึกษาในสังกัดจัดกิจกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อยกระดับการศึกษาของประชากรวัยแรงงาน อายุ ๑๕ – ๕๙ ปี อย่างน้อยให้จบการศึกษาระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อสร้างกระบวนการให้กลุ่มเป้าหมายเกิดการ คิดเป็น แก้ปัญหาเป็น และเสริมทักษะ ในการดารงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างผาสุก การจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ เป็นการสร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ตามปรัชญา “คิดเป็น” เพื่อสร้างคุณภาพชีวิต และสังคม มีการบูรณาการอย่างสมดุลระหว่างปัญญาธรรม ศีลธรรม และวัฒนธรรม มุ่งสร้างพื้นฐานการเป็น สมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และพัฒนาความรู้ ความสามารถ เพื่อการทางานที่มีคุณภาพ สอดคล้องกับ นโยบายและจุดเน้นสานักงาน กศน. ปี งบประมาณ ๒๕๖5 และ ภารกิจต่อเนื่อง ๑.๑ การศึกษานอกระบบระดับ การศึ กษาขั้น พื้ น ฐาน ๑) สนั บ สนุ น การจั ดการศึกษานอกระบบตั้งแต่ ปฐมวัยจนจบการศึ กษาขั้นพื้ นฐานโดย ดาเนินการให้ผู้เรียนได้รับการสนับสนุนค่าจัดซื้อหนังสือเรียน ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และค่าจัดการ เรียน การสอนอย่างทั่วถึงและเพียงพอ เพื่อเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงบริการทางการศึกษาที่มีคุณภาพโดยไม่เสีย ค่าใช้จ่าย ๒) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐานให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาส ทางการศึกษา ผ่านการเรียนแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง การพบกลุ่ม การเรียนแบบขั้นเรียน และการเทียบโอนความรู้ และประสบการณ์ ที่มีความโปร่ง'ใส ยุติธรรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามที่กาหนด และสามารถตอบสนองความ ต้องการ ของกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ สานักงานกศน.เปนหนวยงานที่มีภารกิจในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตระหนักถึงความสาคัญของการพัฒนาคนตลอดชวงชีวิตไดมุงมั่นขับเคลื่อนภารกิจหลักตามแผนพัฒนาประเทศ และนโยบายและจุดเนนของกระทรวงศึกษาธิการ ที่คานึงถึงหลักการบริหารจัดการทั้งในเรื่องหลักธรรมาภิบาล หลักการกระจายอานาจการใชประโยชนจากเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารการมุงเนนผลสัมฤทธิ์ และ ปฏิบัติการดานขอมูลขาวสารการสรางบรรยากาศในการทางานและการเรียนรูตลอดจนการใชทรัพยากรดานการ จัดการศึกษาอยางมีคุณภาพโดยเนนการพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานการศึกษา ต่อเนื่องและการศึกษาตามอัธยาศัยใน 4 ประเด็นใหญ ประกอบดวยการจัดการเรียนรูคุณภาพ การสราง สมรรถนะและทักษะคุณภาพ องคกร สถานศึกษาและแหลงเรียนรูคุณภาพ และการบริหารจัดการคุณภาพ อันจะ นาไปสูการสรางโอกาสและลดความเหลื่อมล้าทางการศึกษา การยกระดับคุณภาพและเพิ่มประสิทธิภาพการให บริการสาหรับทุกกลุมเปาหมาย และสรางความพึงพอใจใหกับผูรับริการ จากหลักการและเหตุผลดังกล่าวศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอชุมพลบุรี จึงจัดโครงการปฐมนิเทศนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาคเรียนที่ 2/๒๕๖5 นักศึกษา กศน.อาเภอชุมพลบุรี เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการเรียนรู้ ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ๔. วัตถุประสงค์ ๔.๑ เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ๔.๒ เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ การปฏิบัติตนของนักศึกษาในสถานศึกษา

๕. กลุ่มเป้าหมาย เชิงปริมาณ - นักศึกษา กศน.อาเภอชุมพลบุรี ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย ประจาภาคเรียนที่ 2/๒๕๖5 จานวน ๑๘๐ คน เชิงคุณภาพ ๑.ร้อยละ ๘๕ ของนักศึกษา กศน.อาเภอชุมพลบุรี ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ประจาภาคเรียนที่ 2/๒๕๖5 มีความรู้ความเข้าใจหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดั บ การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๕๑ เพื่ อ เป็ น แนวทางในการปฏิ บั ติ ต นให้ เป็ น นั ก ศึ ก ษาที่ ดี ข อง สถานศึกษา 2.ร้ อยละ 85 ของนั กศึก ษาที่ เข้าร่ว มโครงการมีความพึ งพอใจต่ อการเข้าร่ว มโครงการปฐมนิ เทศ นักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาค เรียนที่ 2/๒๕๖5 ๖.วิธีการดาเนินงาน กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ 1.ขั้นวางแผน (Plan) - ประชุมวางแผนคณะ ครู ผู้บริหารและผู้ที่ เกี่ยวข้อง แต่งตั้งคณะ ดาเนินงาน - เขียนโครงการเพื่อ เสนอขออนุมัติ 2.ขั้นดาเนินงาน (Do) ดาเนินการจัดกิจกรรม ตามแผนที่กาหนด ดังนี้ ๒.1 ความรู้เกี่ยวกับ หลักสูตรการศึกษา นอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 - หลักการ - จุดมุ่งหมาย - โครงสร้างหลักสูตร - การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ - การวัดและระเมินผล

เพื่อวางแผน ดาเนินงาน มอบหมายหน้าที่ และจัดทาโครงการ เพื่อเสนอขอ งบประมาณ ๑. เพื่อให้นักศึกษา มีความรู้ ความ เข้าใจหลักสูตร การศึกษานอก ระบบระดับ การศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ๒. เพื่อให้นักศึกษา มีความรู้ ความ เข้าใจในบทบาท หน้าที่ การปฏิบัติ ตนของนักศึกษาใน สถานศึกษา

กลุ่มเป้าหมา ย ครู กศน. อาเภอ ชุมพลบุรี

เป้าหมาย

นักศึกษา กศน.อาเภอ ชุมพลบุรี ที่ ลงทะเบียนใน ภาคเรียนที่ 2/2565

1๘0 คน ประถม ม.ต้น ม.ปลาย

๑9 คน

พื้นที่ ดาเนินการ กศน.อาเภอ ชุมพลบุรี

กศน.ตาบล ทั้ง ๙ ตาบล - กศน.ตาบล ไพรขลา - กศน.ตาบล ศรีณรงค์ - กศน.ตาบล สระขุด - กศน.ตาบล ยะวึก - กศน.ตาบล หนองเรือ - กศน.ตาบล นาหนองไผ่

ระยะเวลา

งบประมาณ

7 พฤศจิกายน ๒๕65

16 พฤศจิกายน ๒๕65

๑8,0๐๐ บาท

กิจกรรมหลัก ๒.2 ระเบียบข้อปฏิบัติ สถานศึกษา ๒.3 การมอบหลักฐาน ทางการศึกษา ๒.4 การแนะแนวทาง การศึกษา 3.ขัน้ ตรวจสอบ (Check) 3.1 การประเมินผล ก่อนดาเนินโครงการ 3.2 การประเมิน ระหว่างดาเนิน โครงการ 3.3 การประเมินเมื่อ เสร็จสิ้นโครงการ 4. ขั้นปรับปรุงแก้ไข (Action) 4.1 ประชุม คณะกรรมการ โครงการเพื่อสรุปผล การดาเนินงาน โครงการ 4.2 นาผลการดาเนิน โครงการไปปรับปรุง และพัฒนาโครงการ

วัตถุประสงค์

เพื่อให้ทราบผล ความพึงพอใจและ ความรู้ที่ได้รับจาก การอบรมและ ดาเนินโครงการ ปัญหาอุปสรรคและ แนวทางแก้ไข

กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พื้นที่ดาเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ - กศน.ตาบล ชุมพลบุรี - กศน.ตาบล เมืองบัว - กศน.ตาบล กระเบื้อง ครู กศน. 19 คน กศน.อาเภอ 16 อาเภอ ชุมพลบุรี พฤศจิกายน ชุมพลบุรี ๒๕65

เพื่อเป็นข้อมูลใน เจ้าหน้าที่ที่ การนาไปปรับปรุง รับผิดชอบงาน การจัดกิจกรรมครั้ง ต่อไป

๔ คน

กศน.อาเภอ ชุมพลบุรี

17 พฤศจิกายน ๒๕65

๗. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ งบประมาณปี ๒๕๖๕ แผนงานสนับสนุนการจัดการศึกษาตั้งแต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน งบอุดหนุน : ค่าจัดการเรียนการสอน ภาคเรียนที่ 2/๒๕๖5 รหัสงบ ๔๓๐0๑๖ (73) จานวน ๑8,0๐๐ บาท ๗.๑ ค่าป้ายโครงการ จานวน ๙ ป้ายๆละ 5๐๐ บาท เป็นเงิน 4,5๐๐ บาท ๗.๒ ค่าวัสดุ เป็นเงิน 13,5๐๐ บาท รวมเป็นเงิน 18,0๐๐ บาท (หนึ่งหมื่นแปดพันบาทถ้วน) ***** หมายเหตุ (ขอถัวจ่ายตามรายจ่ายจริง)******

๘. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ ไตรมาส ๑ ไตรมาส ๒ ไตรมาส ๓ ไตรมาส ๔ (ต.ค.- ธ.ค.๖5) (ม.ค.-มี.ค.๖6) (เม.ย.-มิ.ย.๖6) (ก.ค.-ก.ย.๖6) ๑ โครงการปฐมนิ เ ทศนั ก ศึ ก ษา 18,0๐๐ หลั ก สู ต รการศึ ก ษานอกระบบ บาท ระดั บ ก ารศึ ก ษ าขั้ น พื้ น ฐ าน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาค เรียนที่ 2/๒๕๖5 ที่

กิจกรรมหลัก

๙. ผู้รับผิดชอบโครงการ ๙.๑ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอชุมพลบุรี ๙.๒ นางอิสรีย์ บุญมี ครู กศน.ตาบล ๑๐. เครือข่าย ๑๐.๑ คณะกรรมการ กศน.ตาบลทั้ง ๙ ตาบล ๑๐.๒ องค์กรนักศึกษา ๑๐.๓ องค์การบริหารส่วนตาบล ๑๑. โครงการที่เกี่ยวข้อง การศึกษาขั้นพื้นฐาน ๑๒. ผลลัพธ์ 12.1 นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 12.2 นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติตนตามกฎ ระเบียบของสถานศึกษา 12.3 นักศึกษามีทักษะในการเรียนรู้และร่วมกิจกรรมตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 12.4 ครูและนักศึกษามีปฏิสัมพันธ์และสร้างมนุษย์สัมพันธ์ต่อการเรียนรู้ 12.5 ครูและนักศึกษามีเจตคติ ที่ดีต่อการจัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ๑๓. ตัวชี้วัดความสาเร็จของโครงการ ๑๓.๑ ตัวชี้วัดผลผลิต (Out puts) ๑๓.๑.๑ กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการฯ ผ่านเกณฑ์ตามหลักสูตร ๑๘๐ คน ๑๓.๑.๒ กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการฯ มีความพึงพอใจ ๑๘๐ คน ๑๓.๑.๓ ร้อยละ ๘๕ ของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างหลักสูตรการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ๑๓.๑.๔ ร้อยละ 85 ของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมโครงการ ปฐมนิเทศนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ประจาภาคเรียนที่ 1/๒๕๖5 ๑๓.๒ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcomes) 13.2.1 นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 13.2.2 นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติตนตามกฎ ระเบียบของสถานศึกษา 13.2.3 นักศึกษามีทักษะในการเรียนรู้และร่วมกิจกรรมตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 13.2.4 ครูและนักศึกษามีปฏิสัมพันธ์และสร้างมนุษย์สัมพันธ์ต่อการเรียนรู้ 13.2.5 ครูและนักศึกษามีเจตคติ ที่ดีต่อการจัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ๑๔. การประเมินโครงการ ๑๔.๑ แบบสอบถามความพึงพอใจ ๑๔.๒ จากการสังเกต

ลงชื่อ........................................ผู้เสนอโครงการ (นางอิสรีย์ บุญมี) ครู กศน.ตาบลไพรขลา

ลงชื่อ...........................................ผู้อนุมัติโครงการ (นางสาลี ธราวุธ) ผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอชุมพลบุรี

กาหนดการ โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาคเรียนที่ 2/๒๕๖5 วันที่ ๑6 พฤศจิกายน ๒๕๖5 เวลา เนื้อหา/กิจกรรม ๐๘.๐๐ - ๐๙.๐๐ น. - ลงทะเบียนนักศึกษา

ผู้รับผิดชอบ/วิทยากร ครู กศน.ตาบล/ศรช

๐๙.๐๐ - ๑๐.๐๐ น. - แนะนาบุคลากร กศน.ตาบล - บันทึกตรวจสุขภาพ นักศึกษา - แนะนาสถานที่ พบกลุ่ม ตารางพบกลุ่ม ๑๐.๐๐ – ๑๑.๐๐ น. - แนะแนวโครงสร้างหลักสูตร และการลงทะเบียนเรียนประจาภาคเรียน ที่ 1/๒๕๖5 - ระดับประถมศึกษา - ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย - รายละเอียดโครงสร้างหลักสูตร - สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ - วิธีการเรียน กศน. - การจัดกระบวนการเรียนรู้

ครู กศน.ตาบล/ศรช

๑๑.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. - การวัดและประเมินผล/การจบหลักสูตร - การสมัครเรียนและการลงทะเบียนเรียน / แฟ้มสะสมงานนักศึกษา - การเทียบโอน - กิจกรรม กพช. - แนะนาวิธีการจัดการเรียนการสอน ของ งาน กศน. - ปฎิทินการพบกลุ่ม - แนะนาระเบียบการใช้ห้องสมุด

ครู กศน.ตาบล/ศรช

**หมายเหตุ** กาหนดการสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม

ครู กศน.ตาบล/ศรช

ที่ 1 2 3 4 5 5 1. 2 3 1 2. 3. 1

แบบประเมินผลการจัดกิจกรรม โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาคเรียนที่ 2/๒๕๖5 วันที่ ๑6 พฤศจิกายน ๒๕๖5 กศน........................................................ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอชุมพลบุรี ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… คาชี้แจง เพื่อประโยชน์ในการพัฒนากิจกรรม ขอให้ผู้เข้าร่วมโครงการตอบข้อมูลตามแบบสอบถามต่อไปนี้ โดย การเครื่องหมาย ลงในช่องว่างที่กาหนดให้และตอบคาถามต่อไปนี้ ตอนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป ๑. เพศ  ชาย หญิง ๒. อายุ  ๑๖-๒๕ปี ๒๖-๓๕ ปี  ๓๖-๔๕ปี ๔๖-๕๙ ปี ๖๐ ปีขึ้นไป ๓. ระดับการศึกษา ประถม  ม.ต้น ม.ปลาย ๔. อาชีพ เกษตรกร รับจ้าง ค้าขาย แม่บ้าน อื่น ๆ ระบุ................... ๕. ตาแหน่งในชุมชน ผู้นาท้องถิ่น ส.อบต. อสม. ประชาชนทั่วไป อื่น ๆ....... ตอนที่ ๒ แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม รายการ ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด ด้านวิทยากร การเตรียมตัวและความพร้อมของวิทยากร การถ่ายทอดของวิทยากร สามารถอธิบายเนื้อหาได้ชัดเจนตามวัตถุประสงค์ ใช้ภาษาที่เหมาะสมและเข้าใจง่าย การตอบคาถามของวิทยากรและการมีส่วนร่วมในกิจกรรม เอกสารประกอบการบรรยายสื่อ /ประกอบการเรียนเพียงพอ เพียงใด ด้านสถานที่ สถานที่จัดสะอาดและมีความเหมาะสม ความพร้อมของอุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์/สื่อ ระยะเวลาในการอบรมมีความเหมาะสม ด้านเนื้อหา เนื้อหามีความชัดเจนครบตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร 2551 ความรู้ทักษะที่ได้รับ สามารถนาไปปฏิบัติตนของนักศึกษาใน สถานศึกษาได้อย่างเหมาะสม ท่านพึงพอใจต่อโครงการนี้เพียงใด ด้านการนาความรู้ไปใช้ เข้าใจเนื้อหาตามวัตถุประสงค์และนาความรู้ที่ได้รับไปใช้เกิด ประโยชน์ในการจัดการเรียนการสอน

คาสั่งศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอชุมพลบุรี ที่ ...... /๒๕๖5 เรื่อง แต่งตั้งคณะทางานโครงการปฐมนิเทศนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖5 ******************************************* ด้วย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอชุมพลบุรี ได้ จัดโครงการ ปฐมนิเทศนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาค เรี ยนที่ ๒ ปี การศึกษา ๒๕๖5 ในวัน 16 พฤศจิกายน ๒๕๖5 จานวน 9 ตาบล เพื่อส่งเสริมให้ ผู้ เข้าร่ว ม โครงการได้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับ โครงสร้างหลักสูตร แผนการลงทะเบียนเรียน และนาไปใช้ใน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เกิดประโยชน์ เพื่อให้การจัดกิจกรรม โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖5 อาศัยอานาจตามคาสั่งสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ที่ ๔๘๙/๒๕๕๑ ลงวันที่ ๒๑ เมษายน ๒๕๕๑ เรื่อง มอบอ านาจให้ ผู้ อ านวยการสถานศึ ก ษานอกระบบและการศึ ก ษาตามอัธ ยาศัย อ าเภอและผู ้อ านวยการ สถานศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตปฏิบัติราชการแทน ดังนั้นเพื่อให้การดาเนินงานสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอาเภอชุมพลบุรี จึงขอแต่งตั้งคณะดาเนินงานดังต่อไปนี้ ๑. คณะกรรมการที่ปรึกษา/อานวยการ ประกอบด้วย ๑. นางสาลี ธราวุธ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอชุมพลบุรี ประธานกรรมการ ๒. นางนิสากร แฉล้มไธสง ครูผู้ช่วย รองประธานกรรมการ ๓. นางสาวจิตตรา มณีจันทา ครู กศน.ตาบล กรรมการ 4. นางอิสรีย์ บุญมี ครู กศน.ตาบล กรรมการและเลขานุการ มีหน้าที่ อานวยความสะดวก ให้คาปรึกษา แก้ปัญหา ประสานงานกับคณะกรรมการฝ่าย ต่าง ๆ เพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและบรรลุวัตถุประสงค์ ๒. คณะกรรมการฝ่ายประสานงาน มีหน้าที่ จัดทาโครงการ ประสานงานและเครือข่ายที่ สนับสนุนการจัดกิจกรรม และผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการตลอดการปฏิบัติงานตามโครงการ ประกอบด้วย 2.1 นางนิสากร แฉล้มไธสง ครูผู้ชว่ ย ประธานกรรมการ ๒.๒ นางอิสรีย์ บุญมี ครู กศน.ตาบล รองประธานกรรมการ ๒.3 นางสาวจิตตรา มณีจันทา ครู กศน.ตาบล กรรมการ ๒.4 นายดุสิต จันทวฤทธิ์ ครู กศน.ตาบล กรรมการ ๒.5 นางจิณห์ญาณ์ทิป ใจกล้า ครู กศน.ตาบล กรรมการ ๒.6 นางรมย์ชลี จงรัมย์ ครู กศน.ตาบล กรรมการ ๒.7 นางสาวดรุณี เทพบรรทม ครู กศน.ตาบล กรรมการ ๒.8 นายขนิษฐา เพชรน้อย ครู กศน.ตาบล กรรมการ ๒.9 นายวีระ ยี่รัมย์ ครู กศน.ตาบล กรรมการ 2.10 นางสาววารินทร์ วงษ์ทอง ครู กศน.ตาบล กรรมการ ๒.11 นางสาวสุภาวดี บุญเศษ ครู ศรช. กรรมการ

2.12 นัทพล พรมโนนศรี ๒.๑3 นางสาวศิริภา หลอมประโคน ๒.๑4 นายจักรกฤษณ์ ฤทธิรณ 2.15 นางสาวดุสิตา สงวนนาม ๒.๑6 นางสาววารุณี ขลิบสุวรรณ 2.17 นางสาวพัชรี เทพบรรทม

ครู ศรช. ครู ศรช. ครู ศรช. ครู ศรช. ครูผู้สอนคนพิการ นักวิชาการศึกษา

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและ

เลขานุการ ๓. คณะกรรมการด้านการจัดทาเอกสารโครงการ มีหน้าที่ รับผิดชอบการจัดทาเอกสารการดาเนิน โครงการ จัดทาเอกสารรับลงทะเบียนและงานเอกสารอื่นๆ ของโครงการ ประกอบด้วย ๓.1 นางอิสรีย์ บุญมี ครู กศน.ตาบล ประธานกรรมการ ๓.2 นางสาวจิตตรา มณีจันทา ครู กศน.ตาบล รองประธานกรรมการ ๓.๓ นางสาววารุณี ขลิบสุวรรณ ครูผู้สอนคนพิการ กรรมการ ๓.๔ นางสาวพัชรี เทพบรรทม นักวิชาการศึกษา กรรมการและเลขานุการ ๔. คณะกรรมการฝ่ายพัสดุ มีหน้าที่ เกี่ยวกับการจัดเตรียมวัสดุในการดาเนิน โครงการ ให้สอดคล้อง เหมาะสมและเพียงพอต่อการจัดกิจกรรม และบรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ประกอบด้วย ๔.๑ นางรมย์ชลี จงรัมย์ ครู กศน.ตาบล ประธานกรรมการ ๔.๒ นางสาวสุภาวดี บุญเศษ ครู ศรช. รองประธานกรรมการ ๔.๓ นางสาววารุณี ขลิบสุวรรณ ครู ครูผู้สอนคนพิการ กรรมการ ๔.๔ นางอิสรีย์ บุญมี ครู กศน.ตาบล กรรมการและเลขานุการ ๕. คณะกรรมการฝ่ายติดตามและการประเมินผล มีหน้าที่ วางแผนและกาหนดรูปแบบการประเมินผล โครงการ สรุปผลการดาเนินงานโครงการ จัดทาและรวบรวมเอกสารสรุปรายงาน ประกอบด้วย ๕.๑ นางนิสากร แฉล้มไธสง ครูผู้ช่วย ประธานกรรมการ ๕.๒ นางอิสรีย์ บุญมี ครู กศน.ตาบล รองประธานกรรมการ ๕.3 นางสาวพัชรี เทพบรรทม นักวิชาการศึกษา กรรมการและเลขานุการ ขอให้ คณะกรรมการที่ได้รับ คาสั่ งแต่งตั้ง ประสานการปฏิบัติห น้าที่ ด้ว ยความวิริยะอุตสาหะ เพื่อให้ กิจกรรมบรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการอย่างมีประสิ ทธิภาพ และหากพบปัญหาอุปสรรค รายงานให้ฝ่าย อานวยการทราบโดยด่วน เพื่อหาแนวทางแก้ไขต่อไป ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖5

(นางสาลี ธราวุธ) ผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอชุมพลบุรี

โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖5

กศน.ตาบลไพรขลา

ตรวจสุขภาพ/วัดความดัน

ให้ความรู้เรื่อง โครงสร้างหลักสูตร และแผนการลงทะเบียน

โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖5

กศน.ตาบลนาหนองไผ่

ให้ความรู้เรื่อง โครงสร้างหลักสูตร และแผนการลงทะเบียน

โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖5

กศน.ตาบลชุมพลบุรี

ให้ความรู้เรื่อง โครงสร้างหลักสูตร และแผนการลงทะเบียน

โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖5

กศน.ตาบลศรีณรงค์

ให้ความรู้เรื่อง โครงสร้างหลักสูตร และแผนการลงทะเบียน

โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖5

กศน.ตาบลกระเบื้อง

ให้ความรู้เรื่อง โครงสร้างหลักสูตร และแผนการลงทะเบียน

โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖5

กศน.ตาบลยะวึก

ให้ความรู้เรื่อง โครงสร้างหลักสูตร และแผนการลงทะเบียน

โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖5

กศน.ตาบลเมือบัว

ให้ความรู้เรื่อง โครงสร้างหลักสูตร และแผนการลงทะเบียน

โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประจาภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖5

กศน.ตาบลสระขุด

ให้ความรู้เรื่อง โครงสร้างหลักสูตร และแผนการลงทะเบียน

คณะผู้จัดทา ที่ปรึกษา นางสาลี ธราวุธ

ผู้อานวยการ กศน.อาเภอชุมพลบุรี

รวบรวม/ออกแบบปกรูปเล่ม นางอิสรีย์ บุญมี

ครู กศน.ตาบล

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.