Annual Report 2022 (Chaiyaphum) Flipbook PDF


19 downloads 117 Views 16MB Size

Story Transcript

กรมส่งเสริมสหกรณ์

รายงานประจำปี 2565 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดชัยภูมิ Annual Report 2022

สารจากสหกรณ์จังหวัดชัยภูมิ ส ำนั ก งำนสหกรณ์ จั ง หวั ด ชั ย ภู มิ เป็ น หน่ ว ยงำนส่ ว นภู มิ ภ ำค สั ง กั ด กรมส่ ง เสร ิมสหกรณ์

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มี ภ ำรกิ จ ในกำรก ำกั บ ดู แ ล แนะน ำส่ ง เสร ิมสหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกร ให้มีควำมเข้มแข็งตำมศักยภำพ มีประสิทธิภำพในกำรจัดกำรองค์กร สำมำรถยกระดับกำรให้บร ิกำรแก่สมำชิก และมีประสิทธิภำพในกำรดำเนินธุรกิจและกำรบร ิหำรงำน อีกทั้งส่งเสร ิมให้นำหลักธรรมำภิบำลมำใช้ในกำร

บร ิหำรจัด กำร และประยุ ก ต์ ใ ช้ห ลั ก ปรัช ญำเศรษฐกิ จ พอเพี ย งในกำรด ำเนิ น งำน โดยในปี ง บประมำณ พ.ศ. 2565 สำนักงำนสหกรณ์จงั หวัดชัยภูมิปฏิบัติงำนแนะนำส่งเสร ิมสหกรณ์ จำนวน 73 แห่ง กลุ่มเกษตรกร จำนวน 50 แห่ง ซึง่ ได้กำหนดแผนในกำรแนะนำส่งเสร ิมและพัฒนำสถำบันเกษตรกร ภำยใต้แผนปฏิบัติงำน

และงบประมำณรำยจ่ำยประจำปี ที่มีเป้ำหมำยในกำรสร้ำงควำมเข้มแข็งให้กับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร พัฒนำ ศักยภำพในกำรดำเนินธุรกิจ ควบคู่ไปกับกำรกำกับดูแลคุ้มครองระบบสหกรณ์ ส่งเสร ิมให้สถำบันเกษตรกร ในจังหวัดชัยภูมิ เป็น กลไกขับ เคลื่อ นเศรษฐกิ จและสั งคมในระดั บ ฐำนรำก รวมถึ งสนั บ สนุนให้ สหกรณ์ ที่มี ศักยภำพเป็นกลไกขับเคลื่อนนโยบำยรัฐ

ในปี ง บประมำณ พ.ศ.2565 ส ำเร็จ ลุ ล่ ว งได้ ด้ ว ยควำมร่ว มมื อ ร่ว มใจสมั ค รสมำนสำมั ค คี ทุ ก คนปฏิ บั ติ ห น้ ำ ที่ ต ำมควำมรับ ผิ ด ชอบจนท ำให้ ส ำนั ก งำนสหกรณ์ จัง หวั ด ชัย ภู มิ ได้ ร บ ั รำงวั ล ส ำนั ก งำน

สหกรณ์ที่มีผลกำรปฏิบัติงำนและผลกำรเบิกจ่ำยงบประมำณ ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 ระดับคุณภำพ ดีเด่น อันดับที่ 2 โดยได้นำเสนอผลสำเร็จไว้ในรำยงำนประจำปี 2565 แล้ว

ในโอกำสนี้ ขอขอบคุณ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดชัยภูมิ เจ้ำหน้ำที่ส่งเสร ิมสหกรณ์

เจ้ำหน้ำที่กลุ่มงำนว ิชำกำร รวมถึงหน่วยงำนรำชกำรและหน่วยงำนภำคเอกชน ที่มีส่วนช่วยส่ งเสร ิมสนับสนุน ภำรกิ จของสำนั กงำนสหกรณ์ จังหวัด ชัย ภูมิให้ ป ระสบผลสำเร็จ หวังเป็น อย่ำงยิ่งว่ำ ข้อ มูลจำกรำยงำนผล กำรดำเนินงำนประจำปีงบประมำณ พ.ศ.2565 ของสำนักงำนสหกรณ์จงั หวัดชัยภูมิ จะเป็นประโยชน์สำหรับ

หน่ ว ยงำนที่ เ กี่ ย วข้ อ งหร ือผู้ ที่ ส นใจและขอขอบคุ ณ คณะท ำงำนทุ ก ท่ ำนที่ ร ่ว มกั น จั ด ท ำรำยงำนฉบั บ นี้ ให้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี

(นำยทว ีศักดิ์ อสุชวี ะ)

สหกรณ์จงั หวัดชัยภูมิ เดือนธันวำคม 2565

ทาเนียบบุคลากร หั ว หน้ า หน่ ว ยงาน

นายทวี ศั ก ดิ์ อสุ ชี ว ะ สหกรณ์ จั ง หวั ด ชั ย ภู มิ

ฝ่ า ยบริ ห ารทั่ ว ไป

กลุ่ ม จั ด ตั้ ง และส่ ง เสริ ม สหกรณ์

กลุ่มส่ง เสริ มและพั ฒนาการบริ ห ารการจัดการสหกรณ์

กลุ่ ม ส่ ง เสริ ม และพั ฒนาธุ ร กิ จ สหกรณ์

กลุ่ ม ตรวจการสหกรณ์

กลุ่ ม ส่ ง เสริ ม สหกรณ์ 1

กลุ่ ม ส่ ง เสริ ม สหกรณ์ 2

กลุ่ ม ส่ ง เสริ ม สหกรณ์ 3

กลุ่ ม ส่ ง เสริ ม สหกรณ์ 4

บทสรุปผู้บริหาร (Executive Summary)

สำนักงำนสหกรณ์จังหวัดชัยภูมิ เป็นหน่วยงำนส่วนภูมิภำค สังกัดกรมส่งเสร ิมสหกรณ์ กระทรวงเกษตร

และสหกรณ์ มี ภำรกิ จในกำรแนะน ำส่ งเสร ิม พั ฒนำสหกรณ์ ทุ กประเภทและกลุ่ มเกษตรกร ให้ ควำมรู เ้ กี่ ยวกั บ

อุดมกำรณ์ หลักกำร และว ิธีกำรสหกรณ์ ให้แก่บุคลำกรสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และประชำชนทั่วไป ให้มีควำมเข้มแข็ง

ตำมศักยภำพ มีประสิทธิภำพในกำรจัดกำรองค์กร สำมำรถยกระดับกำรให้บร ิกำรแก่สมำชิก และมีประสิทธิภำพในกำร ดำเนินธุรกิจและกำรบร ิหำรงำน โดยส่งเสร ิมให้นำหลักธรรมำภิบำลมำใช้ในกำรบร ิหำรจัดกำร พร้อมทั้งประยุกต์ใช้ หลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียงในกำรดำเนินงำน โดยผลกำรจัดทำรำยงำนผลกำรดำเนินงำนประจำปี (Annual Report) ประจำปีงบประมำณ พ.ศ.2565 ของสำนักงำนสหกรณ์จงั หวัดชัยภูมิ ดังนี้

ปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 มีอัตรำกำลังจำนวน 55 คน ประกอบด้วย ข้ำรำชกำร 33 คน ลูกจ้ำงประจำ 3 คน พนั กงำนรำชกำร 19 คน ตำมโครงสร้ำงสำนั กงำนสหกรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ประกอบด้ วย 1) กลุ่มจัดตั้ งและส่ งเสร ิม สหกรณ์ 2) กลุ่ มส่ งเสร ิมและพั ฒนำกำรบร ิหำรกำรจั ดกำรสหกรณ์ 3) กลุ่ มเสร ิมและพั ฒนำธุ รกิ จสหกรณ์

4) กลุ่ มตรวจกำรสหกรณ์ 5) ฝ่ ำยบร ิหำรทั่ วไป และ 6) กลุ่ มส่ งเสร ิมสหกรณ์ จ ำนวน 4 กลุ่ ม ประกอบด้ วย (1) กลุ่มส่งเสร ิมสหกรณ์ 1 รับผิดชอบพื้นที่ 3 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมืองชัยภูมิ อำเภอบ้ำนเขว้ำ และอำเภอคอนสวรรค์

(2) กลุ่มส่ งเสร ิมสหกรณ์ 2 รับผิดชอบพื้นที่ 3 อำเภอ ได้ แก่ อำเภอแก้ งคร้อ อำเภอบ้ำนแท่น และอำเภอภูเขียว (3) กลุ่ มส่ งเสร ิมสหกรณ์ 3 รับผิ ดชอบพื้ นที่ 3 อ ำเภอ ได้ แก่ อ ำเภอคอนสำร อ ำเภอเกษตรสมบู รณ์ และอำเภอ หนองบั วแดง และ (4) กลุ่ มส่ งเสร ิมสหกรณ์ 4 รับผิ ดชอบพื้ นที่ 7 อ ำเภอ ได้ แก่ อ ำเภอจัตุ ร ส ั อ ำเภอเนิ นสง่ ำ อำเภอบำเหน็จณรงค์ อำเภอเทพสถิต อำเภอภักดีชุมพล อำเภอซับใหญ่ และอำเภอหนองบัวระเหว

โดยได้ รบ ั กำรอนุมัติ แผนปฏิ บัติงำน จำนวน 6 แผนงำน 11 โครงกำร และได้ รบ ั กำรจัดสรรงบประมำณ

รำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 จำนวน 12,855,733.14 บำท ดังนี้ แผนงำนบุคลำกรภำครัฐ

 แผนงำนบุคลำกรภำครัฐ ค่ำใช้จำ่ ยบุคลำกรภำครัฐกรมส่งเสร ิมสหกรณ์ แผนงำนพื้นฐำน

 แผนงำนพื้นฐำน ด้ำนกำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน ผลผลิต สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รบ ั กำรส่งเสร ิมและพัฒนำให้มีควำมเข้มแข็งตำมศักยภำพ

แผนงำนยุทธศำสตร์

 แผนงำนยุทธศำสตร์ เสร ิมสร้ำงพลังทำงสังคม 1) โครงกำรส่งเสร ิมกำรดำเนินงำนอันเนื่องมำจำกพระรำชดำร ิ

 แผนงำนยุทธศำสตร์ กำรเกษตรสร้ำงมูลค่ำ

1) โครงกำรพัฒนำศักยภำพกำรดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน 2) โครงกำรส่งเสร ิมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร

 แผนงำนยุทธศำสตร์ เพื่อสนับสนุนด้ำนกำรสร้ำงโอกำสและควำมเสมอภำคทำงสังคม 1) โครงกำรพัฒนำทักษะในกำรประกอบอำชีพเพื่อสร้ำงรำยได้

2) โครงกำรช่วยเหลือด้ำนหนี้สินด้ำนสมำชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร แผนงำนบูรณำกำร  แผนงำนบูรณำกำร พัฒนำและส่งเสร ิมเศรษฐกิจฐำนรำก

1) โครงกำรส่งเสร ิมและพัฒนำอำชีพเพื่อแก้ไขปัญหำที่ดินทำกินของเกษตรกร 2) โครงกำรส่งเสร ิมกำรพัฒนำระบบตลำดภำยในสำหรับสินค้ำเกษตร

แผนงำนอื่น ๆ กำรเกษตร

 โครงกำรปรับโครงสร้ำงกำรผลิต กำรรวบรวม และกำรแปรรูปของสถำบันเกษตรกร รองรับผลผลิตทำง กองทุนพัฒนำสหกรณ์  โครงกำรปกติและโครงกำรพิเศษ ผลกำรเข้ำแนะนำส่งเสร ิมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 สำนั กงำนสหกรณ์ จังหวัดชัยภูมิ มีสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรที่อยู่ในควำมรับผิดชอบแนะนำ ส่ งเสร ิม

พัฒนำ และกำกับดูแล สหกรณ์ จำนวน 73 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร จำนวน 50 แห่ง รวมจำนวน 123 แห่ง

1. ผลกำรดำเนินงำน สหกรณ์มีปร ิมำณธุรกิจ จำนวน 23,863.71 ล้ำนบำท มีกำไรสุทธิ 876.10 ล้ำนบำท

มีสมำชิก จำนวน 190,750 คน กลุ่มเกษตรกรมีปร ิมำณธุรกิจ จำนวน 91.20 ล้ำนบำท มีสมำชิก จำนวน 3,768 คน 2. ผลกำรจัดระดับควำมเข้มแข็งของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ดังนี้ 1) สหกรณ์ระดับชัน ้ 1

จำนวน

21

แห่ง

2) สหกรณ์ระดับชัน ้ 2

จำนวน

54

แห่ง

4) สหกรณ์ระดับชัน ้ 4 (ชำระบัญชี)

จำนวน

19

แห่ง

5) กลุ่มเกษตรกรระดับชัน ้ 1

จำนวน จำนวน

11

43

แห่ง

7) กลุ่มเกษตรกรระดับชัน ้ 3

จำนวน

5

แห่ง

8) กลุ่มเกษตรกรระดับชัน ้ 4 (ชำระบัญชี)

จำนวน

12

แห่ง

3) สหกรณ์ระดับชัน ้ 3

6) กลุ่มเกษตรกรระดับชัน ้ 2

จำนวน

1

แห่ง

แห่ง

3. ผลกำรจัดมำตรฐำนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ในปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 ดังนี้ 1) สหกรณ์ จ ำนวน 73 แห่ ง สำมำรถผ่ ำ นเกณฑ์ ม ำตรฐำนของกรมส่ ง เสร ิมสหกรณ์ จ ำนวน 41 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 56.16

2) กลุ่ ม เกษตรกร จ ำนวน 53 แห่ ง สำมำรถผ่ ำ นเกณฑ์ ม ำตรฐำนของกรมส่ ง เสร ิมสหกรณ์

ผ่ำนเกณฑ์มำตรฐำน จำนวน 48 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 90.57 ปัญหำ/อุปสรรคในกำรดำเนินงำนของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร

1. ผลกระทบจำกกำรแพร่ระบำดของโรคติดเชือ ้ ไวรัสโคโรน่ำ 2019 ส่งผลกระทบในเชิงลบต่อกำรดำเนินงำน ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เช่น สมำชิกที่เป็นลูกหนี้เง ินกู้ค้ำงชำระหนี้เพิ่มขึ้น และส่งกระทบในเชิงลบต่ อกำร ดำรงชีพของสมำชิก เช่น จำหน่ำยสินค้ำเกษตรได้ น้อยลง จำหน่ำยได้ รำคำต่ำ ทำให้สมำชิกมีรำยได้ ไม่เพียงพอกับ ค่ำใช้จำ่ ย ควำมสำมำรถในกำรชำระหนี้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรลดลงและไม่เป็นไปตำมกำหนด 2. บุคลำกรของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประกอบด้ วย 1) คณะกรรมกำรดำเนินกำร ในกำรบร ิหำรงำน

นำข้อมูลมำใช้ประกอบกำรบร ิหำรงำนน้อย เช่น ข้อมูลทำงกำรเง ิน ข้อมูลพื้นฐำนสมำชิก ข้อมูลด้ ำนกำรตลำด และ ประสบกำรในกำรบร ิหำรงำนองค์ กร 2) ฝ่ำยจัดกำร เสนอข้อมูลต่ ำง ๆ ให้ คณะกรรมกำรดำเนิ นกำร ประกอบกำร พิจำรณำไม่เพียงพอต่อกำรตัดสินใจ เช่น ข้อมูลทำงกำรเง ิน ข้อมูลพื้นฐำนสมำชิก ข้อมูลด้ำนกำรตลำด ทักษะในกำร ปฏิบัติงำนในหน้ำที่ที่ได้รบ ั มอบหมำยไม่เพียงพอ 3) ผู้ตรวจสอบกิจกำร ปฏิบัติตำมอำนำจหน้ำที่ไม่สมบูรณ์ เช่น ไม่มี

แผนกำรตรวจสอบ ไม่เสนอรำยงำนกำรตรวจสอบ และควำมรูแ ้ ละทักษะในกำรตรวจสอบกิ จกำรไม่เพียงพอ และ 4) สมำชิ ก มี ควำมเข้ ำใจในบทบำทหน้ ำที่ ของตนเองน้ อย ควำมร่วมมื อในกำรร่วมท ำธุ รกิ จกั บสหกรณ์ และ กลุ่มเกษตรกรค่ อนข้ำงน้อย ทั้งนี้ บุ คลำกรของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ส่ วนใหญ่มีควำมเข้ำใจเรอื่ งอุดมกำรณ์

หลักกำรและว ิธีกำรสหกรณ์ กฎหมำย ข้อบังคับ ระเบียบต่ำง ๆ ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร และควำมรูด ้ ้ำนต่ำง ๆ ยังไม่เพียงที่จะนำไปใช้ในกำรดำเนินงำนของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร

3. สหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร ส่ วนใหญ่ยังพึ่งพำแหล่งเง ินทุนจำกภำยนอก มีต้นทุนในกำรดำเนินงำน ค่อนข้ำงสูง กำรสะสมทุนภำยในมีอัตรำกำรเติบโตไม่ทันกับอัตรำกำรเติบโตของกำรใช้เง ินทุนเพื่อดำเนินงำน

4. สหกรณ์ขนำดเล็กและกลุ่มเกษตรกร ยังประสบปัญหำในกำรบร ิหำรจัดกำร เช่น มีทุนไม่เพียงพอต่อกำร

ดำเนินงำน ไม่สำมำรถจ้ำงเจ้ำหน้ำที่ให้มำปฏิบัติงำนด้ำนต่ำง ๆ ได้ ที่สำคัญคือเจ้ำหน้ำที่บัญชี เจ้ำหน้ำที่ปฏิบัติงำน ด้ำนธุรกิจ และกรรมกำรดำเนินกำรส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอำยุ กรรมกำรดำเนินกำรที่เป็นคนรุน ่ ใหม่เข้ำมำทดแทนน้อย ข้อเสนอแนะ/แนวทำงแก้ไขปัญหำ 1. จำกกำรสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของเชือ ้ ไวรัสโคโรน่ำ 2019 สำนักงำนเสร ิมสหกรณ์จงั หวัด ร่วมกั บ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ศึ กษำ ว ิเครำะห์ ผลกระทบทั้งเชิงบวกเชิงลบ เพื่อนำข้อมูลมำประกอบ กำรปรับ ปรุ ง กำรปฏิ บั ติ ง ำนและกระบวนกำรท ำงำนให้ ส อดคล้ อ งกั บ สถำนกำรณ์ น ำเทคโนโลยี ส มั ย ใหม่ มำเสร ิมในกำรปฏิบัติงำน เช่น กำรประชุมออนไลน์ กำรจำหน่ำยสินค้ำออนไลน์ และช่องทำงอื่น ๆ 2. สร้ำงควำมเข้ำใจในอุดมกำรณ์ หลักกำรและว ิธีกำรสหกรณ์ ให้ ควำมรูด ้ ้ ำนกฎหมำย ข้อ บังคับ

ระเบียบต่ำง ๆ ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เพิ่มศักยภำพในกำรบร ิหำรงำนและกำรบร ิหำรธุรกิจ ทบทวน บทบำทและหน้ำที่ควำมรับผิดชอบของบุคลำกรของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร อย่ำงต่อเนื่อง

3. สำนักงำนสหกรณ์จังหวัด ร่วมกับ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร สร้ำงควำมเชือ ่ มั่น ควำมศรัทธำ

ของกำรดำเนิ น งำนรูป แบบสหกรณ์ แก่ สมำชิก ด้ วยกำรดำเนิ นงำนบนพื้นฐำนแบบสหกรณ์ และตำมควำม ต้องกำรที่ชอบธรรมของสมำชิก

4. สำนักงำนสหกรณ์จงั หวัด ชีแ ้ นวทำงให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ในกำรกำหนดแผนกำรเพิ่ม

และสะสมทุนภำยในให้ มีเป้ำหมำยชัดเจน เช่น กำรจัดสรรกำไรสุ ทธิเป็นทุนสำรองในอั ตรำที่ก้ำวหน้ำ และ จัดหำแหล่งเง ินทุนต้นทุนต่ำ เช่น เง ินกองทุนพัฒนำสหกรณ์ เง ินกองทุนสงเครำะห์เกษตรกร

5. สำนั กงำนสหกรณ์ จังหวัด ปฏิ บัติหน้ ำที่ต ำมอำนำจหน้ ำที่ที่พึงมีต ำมกฎหมำย ในกำรส่ งเสร ิม

พัฒนำเพื่อให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีควำมเข้มแข็ง มีภูมิค้ม ุ กัน ทันต่อควำมเปลี่ยนแปลง ปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 สำนักงำนสหกรณ์จังหวัดชัยภูมิ มีผลกำรดำเนินงำน ตำมกำรประเมิน

กำรปฏิบัติรำชกำรของกรมกรมส่งเสร ิมสหกรณ์อยู่ในลำดับที่ 2 ของประเทศ เมื่อเทียบกับปีที่ผ่ำนมำลำดับ

ผลกำรปฏิ บั ติ ร ำชกำรดี ขึ้ น แบบก้ ำ วกระโดด ซึ่ ง ปั จ จั ย ส ำคั ญหลำยประกำรในกำรปฏิ บั ติ ร ำชกำรเพื่ อ มุ่ ง ผลสั ม ฤทธิ์ ทั้ ง เชิง ปร ิมำณและเชิง คุ ณ ภำพ โดยค ำนึ ง ถึ ง ผลประโยชน์ ข องส่ ว นรวมเป็น หลั ก ตลอดจน กำรปฏิ บัติ งำนตำมแผนงำน/โครงกำรต่ ำง ๆ เป้ำหมำยสำคั ญคื อ กำรส่ งเสร ิมสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร

ให้ มี ค วำมเข้ ม แข็ ง ภู มิ คุ้ ม กั น ทั น ต่ อ ควำมเปลี่ ย นแปลง ซึ่ง ต้ อ งอำศั ย กำรบู ร ณำกำรในกำรปฏิ บัติ งำนกั บ ทุกภำคส่วน ตลอดจนกำรปฏิบัติงำนตำมนโยบำยต่ำงๆ ของรัฐบำลควบคู่ไปพร้อม ๆ กัน สำนักงำนสหกรณ์

จั ง หวั ด ชัย ภู มิ ได้ ร ับ ควำมร่ว มมื อ ก ำลั ง แรงกำย แรงใจจำกสหกรณ์ กลุ่ ม เกษตรกร เคร ือข่ ำ ยส หกรณ์ ขบวนกำรสหกรณ์ ใ นจัง หวัด ชัย ภูมิ กลุ่มอำชีพ เกษตรกร ประชำชน ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสี ย หน่ วยงำนภำครัฐ รัฐว ิสำหกิจ และภำคเอกชน ในกำรขับเคลื่อนให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีควำมเข้มแข็งและยั่งยืน

สารบัญ บทสรุปผู้บร ิหำร ส่วนที่ 1 ข้อมูลภำพรวมของหน่วยงำน 1) ว ิสัยทัศน์ พันธกิจ และอำนำจหน้ำที่

2) แนวทำงกำรขับเคลื่อนงำน/โครงกำรที่สอดคล้องกับแผนระดับ 3 ของกรมส่งเสร ิมสหกรณ์

หน้ำ 1 2

3

รวมถึงนโยบำยและทิศทำงกำรพัฒนำจังหวัดในระดับพื้นที่ 3) โครงสร้ำงและกรอบอัตรำกำลัง ประจำปี 2565

4

5) สรุปข้อมูลสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และกลุ่มอำชีพในสังกัดสหกรณ์

6

4) งบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 (ข้อมูล ณ 30 กันยำยน 2565)

ส่วนที่ 2 ผลสัมฤทธิข์ องกำรปฏิบัติงำน และผลกำรปฏิบัติงำน/โครงกำรภำยใต้ แผนปฏิบัติงำน และงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ

1) ผลกำรดำเนินงำนตำมแผนปฏิบัติงำนและงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ

5

13 16

พ.ศ. 2565 และงบประมำณอืน ่ ที่หน่วยงำนได้รบ ั ยุทธศำสตร์ชำติ ด้ำนที่ 2 กำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน ประเด็นแผนแม่บท 3 กำรเกษตร

• แผนงำนพื้นฐำน ด้ำนกำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน

16

• แผนงำนยุทธศำสตร์ กำรเกษตรสร้ำงมูลค่ำ

34

ยุทธศำสตร์ชำติ ด้ำนที่ 4 กำรสร้ำงโอกำสและควำมเสมอภำคทำงสังคม ประเด็นแผนแม่บท 15 พลังทำงสังคม • แผนงำนยุทธศำสตร์ เสร ิมสร้ำงพลังทำงสังคม

• แผนงำนยุทธศำสตร์ เพื่อสนับสนุนด้ำนกำรสร้ำงโอกำสและควำมเสมอภำคทำงสังคม ประเด็นแผนแม่บท 16 เศรษฐกิจฐำนรำก

• แผนงำนบูรณำกำร แผนงำนบูรณำกำรพัฒนำและส่งเสร ิมเศรษฐกิจฐำนรำก

44

50 52

2) ผลกำรดำเนินงำน/โครงกำรตำมนโยบำยสำคัญ ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565

60

3) รำงวัลที่หน่วยงำนได้รบ ั จำกหน่วยงำนภำคส่วนต่ำง ๆ ภำยนอก

81

ส่วนที่ 3 กิจกรรมประชำสัมพันธ์งำนสหกรณ์ฯ และสร้ำงภำพลักษณ์หร ือวัฒนธรรมองค์กร

83

ของหน่วยงำนในรอบปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 ส่วนที่ 4 รำยงำนข้อมูลงบกำรเง ิน (ณ วันที่ 30 กันยำยน 2564)

97

1) งบแสดงฐำนะกำรเง ิน

98

2) งบแสดงผลกำรดำเนินงำนทำงกำรเง ิน

99

3) หมำยเหตุประกอบงบกำรเง ิน และรำยงำนกำรว ิเครำะห์งบกำรเง ิน

100

สรุปผลสำเร็จตำมตัวชีว้ ด ั หลัก (เชิงปร ิมำณและเชิงคุณภำพ) ของงำน/โครงกำร ตำมแผน

107

ส่วนที่ 5 ภำคผนวก

ปฏิบัติงำนและงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 - 2565 ส่วนที่ 6 บรรณำนุกรม

106

115

Annual Report 2022 |

ส่วนที่ 1 ข้อมูลภาพรวม ของหน่วยงาน

1

Annual Report 2022 |

1) วิสัยทัศน์ พั นธกิจ อานาจหน้าที่ วิสัยทัศน์ (Vision) เป็นองค์กรที่ส่งเสร ิมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ให้มีความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน ด้วยเทคโนโลยีดิจท ิ ัลและหลักธรรมาภิบาล

พั นธกิจ (Mission)  สร้า งและขยายการให้ บร ิการเพื่อ ตอบสนองความต้ อ งการและความคาดหวั งของสหกรณ์ กลุ่ม เกษตรกร และ ประชาชนทั่วไป

 ขยายเคร ือข่ายความร่วมมือและการบูรณาการระหว่างภาคสหกรณ์ ภาคเอกชนและภาคราชการ

 เผยแพร่ให้ความรู ้ อุดมการณ์ หลักการ และว ิธีการสหกรณ์ให้แก่สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกรและประชาชนทั่วไป  ส่ ง เสร ิมและสนั บ สนุ น การสร้า งเคร ือข่ า ยพั น ธมิ ต รทางด้ า นการบร ิหารจัด การ ทางด้ า นเศรษฐกิ จ สั ง คม และ วัฒนธรรมเพื่อสร้างความเข้มแข็งในระบบสหกรณ์

 สนั บสนุนสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรในการดาเนิ นงานเพื่อตอบสนองความต้ อ งการของสมาชิก และผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย ภายใต้หลักการสหกรณ์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

 ส่งเสร ิมพัฒนาระบบบร ิหาร การบร ิหารธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรภายใต้หลักธรรมาภิบาล  ส่งเสร ิมและสนับสนุนการสร้างจิตสานึกความเป็นสหกรณ์และการมีส่วนร่วม

อานาจหน้าที่ของหน่วยงาน (Authority)  ดาเนินการเกี่ยวกับงานด้านกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ กฎหมายว่าด้วยการจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ และกฎหมาย อื่นที่เกี่ยวข้อง

 ส่งเสร ิมและพัฒนางานสหกรณ์ทุกประเภทและกลุ่มเกษตรกร  ส่ ง เสร ิม เผยแพร่ และให้ ค วามรู เ้ กี่ ย วกั บ อุ ด มการณ์ หลั ก การ และว ธิ ีก ารสหกรณ์ ให้ แ ก่ บุ ค ลากรสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และประชาชน ทั่วไป

 ส่งเสร ิมและพัฒนาธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร

 ปฏิบัติงานร่วมกับหร ือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหร ือที่ได้รบ ั มอบหมาย

2

Annual Report 2022 |

3

2) แนวทางการขั บเคลื่ อนงาน/โครงการที่ สอดคล้ องกั บแผนระดั บ 3 ของ กรมส่งเสริมสหกรณ์ รวมถึงนโยบายและทิศทางการพั ฒนาจังหวัดในระดับพื้ นที่

Annual Report 2022 |

3) โครงสร้างและกรอบอัตรากาลัง ประจาปี 2565

ข้าราชการ

ลูกจ้างประจา

33 คน

พนักงานราชการ

19 คน

3 คน

ข้าราชการ

พนักงานราชการ

• สหกรณ์จงั หวัด

• นักว ิชาการสหกรณ์ชานาญการพิเศษ • นักจัดการงานทั่วไปชานาญการ • นักว ิชาการสหกรณ์ชานาญการ

1 อัตรา

• นักว ิชาการสหกรณ์

6 อัตรา

1 อัตรา

• นักว ิชาการมาตรฐานสินค้า

1 อัตรา

3 อัตรา 13 อัตรา

• นักว ิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ

• เจ้าพนักงานส่งเสร ิมสหกรณ์อาวุโส

• เจ้าพนักงานส่งเสร ิมสหกรณ์ชานาญงาน

1 อัตรา

• นักจัดการงานทั่วไป

1 อัตรา

1 อัตรา

• เจ้าพนักงานส่งเสร ิมสหกรณ์

5 อัตรา

1 อัตรา

• เจ้าพนักงานธุรการ

3 อัตรา

6 อัตรา

• นิติกรปฏิบัติการ

• นักว ิเคราะห์นโยบายและแผน

7 อัตรา

• นิติกร

• เจ้าพนักงานการเง ินและบัญชี

ลูกจ้างประจา • พนักงานขับรถยนต์ ส2

3 อัตรา

1 อัตรา 1 อัตรา

4

Annual Report 2022 |

4) งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (แยกตามยุทธศาสตร์จัดสรรงบประมาณ)  งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสานักงานสหกรณ์จงั หวัดชัยภูมิ (แยกตามยุทธศาสตร์จด ั สรรงบประมาณ)

4,331,120.00 บาท

2,707,133.14 บาท

61.32%

38.33%

24,800.00 บาท 0.35%

ประเด็นแผนแม่บท 3 การเกษตร

ประเด็นแผนแม่บท 15 พลังทางสังคม

ประเด็นแผนแม่บท 16 เศรษฐกิจฐานราก

5

Annual Report 2022 |

5) สรุ ป ข้ อ มู ล สหกรณ์ กลุ่ ม เกษตรกร และกลุ่ ม อาชี พ ในสั ง กั ด สหกรณ์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ข้อมูลสหกรณ์  จานวนสหกรณ์และจานวนสมาชิกสหกรณ์ ประเภทสหกรณ์

จานวนสหกรณ์

คิดเป็น

จานวนสมาชิก

คิดเป็น

(แห่ง)

ร้อยละ

(คน)

ร้อยละ

52

71.23

163,316

86.45

2. สหกรณ์ประมง

1

1.37

99

0.05

3. สหกรณ์นิคม

1

1.37

1,509

0.80

4. สหกรณ์ออมทรัพย์

8

10.96

21,106

11.17

5. สหกรณ์รา้ นค้า

-

-

-

6. สหกรณ์บร ิการ

5

6.85

351

0.19

7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน

6

8.22

2,542

1.34

73

100.00

188,923

1. สหกรณ์การเกษตร

รวม

-

100.00

 สถานะสหกรณ์ จานวนสหกรณ์ (แห่ง) ธุรกิจ

/ชาระบัญชี

จัดตั้งใหม่

(1)

(2)

(3)

(4)

52

-

17

-

69

2. สหกรณ์ประมง

1

-

-

-

1

3. สหกรณ์นิคม

1

-

-

-

1

4. สหกรณ์ออมทรัพย์

8

-

1

-

9

5. สหกรณ์รา้ นค้า

-

-

-

-

-

6. สหกรณ์บร ิการ

4

-

2

1

7

7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน

6

-

1

-

7

72

-

21

1

94

1. สหกรณ์การเกษตร

รวม

หยุดดาเนินงาน/

จานวนสหกรณ์

เลิก

ประเภทสหกรณ์

ดาเนินงาน/ ธุรกิจ

ทั้งหมด

(1) + (2) + (3) + (4)

6

Annual Report 2022 |

 ปรมาณธุ ิ รกิจของสหกรณ์ ประเภทสหกรณ์

ของสหกรณ์ (แห่ง)

1. สหกรณ์การเกษตร

ปร ิมาณธุรกิจ แยกตามประเภทการให้บร ิการ (ล้านบาท)

ปร ิมาณธุรกิจ รับฝากเง ิน

52

ให้เง ินกู้

923.676

จัดหาสินค้ามา

รวบรวม

แปรรูป

จาหน่าย

ผลผลิต

ผลผลิต และอื่น ๆ

2,253.136

2. สหกรณ์ประมง

1

-

3. สหกรณ์นิคม

1

24.620

4. สหกรณ์ออมทรัพย์

8

3,459.583

5. สหกรณ์รา้ นค้า

-

6. สหกรณ์บร ิการ

4

0.644

5.014

7. สหกรณ์เครดิตยูเนีย ่ น

6

15.283

32.822

รวมทั้งสิ้น

72

4,423.806

17,599.828

987.255

25.710

-

744.603 22.814

รวมทั้งสิ้น

5.389

4,936.873

-

-

-

-

79.660

-

-

-

129.990

-

-

-

-

18,742.729

-

-

-

-

-

0.165

-

-

-

15,283.146

-

บร ิการ

0.198 1,067.113

744.603 22.814

-

6.021 48.105

5.554

23,863.718

 ผลการดาเนินงานของสหกรณ์ ผลการดาเนินงานปีล่าสุดที่มีการปิดบัญชีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ผลการดาเนินงานในภาพรวม ประเภทสหกรณ์

1. สหกรณ์การเกษตร

(1)

(2)

(3)

จานวน

รายได้

ค่าใช้จา่ ย

(แห่ง)

(ล้านบาท)

(ล้านบาท)

52

2,224.058

2,201.757

กาไร (ขาดทุน)

การดาเนินงานมีผลกาไร - ขาดทุน สหกรณ์ที่มีผลกาไร

สหกรณ์ที่ขาดทุน

(4)

(5)

(6)

(7)

จานวน

กาไร

จานวน

ขาดทุน

(แห่ง)

(ล้านบาท)

(แห่ง)

(ล้านบาท)

40

50.062

สุทธิ

ในภาพรวม (ล้านบาท) (5) - (7)

12

27.761

22.301 (0.051)

2. สหกรณ์ประมง

1

0.102

0.153

-

-

1

0.051

3. สหกรณ์นิคม

1

91.815

91.551

1

0.264

-

-

4. สหกรณ์ออมทรัพย์

8

1,660.303

808.712

7

851.661

1

0.070

851.591

5. สหกรณ์รา้ นค้า

-

-

6. สหกรณ์บร ิการ

4

1.615

7. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน

6

รวมทั้งสิ้น

72

-

0.264

-

-

-

-

-

1.889

1

0.124

3

0.398

(0.274)

8.328

6.056

6

2.272

-

-

3,986.221

3,110.118

55

904.383

17

28.280

หมายเหตุ สหกรณ์จด ั ตั้งใหม่ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จานวน 1 แห่ง คือ สหกรณ์บร ิการไทยทาดีชย ั ภูมิ จากัด ประเภท สหกรณ์บร ิการ จดทะเบียนเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2565

2.272 876.103

7

Annual Report 2022 |

 ผลการจัดระดับชัน ้ สหกรณ์ จาแนกตามประเภทของสหกรณ์ สหกรณ์

สหกรณ์

สหกรณ์

สหกรณ์

ชัน ้ 1

ชัน ้ 2

ชัน ้ 3

ชัน ้ 4

สหกรณ์ภาคการเกษตร

12

45

0

15

72

1. สหกรณ์การเกษตร

12

43

-

15

70

2. สหกรณ์นิคม

-

1

-

-

1

3. สหกรณ์ประมง

-

1

-

-

1

สหกรณ์นอกภาคการเกษตร

9

9

1

4

23

4. สหกรณ์ออมทรัพย์

5

3

-

1

9

5. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน

2

4

-

1

7

6. สหกรณ์บร ิการ

2

2

1

2

7

7. สหกรณ์รา้ นค้า

-

-

-

-

0

รวม

21

54

1

19

95

ประเภทสหกรณ์

รวม

ที่มา : รายงานสรุปผลการจัดระดับชัน ้ สหกรณ์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กองแผนงาน กรมส่งเสร ิมสหกรณ์  ผลการจัดระดับชัน ี ยบ 3 ปี (ปี พ.ศ. 2563 - 2565) ้ สหกรณ์ เปรยบเที ระดับชัน ้

ระดับชัน ้

ระดับชัน ้

ระดับชัน ้

ณ วันที่ 30 กันยายน 2563

ณ วันที่ 30 กันยายน 2564

ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2565

(แห่ง/ร้อยละ)

(แห่ง/ร้อยละ)

(แห่ง/ร้อยละ)

ชัน ้ 1

23 / 22.33

23 / 23.00

21 / 22.11

ชัน ้ 2

54 / 52.43

53 / 53.00

54 / 56.84

ชัน ้ 3

8 / 7.77

1 / 1.00

1 / 1.05

ชัน ้ 4

18 / 17.47

23 / 23.00

19 / 20.00

รวม

103 / 100.00

100 / 100.00

95 / 100.00

ที่มา : รายงานสรุปผลการจัดระดับชัน ้ สหกรณ์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กองแผนงาน กรมส่งเสร ิมสหกรณ์

22.33

23.00

22.11 ชัน ้ 1

52.43 7.77

17.47 ปี 2563

53.00 1.00 23.00 ปี 2564

56.84 1.05 20.00 ปี 2565

ชัน ้ 2 ชัน ้ 3 ชัน ้ 4

8

Annual Report 2022 |

ข้อมูลกลุ่มเกษตรกร  จานวนกลุ่มเกษตรกรและจานวนสมาชิกกลุ่มเกษตรกร ประเภทกลุ่มเกษตรกร

จานวนกลุ่มเกษตรกร

คิดเป็น

จานวนสมาชิก

คิดเป็น

(แห่ง)

ร้อยละ

(คน)

ร้อยละ

1. กลุ่มเกษตรกรทานา

22

44.00

1,712

45.44

2. กลุ่มเกษตรกรทาสวน

8

16.00

574

15.23

3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์

12

24.00

780

20.70

4. กลุ่มเกษตรกรทาไร่

7

14.00

654

17.36

5. กลุ่มเกษตรกรทาประมง

-

-

-

6. กลุ่มเกษตรกรอื่นๆ (เลี้ยงไหม)

1

2.00

48

50

100

3,768

รวม

1.27 100.00

 สถานะกลุ่มเกษตรกร จานวนกลุ่มเกษตรกร (แห่ง) ธุรกิจ

เลิก

/ชาระบัญชี

จัดตั้งใหม่

(1)

(2)

(3)

(4)

(1) + (2) + (3) + (4)

1. กลุ่มเกษตรกรทานา

22

-

6

-

28

2. กลุ่มเกษตรกรทาสวน

8

-

1

-

9

3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์

12

-

3

-

15

4. กลุ่มเกษตรกรทาไร่

7

-

8

-

15

5. กลุ่มเกษตรกรทาประมง

-

-

-

-

-

6. กลุ่มเกษตรกรอื่นๆ(เลี้ยงไหม)

1

-

-

-

1

50

-

18

-

68

ประเภทกลุ่มเกษตรกร

รวม

ดาเนินงาน/ ธุรกิจ

หยุดดาเนินงาน/

จานวน กลุ่มเกษตรกร ทั้งหมด

9

Annual Report 2022 |

 ปรมาณธุ ิ รกิจของกลุ่มเกษตรกร ปร ิมาณ

ปร ิมาณธุรกิจ แยกตามประเภทการให้บร ิการ (ล้านบาท)

ธุรกิจ

ประเภทสหกรณ์

ของกลุ่ม

เกษตรกร

รับฝากเง ิน

ให้เง ินกู้

จัดหาสินค้ามา

รวบรวม

แปรรูป

จาหน่าย

ผลผลิต

ผลผลิต และอื่น ๆ

(แห่ง)

บร ิการ

รวมทั้งสิ้น

1. กลุ่มเกษตรกรทานา

22

0.092

11.207

2.237

-

0.106

-

13.642

2. กลุ่มเกษตรกรทาสวน

8

0.069

2.346

1.079

66.729

-

-

70.223

3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์

12

0.041

3.869

0.337

-

-

-

4.247

4. กลุ่มเกษตรกรทาไร่

7

0.031

1.584

0.084

-

-

-

1.699

5. กลุ่มเกษตรกรทาประมง

-

-

-

-

-

-

-

-

6. กลุ่มเกษตรกรอื่นๆ(เลี้ยงไหม)

1

0.032

0.466

0.106

0.785

-

-

1.389

50

0.265

19.472

3.843

67.514

0.106

-

91.200

รวมทั้งสิ้น

 ผลการดาเนินงานของกลุ่มเกษตรกร ผลการดาเนินงานปีล่าสุดที่มีการปิดบัญชีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ผลการดาเนินงานในภาพรวม ประเภทกลุ่มเกษตรกร

(1)

(2)

(3)

จานวน

รายได้

ค่าใช้จา่ ย

(แห่ง)

(ล้านบาท)

(ล้านบาท)

กาไร (ขาดทุน)

การดาเนินงานมีผลกาไร - ขาดทุน กลุ่มเกษตรกรที่มีผลกาไร

กลุ่มเกษตรกรที่ขาดทุน

(4)

(5)

(6)

(7)

จานวน

กาไร

จานวน(แห่ง)

ขาดทุน

(แห่ง)

(ล้านบาท)

สุทธิ

ในภาพรวม (ล้านบาท)

(ล้านบาท)

(5) - (7)

1. กลุ่มเกษตรกรทานา

22

3.449

2.617

21

0.836

1

0.004

0.832

2. กลุ่มเกษตรกรทาสวน

8

69.850

69.052

7

0.840

1

0.042

0.798

3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์

12

0.847

0.592

10

0.292

2

0.037

0.255

4. กลุ่มเกษตรกรทาไร่

7

0.399

1.043

6

0.176

1

0.820

(0.644)

5. กลุ่มเกษตรกรทาประมง

1

1.010

0.947

1

0.063

-

-

0.063

6. กลุ่มเกษตรกรอื่นๆ(เลี้ยงไหม)

-

-

-

-

-

-

-

0.000

50

75.555

74.251

45

2.207

5

0.903

1.304

รวมทั้งสิ้น

10

Annual Report 2022 |

11

 ผลการจัดระดับชัน ้ กลุ่มเกษตรกร จาแนกตามประเภทของกลุ่มเกษตรกร กลุ่ม

กลุ่ม

กลุ่ม

กลุ่ม

เกษตรกร

เกษตรกร

เกษตรกร

เกษตรกร

รวม

1. กลุ่มเกษตรกรทานา

5

18

1

6

30

2. กลุ่มเกษตรกรทาสวน

2

5

-

3

10

3. กลุ่มเกษตรกรเลีย ้ งสัตว์

1

11

2

1

15

4. กลุ่มเกษตรกรทาไร่

2

9

2

2

15

5. กลุ่มเกษตรกรทาประมง

-

-

-

-

-

6. กลุ่มเกษตรกรอื่น ๆ (เลี้ยงไหม)

1

-

-

-

-

รวม

11

43

5

12

71

ประเภทกลุ่มเกษตรกร

ชัน ้ 1

ชัน ้ 2

ชัน ้ 3

ชัน ้ 4

ที่มา : รายงานสรุปผลการจัดระดั บ ชัน ้ กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กองพัฒนาสหกรณ์ ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสร ิมสหกรณ์

กราฟแสดงผลการจัดระดับชัน ้ กลุ่มเกษตรกร ข้อมูล ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2565

ชัน ้ 4 ชัน ้ 3

60.57

ชัน ้ 2 ชัน ้ 1

16.9

7.04

15.49

Annual Report 2022 |

ข้อมูลกลุ่มอาชีพ  จานวนกลุ่มอาชีพและจานวนสมาชิกกลุ่มอาชีพ แยกตามประเภทผลิตภัณฑ์ ประเภทกลุ่มอาชีพ

จานวนกลุ่มอาชีพ

คิดเป็น

อาหารแปรรูป

11

30.56

301

37.53

ผ้าและเครอื่ งแต่งกาย

3

8.33

52

6.48

ของใช้/ของตกแต่ง/ของทีร่ ะลึก/เครอื่ งประดับ

18

50.00

365

45.51

(แยกตามผลิตภัณฑ์)

(แห่ง)

ร้อยละ

จานวนสมาชิก (คน)

คิดเป็น ร้อยละ

เลี้ยงสัตว์

-

-

-

-

บร ิการ

-

-

-

-

เครอื่ งดื่มแอลกอฮอล์

-

-

-

-

เครอื่ งดื่มที่ไม่มแ ี อลกอฮอล์

-

-

-

-

สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร/ยา

4

11.11

84

เพาะปลูก

-

-

-

100.00

802

รวม

36

10.47 100.00

12

Annual Report 2022 |

ส่วนที่ 2 ผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบต ั ิงาน และผลการปฏิบัติงาน/โครงการ ภายใต้แผนปฏิบัติงานและ งบประมาณรายจ่ายประจาปี

13

Annual Report 2022 |

14

สรุปผลการปฏิบัตง ิ านและการใช้จ่ายงบประมาณ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (ผลการดาเนินงานสะสมตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565 แผนงาน/ผลผลิต/กิจกรรม

ผลการดาเนินงาน

เป้าหมาย

(หน่วยนับ)

หน่วยนับ

ร้อยละ

19 อัตรา

100

งบประมาณทีไ่ ด้รบ ั จัดสรร+โอนเพิ่ม บาท

ผลการเบิกจ่าย บาท

ร้อยละ

แผนงานบุคลากรภาครัฐ แผนงานบุคลากรภาครัฐ ผลผลิต รายการค่าใช้จา่ ยบุคลากรภาครัฐ กิจกรรมหลัก ค่าใช้จา่ ยบุคลากรภาครัฐ กรมส่งเสร ิมสหกรณ์ กิจกรรมรอง บุคลากรภาครัฐ

19 อัตรา

6,264,700

6,264,700

100

กรมส่งเสร ิมสหกรณ์

แผนงานพื้นฐาน แผนงานพื้นฐาน ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิต สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รบ ั การส่งเสร ิมและพัฒนาให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ กิจกรรมหลัก ส่งเสร ิมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง ส่งเสร ิมและพัฒนา

สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง

137 แห่ง

137 แห่ง

100

2,949,000

2,949,000

100

5 รายการ

5 รายการ

100

781,600

781,600

100

ตามศักยภาพ รายจ่ายเพื่อการลงทุนสาหรับครุภัณฑ์

และสิ่งก่อสร้าง

แผนงานยุทธศาสตร์ แผนงานยุทธศาสตร์ เสร ิมสร้างพลังทางสังคม โครงการ ส่งเสร ิมการดาเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชดาร ิ กิจกรรมหลัก ส่งเสร ิมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่อันเนื่องมาจากพระราชดาร ิ กิจกรรมรอง ส่งเสร ิมและพัฒนา

สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในพื้นที่โครงการ อันเนื่องมาจากพระราชดาร ิ

1) ส่งเสร ิมการสหกรณ์ตามโครงการอัน

1 แห่ง

1 แห่ง

100

8,800

8,800

100

2) คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ

4 ครัง้

4 ครัง้

100

9,100

9,100

100

2,631,568.14 2,631,568.14

100

เนื่องมาจากพระราชดาร ิ

3) ขับเคลื่อนการประยุกต์ใช้หลัก

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์

5 แห่ง

5 แห่ง

100

1,900

1,900

100

และกลุ่มเกษตรกร แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม โครงการ ช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมหลัก ช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง ลดดอกเบี้ยเง ินกู้ให้

18 แห่ง

18 แห่ง

เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร

6,095 ราย

6,095 ราย

100

โครงการ พัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ กิจกรรมหลัก นาลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร กิจกรรมรอง นาลูกหลานกลับบ้าน สาน

ต่ออาชีพการเกษตร

22 ราย

22 ราย

100

55,765

55,765

100

Annual Report 2022 |

แผนงาน/ผลผลิต/กิจกรรม

เป้าหมาย

(หน่วยนับ)

ผลการดาเนินงาน หน่วยนับ

งบประมาณทีไ่ ด้รบ ั จัดสรร+โอนเพิ่ม

ร้อยละ

บาท

15

ผลการเบิกจ่าย บาท

ร้อยละ

แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า โครงการ พัฒนาศักยภาพการดาเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน กิจกรรมหลัก ส่งเสร ิมเกษตรแปรรูปในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ และเกษตรกรให้เข้าสู่ระบบการผลิต เกษตรแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม

2 สหกรณ์

2 สหกรณ์

100

8,000

8,000

100

100

120,500

120,500

100

100

6,800

6,800

100

100

18,000

18,000

100

12,855,733.14 12,855,733.14

100

1 กลุ่มเกษตรกร 1 กลุ่มเกษตรกร

โครงการ ส่งเสร ิมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมหลัก ส่งเสร ิมเกษตรปลอดภัยในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง ส่งเสร ิมเกษตรปลอดภัย ในสหกรณ์และเกษตรกร

5 แห่ง

5 แห่ง

71 ราย

71 ราย

แผนงานบูรณาการ แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสร ิมเศรษฐกิจฐานราก โครงการ ส่งเสร ิมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาทีด ่ ินทากินของเกษตรกร กิจกรรมหลัก ส่งเสร ิมและพัฒนาอาชีพ

ภายใต้โครงการจัดที่ดินตามนโยบายรัฐบาล

30 ราย

30 ราย

โครงการ ส่งเสร ิมการพัฒนาระบบตลาดภายในสาหรับสินค้าเกษตร กิจกรรมหลัก พัฒนากลไกการตลาดเพื่อ เพิ่มช่องทางจาหน่ายสินค้าของสหกรณ์

3 สหกรณ์

3 สหกรณ์

และกลุ่มเกษตรกร

รวม

แผนงานอื่นๆ โครงการปรับโครงสร้างการผลิต การรวบรวม และการแปรรูปของสถาบันเกษตรกร รองรับผลผลิตทางการเกษตร รายการเง ินอุดหนุนของกรมส่งเสร ิมสหกรณ์

4 แห่ง

4 แห่ง

100

รวม

3,235,300

3,191,700 98.65

3,235,300

3,191,700 98.65

กองทุนพัฒนาสหกรณ์ โครงการปกติ

13 แห่ง

โครงการพิเศษ

14 สัญญา

13 แห่ง

14 สัญญา

100

24,000,000

30,167,800 125.71

11 แห่ง

11 แห่ง

100

38,840,000

37,475,000 96.50

39,315,000

39,315,000 107.65

24 สัญญา รวม

24 สัญญา

ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2565

ที่มา : งานแผน สานักงานสหกรณ์จงั หวัดชัยภูมิ

Annual Report 2022 |

16

1) ผลการด าเนิ น งานตามแผนปฏิ บั ติ ง าน และผลการปฏิ บั ติ ง าน/ โครงการภายใต้แผนงานปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่ายประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 2 การสร้างความสามารถในการแข่งขัน ประเด็นแผนแม่บท 3 การเกษตร แผนงานพื้นฐาน

แผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน

 งานส่งเสรมและพั ิ ฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ

เพื่ อ ให้ ก ารส่ ง เสร ิมและพั ฒ นาสหกรณ์ / กลุ่ ม เกษตรกรเกิ ด ความเข้ ม แข็ ง ตามศั ก ยภาพตามเกณฑ์

ประเมินความเข้มแข็งของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสร ิมสหกรณ์กาหนด 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดาเนินการ

สหกรณ์ในจังหวัดชัยภูมิ จานวน 76 แห่ง และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดชัยภูมิ จานวน 56 แห่ง

3. ตัวชีว้ ัดความสาเร็จของการดาเนินโครงการ 1) สหกรณ์มีความเข้มแข็ง ระดับชัน ้ 1 และระดับชัน ้ 2 รวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 (สหกรณ์ 68 แห่ง) 2) กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง ระดับชัน ้ 1 รวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 (กลุ่มเกษตรกร 14 แห่ง) 4. กระบวนงาน

1) จัด ท าแผนปฏิ บั ติ ง าน แต่ ง ตั้ ง คณะท างานเพื่ อ ด าเนิ น การขั บ เคลื่ อ นแผนพั ฒ นาความเข้ ม แข็ ง

สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 2) จัดประชุมชีแ ้ จงเจ้าหน้าที่ส่งเสร ิมสหกรณ์ให้เ ข้าใจการขับเคลื่อนแผนพัฒนาความเข้มแข็งสหกรณ์

และกลุ่มเกษตรกร ปี 2565

3) คั ด เลื อ กสหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกรเป้ า หมายจากข้ อ มู ล ผลการจัด ระดั บ ชั้น สหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกร ตามเกณฑ์การจัดระดั บความเข็มแข็ง (ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2564) เพื่อรักษาและยกระดับชัน ้ ความเข้มแข็ง

4) จัด ประชุ ม ประชุ ม เชิง ปฏิ บั ติ ก าร “การว เิ คราะห์ ข้ อ มู ล สหกรณ์ / กลุ่ ม เกษตรกรและแนวทางการ ส่งเสร ิมเพื่อยกระดั บชัน ้ ” เพื่อชีแ ้ จง ให้ความรู ้ ทาความเข้าใจ และหาแนวทางการแนะนาส่งเสร ิมสหกรณ์/

กลุ่มเกษตรกรตามเกณฑ์การประเมิน ความเข้มแข็งสหกรณ์ /กลุ่มเกษตรกรเพื่อยกระดั บชั้น แก่ เจ้าหน้ าที่ ส่งเสร ิมสหกรณ์ พนักงานราชการ กลุ่มส่งเสร ิมสหกรณ์ กลุ่มงานว ิชาการ ร่วมกับสานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ 5) เข้าแนะนาส่งเสร ิมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรตามแผนปฏิบัติงานตามเกณฑ์การจัดระดับความเข้มแข็ง เกณฑ์ข้อ 1 ความสามารถในการบร ิการสมาชิก (การมีส่วนร่วม) เกณฑ์ข้อ 2 ประสิทธิภาพในการดาเนินธุรกิจ (เสถียรภาพทางการเง ิน) เกณฑ์ข้อ 3 ประสิทธิภาพในการจัดการองค์กร (การควบคุมภายใน) เกณฑ์ข้อ 4 ประสิทธิภาพของการบร ิหารงาน (ข้อบกพร่อง) 6) ประเมินผลการจัดชัน ้ สหกรณ์และกลุ่ มเกษตรกรประจาปี 2565 หลังประชุมใหญ่เสร็จสิ้นภายใน

3 วันทาการ

7) ติดตามประเมินผลและรายงานผลการปฏิบัติงานในที่ประชุมประจาเดือน

Annual Report 2022 |

17

5. งบประมาณที่ได้รบ ั ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทงบรายจ่าย

งบประมาณทีไ่ ด้รบ ั (บาท)

ผลเบิกจ่าย (บาท)

ร้อยละ

รวมทั้งสิ้น

394,800

394,800

100

งบดาเนินงาน

394,800

6. ผลสาเร็จ (Output)

394,800

100

ตัวชีว้ ัด/กิจกรรมที่ดาเนินการ

หน่วยนับ

แผน

ผล

ร้อยละ

1) สหกรณ์ชน ั้ 1 และ 2 รวมกันไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90

ร้อยละ/แห่ง

100/67

75

98.68

2) กลุ่มเกษตรกรชัน ้ 1 ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 25

ร้อยละ/แห่ง

100/14

14

100

7. ผลลัพธ์ (Outcome) สหกรณ์

กลุ่มเกษตรกร

ระดับชัน ้ 1 จานวน 21 แห่ง

ระดับชัน ้ 1 จานวน 14 แห่ง

ระดับชัน ้ 2 จานวน 54 แห่ง

ระดับชัน ้ 2 จานวน 39 แห่ง

ระดับชัน ้ 3 จานวน

ระดับชัน ้ 3 จานวน

สามารถรักษาและยกระดับความเข้มแข็งให้สูงขึ้นได้

1 แห่ง (สหกรณ์จด ั ตั้งใหม่)

ระดับชัน ้ 4 จานวน 19 แห่ง (สถานะชาระบัญชี)

สามารถรักษาและยกระดับความเข้มแข็งให้สูงขึ้นได้

1 แห่ง

ระดับชัน ้ 4 จานวน 15 แห่ง (สถานะชาระบัญชี)

8. ผลกระทบ (Impact) - ไม่มี 9. ปัญหาอุปสรรคของการดาเนินโครงการ การจั ด ระดั บ ชั้ น สหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกร ตามเกณฑ์ ก ารจั ด ระดั บ ความเข้ ม แข็ ง 4 ด้ า น ได้ แ ก่

1) ความสามารถในการให้บร ิการสมาชิก 2) ประสิทธิภาพในการดาเนินธุรกิจ 3) ประสิทธิภาพในการจัดการ องค์ กร 4) ประสิ ท ธิภาพของการบร ิหารงาน โดยเกณฑ์ ประสิ ทธิภาพในการดาเนินธุรกิ จ (เสถี ยรภาพทาง การเง น ิ ) และ ประสิ ท ธิภ าพในการจั ด การองค์ ก ร (การควบคุ ม ภายใน) เป็ น เกณฑ์ ก ารจั ด ชั้น ของกรม ตรวจบัญชีสหกรณ์รบ ั ผิดชอบ ทาให้หลักเกณฑ์ในการดาเนินงาน 10. แนวทางแก้ไข หร ือข้อเสนอแนะ ส านั ก งานสหกรณ์ จัง หวั ด ด าเนิ น งานวางแผนงาน แนะน า ส่ ง เสร ิม สหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกร โดย

บูรณาการร่วมกับสานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์อย่างสม่าเสมอ และติดตามการดาเนินงาน

Annual Report 2022 |

18

 โครงการส่งเสรมพั ิ ฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสู่มาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ของกรมส่งเสรมสหกรณ์ ิ 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) เพื่อส่งเสร ิมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้มีมาตรฐานเป็นองค์กรที่มีความเข้มแข็ง เป็นที่ยอมรับของ สมาชิกและสังคมได้อย่างยั่งยืน

2) เพื่ อ ก ากั บ และส่ ง เสร ิมการบร ิหารงานสหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกรให้ มี ธ รรมาภิ บ าลโปร่ง ใสและ

ตรวจสอบได้ 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดาเนินการ 1) สหกรณ์ จานวน 95 แห่ง

สหกรณ์ภาคการเกษตร จานวน 72 แห่ง (นามาจัดมาตรฐานสหกรณ์ 56 แห่ง)

สหกรณ์นอกภาคการเกษตร จานวน 23 แห่ง (นามาจัดมาตรฐานสหกรณ์ 17 แห่ง) 2) กลุ่มเกษตรกร จานวน 69 แห่ง (นามาจัดมาตรฐานกลุ่มเกษตรกร จานวน 53 แห่ง) 3. ตัวชีว้ ัดความสาเร็จของการดาเนินโครงการ

สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรผ่านมาตรฐานตามเกณฑ์มาตรฐาน ซึง่ ประกอบด้วย 1) เกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ 7 ข้อ ข้อที่ 1 ผลการดาเนินงานในรอบสองปีบัญชีย้อนหลัง สหกรณ์มีผลการดาเนินงานไม่ขาดทุน เว้นแต่ปี

ใดมีอุทกภัยหร ือภัยธรรมชาติ จนเกิดความเสียหายต่อสมาชิกและสหกรณ์โดยรวมให้ตัดปีนั้นออก

ข้อที่ 2 ผลการดาเนินงานในรอบสองปีบัญชีย้อนหลัง ไม่มีการกระทาอันถือว่าทุจร ิตต่อสหกรณ์ ข้ อที่ 3 การด าเนิ น งานในรอบสองปี บั ญชี สหกรณ์ จัดท างบการเง น ิ แล้ วเสร็จและส่ งให้ ผู้ สอบบั ญชี

ตรวจสอบแล้วนาเสนอเพื่ออนุมัติในที่ประชุมใหญ่ของสหกรณ์ภายในหนึ่งร้อยห้าสิบวันนับจากวันสิ้นปีทางบัญชี

ข้อที่ 4 ผลการดาเนิ นงานในรอบปีสุดท้าย สหกรณ์ ต้องมีสมาชิกไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของสมาชิก

ทั้งหมดทาธุรกิจกับสหกรณ์

ข้อที่ 5 ต้องจัดจ้างเจ้าหน้าที่สหกรณ์ปฏิบัติงานประจารับผิดชอบการดาเนินการและธุรกิจของสหกรณ์

หากไม่มีการจัดจ้างต้องมีกรรมการดาเนินการหร ือสมาชิกได้รบ ั มอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ประจา

ข้ อ ที่ 6 ผลการด าเนิ น งานในรอบสองปี ย้ อ นหลั ง สหกรณ์ ต้ อ งมี ก ารจัด สรรก าไรสุ ท ธิ และจ่า ยทุ น

สวัสดิการสมาชิกหร ือทุนสาธารณประโยชน์อย่างน้อยหนึ่งครัง้ ข้อที่ 7 ผลการดาเนินงานในรอบปีสุดท้าย สหกรณ์ต้องไม่กระทาการอันเป็นการฝ่าฝืนกฎหมายระเบียบ

หร ือคาสั่งนายทะเบียนสหกรณ์

2) เกณฑ์การจัดมาตรฐานกลุ่มเกษตรกร (1) คณะกรรมการดาเนิ น การจัด ให้ มีการจัดทางบดุ ลรอบสิ บ สองเดื อนแล้วเสร็จ และจัดให้ มีผู้สอบ

บัญชีตรวจสอบได้ภายใน 150 วัน ตามกฎหมาย

(2) ไม่มีข้อสังเกตของผู้สอบบัญชีเกี่ยวกับรายการข้อบกพร่องทางการเง ินและบัญชีอย่างร้ายแรง (3) มีการทาธุรกิจหร ือบร ิการอย่างน้อย 1 ชนิด

(4) มีการประชุมใหญ่สามัญประจาปีภายในกาหนดเวลา 150 วัน ตามกฎหมาย (5) มีกาไรสุทธิประจาปีและมีการจัดสรรกาไรสุทธิประจาปีตามกฎหมาย

ทั้ ง นี้ สหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกรจะต้ อ งผ่ า นหลั ก เกณฑ์ ป ระเมิ น มาตรฐานผลการด าเนิ น งานตาม รายละเอียดเกณฑ์ข้างต้น หากไม่ผ่านข้อใดข้อหนึ่ง ถือว่า ไม่ผ่านมาตรฐาน และมีตัวชีว้ ัดโครงการ ดังนี้ 1) สหกรณ์ภาคการเกษตรผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

2) สหกรณ์นอกภาคการเกษตร ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3) กลุ่มเกษตรกรที่นามาจัดมาตรฐาน ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 81

Annual Report 2022 |

19

4. กระบวนงาน

1) ประชุมชีแ ้ จงทาความเข้าใจเกี่ยวกับการดาเนินงาน การประเมินมาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรกับ

กลุ่มส่งเสร ิมสหกรณ์ 2) ผู้ดูแลระบบในจังหวัดดาเนินการตรวจสอบรายชือ ่ ข้าราชการกลุ่มส่งเสร ิมสหกรณ์ที่รบ ั ผิดชอบสถาบัน

และจัดให้มีการดูแลสถาบันให้ครบถ้วน

3) ประเมินสถานะทุกสหกรณ์ ทุกสถานภาพ และบันทึกข้อมูลเข้าระบบประเมินมาตรฐานสหกรณ์/กลุ่ม

เกษตรกร ให้ครบทุกสถาบัน

4) ประเมินผลการจัดมาตรฐานภายใน 2 วัน นับแต่วันประชุมใหญ่ 5) รายงานผลการประเมินผลการจัดมาตรฐานสหกรณ์ในทีประชุมประจาเดือนทุกเดือน 6) เจ้าหน้าที่สานักงานสหกรณ์จงั หวัดผลประเมินมาตรฐานของสถาบันทั้งหมด

7) กรมส่งเสร ิมสหกรณ์ประกาศผลการจัดมาตรฐานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 5. งบประมาณที่ได้รบ ั ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 – ไม่มี 6. ผลสาเร็จ (Output)

ตัวชีว้ ัด/กิจกรรมที่ดาเนินการ

หน่วยนับ

แผน

ผล

ร้อยละ

1) สหกรณ์ภาคการเกษตร ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ ไม่น้อยกว่ า

แห่ง

45

31

68.89

2) สหกรณ์นอกภาคการเกษตร ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ ไม่น้อย

แห่ง

14

10

71.42

แห่ง

43

48

111.63

ร้อยละ

100

100

100

ร้อยละ 80

กว่าร้อยละ 80 3) กลุ่มเกษตรกรที่นามาจัดมาตรฐาน ผ่านเกณฑ์มาตรฐานไม่น้อยกว่า ร้อยละ 81 4) ควบคุมการใช้จา่ ยงบประมาณ เบิกจ่ายตามเป้าหมาย

7. ผลลัพธ์ (Outcome) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดชัยภูมิ มีความเข้มแข็งทั้งในภาคของกระบวนการบร ิหารจัดการและ

ควบคุ ม ภายในของสหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกร ส่ ง ผลให้ ก ารด าเนิ น ธุ ร กิ จ มี ค วามเจร ิญก้ า วหน้ า และเป็ น ศูนย์กลางการให้บร ิการแก่สมาชิกอย่างเหมาะสม ภายใต้เกณฑ์การจัดมาตรฐานที่กรมส่งเสร ิมสหกรณ์กาหนด 8. ผลกระทบ (Impact) - ไม่มี 9. ปัญหาอุปสรรคของการดาเนินโครงการ 1) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ได้รบ ั ผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชือ ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-

19) ทาให้การมีส่วนร่วมในการดาเนินธุรกิจน้อยลง ปร ิมาณธุรกิจของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรลดลง ทาให้ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรประสบปัญหาการขาดทุนและไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน

2) การเพิ่มขึ้นของต้นทุนการผลิตของสินค้าและบร ิการ ทาให้ราคาสินค้าและบร ิการเพิ่มสูงขึ้น แต่ในขณะ

ที่ ผ ลผลิ ต ด้ า นการเกษตรของสมาชิก สหกรณ์ มี ก ารขยายตั วน้ อ ยกว่า ต้ น ทุน ที่เ กิ ดขึ้น ท าให้ ส มาชิก ประสบ ปัญหาการขาดทุน ส่งผลกระทบโดยตรงกับธุรกิจสินเชือ ่ ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ได้รบ ั การชาระหนี้ จากลูกหนี้สมาชิกน้อยลง ทาให้เกิดการขาดทุนเพิ่มมากขึ้น 10. แนวทางแก้ไข หร ือข้อเสนอแนะ - หน่วยงานภาครัฐต้องมีการบูรณาการเข้าช่วยเหลือสหกรณ์ทั้งในด้านเง ินทุนเพื่อช่วยเหลือสมาชิก และ องค์ความรู ้ การบร ิหารจัดการให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ลดต้นทุนค่าใช้จา่ ย เพื่อให้เกิดกาไรมากขึ้น

- เพิ่มองค์ความรูใ้ หม่ๆ เพื่อพัฒนาแนวคิดการดาเนินงานของบุคลากรสหกรณ์ เพื่อให้เกิดการแก้ไขหร ือปรับปรุงการ

ดาเนินงาน หร ือสร้างสรรค์แนวทางการดาเนินธุรกิจใหม่ๆเน้นการให้ความช่วยเหลือสมาชิกเป็นหลักตามแนวทางสหกรณ์

Annual Report 2022 |

20

 โครงการพัฒนาและส่งเสรมสหกรณ์ ิ /กลุ่มเกษตรกรสู่ดีเด่น 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) พัฒนา ส่งเสร ิมและสนับสนุนการดาเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสู่ดีเด่น 2) คัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีผลการดาเนินงานดีเด่นตามหลักเกณฑ์และว ิธีการที่กรมส่งเสร ิม

สหกรณ์กาหนด

2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดาเนินการ สหกรณ์ /กลุ่มเกษตรกร จานวน 5 แห่ ง ได้ แก่ สหกรณ์ ออมทรัพย์โรงพยาบาลชัยภูมิ จากั ด สหกรณ์

ออมทรัพย์สาธารณสุขชัยภูมิ จากัด สหกรณ์การเกษตรโครงการทุ่งลุยลาย จากัด กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ หนองบัวใหญ่ และกลุ่มเกษตรกรผลิตพันธุข์ ้าวธาตุทอง 3. ตัวชีว้ ัดความสาเร็จของการดาเนินโครงการ

1) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รบ ั การส่งเสร ิมและสนับสนุนการดาเนินงาน 2) ควบคุมค่าใช้จา่ ยงบประมาณตามงบรายจ่ายและกิจกรรมหลักและเบิกจ่ายให้เป็นไปตามเป้าหมายที่

กาหนด

4. กระบวนงาน 1) จัดทาแผนปฏิบัติงาน และแต่ งตั้ งคณะทางานส่ งเสร ิมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสู่ดีเด่ น

และคณะกรรมการคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นระดับจังหวัด

2) ก าหนดจ านวนสหกรณ์ / กลุ่ ม เกษตรกร เป้ า หมายเพื่ อ เสนอเข้ า รับ การคั ด เลื อ กเป็ น สหกรณ์ / กลุ่ ม เกษตรกรดี เด่ น โดยเลือกจากสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ ผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานสหกรณ์ ชัน ้ ความ เข้มแข็งในระดับ 1 และมีเสถียรภาพทางการเง ินตั้งแต่ระดับดีขึ้นไป

3) ร่วมประชุมคณะกรรมการสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเพื่อชีแ ้ จง และทาความเข้าใจหลักเกณฑ์การประเมิน 4) ส่งเสร ิม แนะนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเพื่อพัฒนาสู่ดีเด่น

5) จัดประชุมคณะกรรมการคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดี เด่นระดับจังหวัด ส่งเข้าประกวดระดับ ภาค และระดับชาติ ต่อไป 6) ส่ ง เอกสารประกอบผลการคั ด เลื อ กสหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกรดี เ ด่ น ระดั บ จัง หวั ด ให้ ก องพั ฒ นา

สหกรณ์ด้านการเง ินและร้านค้า ตามระยะเวลาที่กาหนด 5. งบประมาณที่ได้ รบ ั ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทงบรายจ่าย

งบประมาณทีได้รบ ั (บาท)

ผลเบิกจ่าย (บาท)

ร้อยละ

งบดาเนินงาน

2,660

2,660

100

รวมทั้งสิน

2,660

2,660

100

6. ผลสาเร็จ (Output) ตัวชีว้ ัด/กิจกรรมที่ดาเนินการ

หน่วยนับ

แผน

ผล

ร้อยละ

1) สหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกรได้ ร บ ั การส่ ง เสร ิมและ

แห่ง

5

5

100

2) เบิกจ่ายงบประมาณให้เป็นไปตามเป้าหมาย

บาท

2,660

2,660

100

สนับสนุน การดาเนินงาน

7. ผลลัพธ์ (Outcome)

สหกรณ์ ที่มีผลงานดี เด่ นระดั บจังหวัด คื อ สหกรณ์ ออมทรัพย์สาธารณสุ ขชัยภูมิ จากั ด ได้ คะแนนตาม

เกณฑ์การตัดสินตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กาหนดไว้ 5 หมวด 8. ผลกระทบ (Impact) - ไม่มี

Annual Report 2022 |

21

9. ปัญหาอุปสรรคของการดาเนินโครงการ

หลักเกณฑ์การคัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ ตามเกณฑ์การตัดสินที่กระทรวงเกษตร

และสหกรณ์กาหนดไว้ 5 หมวด สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรยังไม่สามารถเข้าใจหลักเกณฑ์ และว ิธีการการ ดาเนินการได้อย่างถูกต้อง 10. แนวทางแก้ไข หร ือข้อเสนอแนะ เจ้าหน้าที่ส่งเสร ิมสหกรณ์ และเจ้าหน้าที่ผู้รบ ั ผิดชอบโครงการต้องแนะนา ส่งเสร ิม แนวทางการดาเนินงาน

การพัฒนาและส่งเสร ิมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรสู่ดีเด่น พร้อมติดตามการดาเนินงานอย่างสม่าเสมอ

 โครงการส่งเสรมการด ิ าเนินธุรกิจร้านค้าสหกรณ์ในรูปแบบซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) ส่งเสร ิมและพัฒนาการดาเนินธุรกิจร้านค้าสหกรณ์ในรูปแบบซุปเปอร์มาเก็ตสหกรณ์

2) ส่งเสร ิมความร่วมมือและเชือ ่ มโยงเคร ือข่ายระหว่างสหกรณ์รา้ นค้ากับสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกรผู้ผลิต และเกษตรกร 3) ขยายโอกาสทางการตลาดสินค้าสหกรณ์ ผ่าน ซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดาเนินการ สหกรณ์เข้าร่วมโครงการ 4 สหกรณ์ ได้แก่ 1) สหกรณ์การเกษตรโครงการทุ่งลุยลาย จากัด 2) สหกรณ์การเกษตรคอนสาร จากัด

3) สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส.ชัยภูมิ จากัด 4) สหกรณ์การเกษตรบ้านเขว้า จากัด 3. ตัวชีว้ ัดความสาเร็จของการดาเนินโครงการ 1) สหกรณ์ในโครงการได้รบ ั การแนะนา ส่งเสร ิม ขับเคลื่อนการดาเนินการซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ 4 แห่ง

2) ร้อ ยละ 80 ของสหกรณ์ ใ นโครงการ มี ก ารเชื่อ มโยงเคร ือข่ า ยน าสิ น ค้ า จากสมาชิก สหกรณ์ / กลุ่ ม เกษตรกร เกษตรกรทั่วไป มาจาหน่าย

Annual Report 2022 |

22

4. กระบวนงาน

1) ชีแ ้ จงเพื่อสร้างความเข้าใจในการดาเนินการซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ แก่สหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการ 2) แนะนา ส่งเสร ิม ขับเคลื่อนการดาเนินการซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ 3) ประชุมเชือ ่ มโยงเคร ือข่ายและพัฒนาการดาเนินธุรกิจซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ ประสานงานจัดหาสินค้า

จากสหกรณ์ / กลุ่ ม เกษตรกร สมาชิก เกษตรกรทั่ ว ไป และผู้ ส มั ค รเข้ า ร่ว มโครงการลู ก หลานกลั บ บ้ า น สานต่ออาชีพการเกษตร นามาจาหน่ายในซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์

4) ศึ ก ษาข้ อ มูล ส ารวจความคิ ด เห็ น ผู้ใ ช้บ ร ิการซู เปอร์มาร์เ ก็ ต สหกรณ์ เพื่ อ เป็ นข้ อมูลประกอบการให้

คาแนะนา ส่งเสร ิม พัฒนาการดาเนินการซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ 5) ติดตามผลการดาเนินงาน ปัญหาอุปสรรค และรายงานผลให้กรมส่งเสร ิมสหกรณ์ทราบ 5. งบประมาณที่ได้รบ ั ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทงบรายจ่าย

งบประมาณทีได้รบ ั (บาท)

ผลเบิกจ่าย (บาท)

ร้อยละ

งบดาเนินงาน

5,700

5,700

100

รวมทั้งสิน

5,700

5,700

100

6. ผลสาเร็จ (Output) ตัวชีว้ ัด/กิจกรรมที่ดาเนินการ

หน่วยนับ

แผน

ผล

ร้อยละ

1) ส่งเสร ิมการดาเนินธุรกิจสหกรณ์

ครัง้

4

4

100

2) สหกรณ์ในโครงการมีการเชือ ่ มโยงเคร ือข่ายนาสินค้าจากสมาชิก

แห่ง

4

4

100

สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เกษตรกรทั่วไป มาจาหน่าย

ร้อยละ

80

100

100

7. ผลลัพธ์ (Outcome) 1) หกรณ์ได้ รบ ั การส่งเสร ิมและพัฒนาร้านค้ าสหกรณ์ จานวน 4 แห่ง ได้ แก่ สหกรณ์การเกษตรคอนสาร จ ากั ด สหกรณ์ ก ารเกษตรโครงการทุ่ ง ลุ ย ลาย จ ากั ด สหกรณ์ ก ารเกษตรบ้ า นเขว้ า จ ากั ด และสหกรณ์ การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. ชัยภูมิ จากัด

2) จัดประชุ มวางแผนการพัฒนาดาเนิ นงานซูเปอร์มาร์เก็ ตสหกรณ์ และการเชื่อมโยงเคร ือข่ายโครงการ ส่ ง เสร ิมการด าเนิ น ธุ ร กิ จ ร้า นค้ า สหกรณ์ ใ นรู ป แบบซู เ ปอร์ม าร์เ ก็ ต สหกรณ์ จ านวน 1 ครั้ง รวม 30 คน

มี ผู้ เ ข้ า ร่ว มประชุ ม ประกอบด้ ว ย สหกรณ์ เ ป้ า หมาย สหกรณ์ เ คร ือข่ า ยร้า นค้ า สหกรณ์ เกษตรกรโครงการ นาลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร และเจ้าหน้าที่สานักงานสหกรณ์จงั หวัดชัยภูมิ

3) มู ลค่ าการจ าหน่ ายผลผลิ ต ทางการเกษตรและผลิ ต ภั ณฑ์ ของสหกรณ์ สมาชิก เกษตรกรทั่ วไป และ

เกษตรกรโครงการนาลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร จานวน 7,899,272.- บาท 8. ผลกระทบ (Impact) ด้านสหกรณ์

1) ร้านสหกรณ์ได้รบ ั การพัฒนาเป็นจุดจาหน่ายสินค้าของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีคุณภาพ เกิดการ ขยายโอกาสทางการตลาดสินค้าสหกรณ์ ผ่าน ซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์

2) สหกรณ์มีการเชือ ่ มโยงเคร ือข่ายระหว่างกัน เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างสหกรณ์ในการลดต้นทุนสินค้า 3) สมาชิกสหกรณ์และประชาชนมีความเชือ ่ มั่นในคุณภาพสินค้าสหกรณ์ ด้านสมาชิกและเกษตรกร

1) สมาชิกสหกรณ์และเกษตรกรในพื้นที่ เกษตรกรโครงการนาลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพ การเกษตร มีแหล่งจาหน่ายสินค้า

2) สมาชิก และผู้บร ิโภค ซือ ้ สินค้าที่มีคุณภาพ ในราคายุติธรรม

Annual Report 2022 |

23

9. ปัญหาอุปสรรคของการดาเนินโครงการ

1) สหกรณ์ยังมีสินค้าที่ผลิตโดยสหกรณ์หร ือสมาชิก หร ือกลุ่มเกษตรกรวางจาหน่ายไม่มาก 2) อายุสินค้าที่เป็นประเภทผักและผลไม้มีอายุที่สั้น ทาให้มีการเน่าเสียง่าย สหกรณ์รบ ั ภาระต้นทุนสินค้า

ที่จาหน่ายไม่หมด

3) สภาวะโคว ิด-19 ทาให้มีความเสี่ยงในการรวมคน ผู้บร ิโภคไม่กล้ามาใช้บร ิการ และร้านสหกรณ์เป็นพื้นที่

ห้องแบบปิดทาให้เสี่ยงในการเก็บสะสมและกระจายของเชือ ้ โรค 10. แนวทางแก้ไข หร ือข้อเสนอแนะ 1) ส่งเสร ิมการเชือ ่ มโยงเคร ือข่ายสินค้าระหว่างสหกรณ์ในจังหวัดและจังหวัดอื่น 2) ส่ งเสร ิมการผลิตสมาชิกในการปลูกพืชผัก โดยการส่ งเสร ิมสมาชิกวางแผนการผลิตสิ นค้ าโดยการใช้

หลักการตลาดนาการผลิต

3) สร้างความมั่นใจให้กับลูกค้า ดาเนินการตามมาตรการในการป้องกันเป็นไปตามมาตรฐานสากลกาหนด

Annual Report 2022 |

24

 งานกากับ ดูแล การแก้ไข และป้องกันการเกิดข้อบกพร่องของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) เพื่อเป็นการช่วยเหลือแนะนา กาหนดแนวทางการแก้ไขปัญหาในการดาเนินงานของสหกรณ์และกลุ่ม เกษตรกรที่มีข้อบกพร่องให้สามารถดาเนินกิจการได้ต่อไปตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้ง

2) เพื่อพิจารณาข้อบกพร่อง ข้อร้องเร ียนในการดาเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรและตรวจสอบ

ข้อเท็จจร ิงตามข้อร้องเร ียนเพื่อพิจารณาหาแนวทางในการแก้ไขและติดตามผลการแก้ไขข้อบกพร่องและข้อ ร้องเร ียนเพื่อให้ได้ข้อยุติ

3) เพื่อกาหนดแนวทางในการดาเนินการแก้ไขปัญหาข้อบกพร่องของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้เป็นไป

หร ือสอดคล้องตามข้อกาหนดของกรมส่งเสร ิมสหกรณ์ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดาเนินการ

1) สหกรณ์ในจังหวัดชัยภูมิ ที่มีข้อบกพร่อง ซึง่ แก้ไขยังไม่แล้วเสร็จสมบูรณ์ จานวน 7 แห่ง 2) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดชัยภูมิ ที่ไม่มีข้อบกพร่องหร ือมีข้อบกพร่องแต่ ได้ รบ ั การแก้ไขแล้ว

เสร็จสมบูรณ์ จานวน 137 แห่ง

3. ตัวชีว้ ัดความสาเร็จของการดาเนินโครงการ 1) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่องได้รบ ั การแก้ไข จานวน 7 แห่ง

2) รักษาสถานภาพสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ไม่มีข้อบกพร่องหร ือมี ข้อบกพร่องแต่ได้รบ ั การแก้ไขแล้ว เสร็จสมบูรณ์ จานวน 137 แห่ง 3) ติ ด ตาม ผลั ก ดั น สหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกรที่ มี ข้ อ บกพร่อ ง ทั้ ง 7แห่ ง รายงานการแก้ ไ ขทุ ก เดื อ น

เพื่อให้แก้ไขแล้วเสร็จสมบูรณ์ 4. กระบวนงาน

1) ว ิเคราะห์สถานภาพสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มีข้อบกพร่อง/ข้อสังเกตที่ตรวจพบจากการตรวจสอบบัญชี

เพื่อจัดลาดับความสาคัญในการเข้าแนะนาส่งเสร ิม

2) จัดทาแผนการเข้าแนะนาส่งเสร ิมสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่มีข้อบกพร่อง เป็นรายแห่ง 3) การติดตาม เร่งรัด และรายงานผลการแก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร (มีข้อบกพร่อง

ได้แก้ไขปัญหาตามคาสั่งแล้ว ต้องติดตามการแก้ไขปัญหา และรายงานผลการแก้ไขจนกว่าจะแก้ไขแล้วเสร็จ (เดือนละ 1 ครัง้ /แห่ง)

4) ติดตามและรายงานผลการแก้ไขข้อบกพร่องให้กลุ่มตรวจการสหกรณ์ทราบ ภายในวันที่ 20 ของเดือนถัดไป 5) จัด ประชุ ม คณะท างานระดั บ จัง หวั ดแก้ ไ ขปั ญหาการด าเนิ น งานของสหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกรที่มี

ข้อบกพร่อง (จกบ.) ไตรมาสละ 1 ครัง้ จานวน 4 ครัง้

6) ติ ด ตามรายงานผลการแก้ ไ ข จั ด ท าทะเบี ย นคุ ม รายงานการแก้ ไ ข บั น ทึ ก รายงานผลการแก้ ไ ข

ข้อบกพร่อง ในระบบของกรมส่งเสร ิมสหกรณ์ทุกเดือน 5. งบประมาณที่ได้รบ ั ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทงบรายจ่าย

งบประมาณทีได้รบ ั (บาท)

ผลเบิกจ่าย (บาท)

ร้อยละ

งบดาเนินงาน

19,100

19,100

100

รวมทั้งสิน

19,100

19,100

100

Annual Report 2022 |

25

6. ผลสาเร็จ (Output) ตัวชีว้ ัด/กิจกรรมที่ดาเนินการ

หน่วยนับ

แผน

ผล

ร้อยละ

1) ร้อ ยละ 60 ของผู้ ต รวจการสหกรณ์ มี ค วามรู เ้ พิ่ ม ขึ้ น โดยแบบ

ราย

28

28

100

2) ร้อ ยละ 60 ของพนั ก งานราชการที่ ไ ด้ ร บ ั แต่ ง ตั้ ง ให้ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่

ราย

9

9

100

แห่ง

32

32

100

ประเมินผลความรู ้ ก่อน - หลัง การประชุมเชิงปฏิบัติการ

ผู้ชว่ ยผู้ตรวจการสหกรณ์มีความรูเ้ พิ่มขึ้น โดยแบบประเมินผลความรู ้ ก่อน - หลัง การประชุมเชิงปฏิบัติการ

3) สหกรณ์ ไ ด้ รับ การตรวจติ ดตาม/เฝ้ า ระวั ง และตรวจการที่ มี

ประสิ ท ธิภ าพเพื่ อ ป้ อ งกั น การเกิ ด ข้ อ บกพร่อ ง และป้ อ งกั น การเกิ ด ปัญหาทุจร ิต

7. ผลลัพธ์ (Outcome)

1) ผู้ตรวจการสหกรณ์ มีความรูเพิ่มขึ้นสามารถนาแนวทางการปฏิบัติ เทคนิค และว ิธีการตรวจสอบสหกรณ์

ไปใช้เป็นแนวทางการตรวจสอบสหกรณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

2) ผู้ชว่ ยผู้ตรวจการสหกรณ์ มีความรูค ้ วามเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ชว่ ยเหลืองานด้านเอกสารให้กับ

คณะผู้ตรวจการสหกรณ์

8. ผลกระทบ (Impact) 1) ผู้ต รวจการสหกรณ์ ใช้ความรูท ้ ี่ได้ รบ ั จากการอบรมในการตรวจสอบเพื่อป้องกั นการเกิ ดข้อ สั ง เกต/

ข้อบกพร่องอันเนื่องมาจากการดาเนินงานของสหกรณ์ หร ือหากเกิดข้อสังเกต/ข้อบกพร่องก็สามารถแก้ไข หร ือระงับยับยั้งได้รวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ 2) ผู้ตรวจการสหกรณ์ มีความรูค ้ วามเข้าใจเกี่ยวกับพระราชบัญญัติสหกรณ์ในส่วนที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม

ทราบแนวทางการน าไปปฏิ บั ติ ใ ห้ ส อดคล้ อ งกั บ กฎหมาย ค าสั่ ง ระเบี ย บนายทะเบี ย นสหกรณ์ รวมไปถึ ง กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง 9. ปัญหาอุปสรรคของการดาเนินโครงการ

ความแตกต่างด้านประสบการณ์ในการตรวจสอบของผู้ตรวจการสหกรณ์แต่ละคน ทาให้เป็นอุปสรรคต่อ การสร้างการรับรูแ ้ ละความเข้าใจในเนื้อหาการอบรม 10. แนวทางแก้ไข หร ือข้อเสนอแนะ 1) เสนอนายทะเบียนสหกรณแต่งตั้งผู้มีความรู ้ ความสามารถ และมีประสบการณ์ในการตรวจการสหกรณ์ ที่หลากหลายประเภท เป็นประธานคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ประจาจังหวัด ของแต่ละคณะ เพื่อให้มีโอกาสได้ แลกเปลี่ยนเร ียนรูป ้ ระสบการณ์ในการตรวจการสหกรณ์ให้กับผู้ตรวจการสหกรณ์ท่านอื่นๆ ในคณะเดียวกัน

2) เสนอนายทะเบียนสหกรณ์มอบหมายหน้าที่ให้ คณะผู้ตรวจการสหกรณ์แต่ละคณะ รับผิดชอบตรวจการ สหกรณ์หลากหลายประเภท เพื่อเพิ่มพูนประสบการณ์ให้แก่ผู้ตรวจการสหกรณ์

Annual Report 2022 |

26

ประชุมคณะทางานระดับจังหวัดแก้ไขปัญหาการดาเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ที่มีข้อบกพร่อง (จกบ.) ไตรมาสละ 1 ครัง้ จานวน 4 ครัง้

จัดประชุม ณ ห้องประชุมพิทยาลงกรณ์ สานักงานสหกรณ์จงั หวัดชัยภูมิ และผ่านระบบออนไลน์ Zoom Meeting

 โครงการประชุ ม เชิง ปฏิ บั ติ ก ารซัก ซ้อ มการตรวจการสหกรณ์ แ ละเทคนิ ค การตรวจการ สหกรณ์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ

1) เพื่อเป็นการสร้างความรูค ้ วามเข้าใจ และซักซ้อมแนวทางการตรวจการสหกรณ์ที่อยู่ในความรับผิดชอบ

ของสานักงานสหกรณ์จงั หวัดชัยภูมิ

2) เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ตรวจการสหกรณ์ในจังหวัดชัยภูมิ ให้มีความรูค ้ วามเข้าใจในแนวทางการตรวจ

การสหกรณ์ให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม เพื่อใช้เป็นเครอื่ งมือใน การกากับดูแล ป้องกันการเกิดข้อสังเกตจากการตรวจสอบบัญชีและข้อบกพร่องของสหกรณ์

3) เพื่อให้ผู้ตรวจการสหกรณ์ สามารถนาแนวทางการปฏิบัติ เทคนิค และว ิธีการตรวจสอบสหกรณ์ไปใช้

เป็นแนวทางการตรวจสอบและรายงานผลการตรวจสอบต่อนายทะเบียนสกรณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดาเนินการ

กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมประชุม จานวน 40 คน ประกอบด้ วย ข้าราชการสานักงานสหกรณ์จังหวัดชัยภูมิ ที่

ได้ รบ ั แต่งตั้งให้เป็นผู้ตรวจการสหกรณ์ พนังานราชการสานักงานสหกรณ์จังหวัดชัยภูมิ ที่ได้ รบ ั คาสั่งให้ปฏิบัติ หน้าที่ชว่ ยเหลืองานด้านเอกสารให้กับคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ ว ิทยากร และผู้สังเกตการณ์ 3. ตัวชีว้ ัดความสาเร็จของการดาเนินโครงการ

1) ผู้เข้ารับการอบรมอย่างน้อยร้อยละ 60 มีความรูเ้ พิ่มขึ้น

2) สหกรณ์ได้รบ ั การตรวจติดตาม/เฝ้าระวังและตรวจการที่มีประสิทธิภาพเพื่อป้องกันการเกิดข้อบกพร่อง และป้องกันการเกิดปัญหาทุจร ิต จานวน 32 แห่ง ได้แก่ 2.1) ตรวจการในสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิ ตยูเ นี่ยนและสหกรณ์ประเภทอื่น (ร้อยละ 25

ของสหกรณ์ทั้งหมด) จานวน 20 แห่ง

2.2) ตรวจการตามความจาเป็น ตามความเห็น และการสั่งการของนายทะเบียนสหกรณ์ (ร้อยละ 15 ของสหกรณ์ที่มีสถานะดาเนินการและหยุดดาเนินการ) จานวน 12 แห่ง 4. กระบวนงาน

1) นายทะเบียนสหกรณ์มีคาสั่งแต่ งตั้งข้าราชการ สังกัดสานักงานสหกรณ์จังหวัดชัยภูมิ เป็นผู้ตรวจการ สหกรณ์ และมีคาสั่งแต่งตั้งคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ ประจาจังหวัดชัยภูมิ ชุดที่ 1 – 7

2) สหกรณ์จังหวัดชัยภูมิ มีคาสั่งแต่ งตั้ งพนักงานราชการ ผู้ที่มีความรู ้ ความสามารถด้ านกฎหมาย หร ือ

การเงน ิ การบัญชี ให้ ป ฏิ บัติ หน้ าที่ช่วยเหลืองานด้ านเอกสารให้ กับ คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ ประจาจังหวัด ชัยภูมิ ชุดที่ 1 – 7

Annual Report 2022 |

27

3) สานักงานสหกรณ์จงั หวัดชัยภูมิ ขออนุมัติโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการซักซ้อมการตรวจการสหกรณ์

และเทคนิคการตรวจการสหกรณ์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ต่ อผู้ว่าราชการจังหวัดชัยภูมิ และได้ รบ ั อนุมัติโครงการฯ 4) สานักงานสหกรณ์จงั หวัดชัยภูมิ โดยกลุ่มตรวจการสหกรณ์ ดาเนินการตามโครงการฯ 5. งบประมาณที่ได้รบ ั ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทงบรายจ่าย

งบประมาณทีได้รบ ั (บาท)

ผลเบิกจ่าย (บาท)

ร้อยละ

งบดาเนินงาน

22,000

22,000

100

รวมทั้งสิน

22,000

22,000

100

6. ผลสาเร็จ (Output)

ตัวชีว้ ัด/กิจกรรมที่ดาเนินการ

หน่วยนับ

แผน

ผล

ร้อยละ

1) ร้อ ยละ 60 ของผู้ ต รวจการสหกรณ์ มี ค วามรู เ้ พิ่ ม ขึ้ น โดยแบบ

ราย

28

28

100

2) ร้อ ยละ 60 ของพนั ก งานราชการที่ ไ ด้ ร บ ั แต่ ง ตั้ ง ให้ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่

ราย

9

9

100

แห่ง

32

32

100

ประเมินผลความรู ้ ก่อน – หลัง การประชุมเชิงปฏิบัติการ

ผู้ชว่ ยผู้ตรวจการสหกรณ์มีความรูเ้ พิ่มขึ้น โดยแบบประเมินผลความรู ้ ก่อน – หลัง การประชุมเชิงปฏิบัติการ

3) สหกรณ์ ไ ด้ รับ การตรวจติ ดตาม/เฝ้ า ระวั ง และตรวจการที่ มี ประสิ ท ธิภ าพเพื่ อ ป้ อ งกั น การเกิ ด ข้ อ บกพร่อ ง และป้ อ งกั น การเกิ ด ปัญหาทุจร ิต

7. ผลลัพธ์ (Outcome) 1) ผู้ตรวจการสหกรณ์ มีความรูเพิ่มขึ้นสามารถนาแนวทางการปฏิบัติ เทคนิค และว ิธีการตรวจสอบสหกรณ์

ไปใช้เป็นแนวทางการตรวจสอบสหกรณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

2) ผู้ชว่ ยผู้ตรวจการสหกรณ์ มีความรูค ้ วามเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ชว่ ยเหลืองานด้านเอกสารให้กับ คณะผู้ตรวจการสหกรณ์ 8. ผลกระทบ (Impact) 1) ผู้ต รวจการสหกรณ์ ใช้ความรูท ้ ี่ได้ รบ ั จากการอบรมในการตรวจสอบเพื่อป้องกั นการเกิ ดข้อ สั ง เกต/ ข้อบกพร่องอันเนื่องมาจากการดาเนินงานของสหกรณ์ หร ือหากเกิดข้อสังเกต/ข้อบกพร่องก็สามารถแก้ไข หร ือระงับยับยั้งได้รวดเร็วทันต่อเหตุการณ์

2) ผู้ตรวจการสหกรณ์ มีความรูค ้ วามเข้ าใจเกี่ยวกับพระราชบัญญัติสหกรณ์ในส่วนที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม

ทราบแนวทางการนาไปปฏิบัติให้สอดคล้องกับกฎหมาย คาสั่ง ระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ รวมไปถึงกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง

9. ปัญหาอุปสรรคของการดาเนินโครงการ

ความแตกต่างด้านประสบการณ์ในการตรวจสอบของผู้ตรวจการสหกรณ์แต่ละคน ทาให้เป็นอุปสรรคต่อ

การสร้างการรับรูแ ้ ละความเข้าใจในเนื้อหาการอบรม

Annual Report 2022 |

28

10. แนวทางแก้ไข หร ือข้อเสนอแนะ

1) เสนอนายทะเบียนสหกรณ์แต่งตั้งผู้มีความรู ้ ความสามารถ และมีประสบการณ์ในการตรวจการสหกรณ์

ที่หลากหลายประเภท เป็นประธานคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ประจาจังหวัด ของแต่ละคณะ เพื่อให้มีโอกาสได้ แลกเปลี่ยนเร ียนรูป ้ ระสบการณ์ในการตรวจการสหกรณ์ให้กับผู้ตรวจการสหกรณ์ท่านอื่นๆ ในคณะเดียวกัน

2) เสนอนายทะเบียนสหกรณ์มอบหมายหน้าที่ให้ คณะผู้ตรวจการสหกรณ์แต่ละคณะ รับผิดชอบตรวจการ

สหกรณ์หลากหลายประเภท เพื่อเพิ่มพูนประสบการณ์ให้แก่ผู้ตรวจการสหกรณ์

โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “ซักซ้อมการตรวจการสหกรณ์และเทคนิคการตรวจการสหกรณ์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565” จัดประชุม ณ ห้องประชุมสานักงานส่งเสร ิมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ถนนองค์การบร ิหารสาย 1 ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ ในวันที่ 22 พฤศจิกายน 2564

 การชาระบัญชีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1. การดาเนินการชาระบัญชีสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1) แต่งตั้งผู้ชาระบัญชี

2) จัดประชุมซักซ้อมความเข้าใจในการชาระบัญชี โดยบูรณาการระหว่าง 2 หน่วยงาน ได้ แก่ สานักงาน สหกรณ์จงั หวัดชัยภูมิ และสานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ชย ั ภูมิ กลุ่มเป้าหมายคือ ผู้ชาระบัญชี และผู้สอบบัญชี เพื่ อ ให้ ผู้ ช าระบั ญ ชี มี ค วามรู ้ ความเข้ า ใจในการท างบการเง น ิ ตามมาตรา 80 และ มาตรา 87 แห่ ง

พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม อีกทั้ง เพื่อได้ซก ั ถาม และหาแนวทางแก้ไขอุปสรรค ปัญหาในการชาระบัญชีรว่ มกัน

3) ส านั ก งานสหกรณ์ จัง หวั ด ชัย ภู มิ จัด ประชุ ม ติ ด ตามผลการปฏิ บั ติ ง านช าระบั ญ ชีส หกรณ์ แ ละกลุ่ ม

เกษตรกร ไตรมาสละ 1 ครัง้ รวมจานวน 4 ครัง้ ณ ห้องประชุมพิทยาลงกรณ์ สานักงานสหกรณ์จงั หวัดชัยภูมิ และผ่านระบบออนไลน์ Zoom Meeting

4) ติ ดตามความก้าวหน้าในการชาระบัญชี โดยให้ผู้ ชาระบัญชีรายงานความเคลื่อนไหวการชาระบัญชีต่อ

นายทะเบียนสหกรณ์/นายทะเบียนกลุ่มเกษตรกรประจาจังหวัดชัยภูมิ ทุก 6 เดือน พร้อมปัญหาอุปสรรค 5) ผู้ชาระบัญชีจด ั ทารายงานเมื่อได้ชาระบัญชีแล้วเสร็จ 6) ถอนชือ ่ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ออกจากทะเบียน

Annual Report 2022 |

29

2. รายชือ ่ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่อยู่ระหว่างการชาระบัญชี ณ วันที่ 30 กันยายน 2565

สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 1.สหกรณ์ก่องข้าวชัยภูมิ จากัด

ขั้นตอนการชาระบัญชี

ความก้าวหน้า/ขั้นตอน

ณ 1 ตุลาคม 2564

ณ 30 กันยายน 2565

ขั้นตอนที่ 6

ขั้นตอนที่ 10

ดาเนินการจัดการ

ส่งมอบบรรดาสมุดบัญชี

ขั้นตอนที่ 6

ขั้นตอนที่ 6

ดาเนินการจัดการ

ดาเนินการจัดการ

ทรัพย์สินและหนี้สิน 2.สหกรณ์ผู้เลี้ยงสุกรภักดีบูรพา จากัด

3.สหกรณ์พัฒนาครูคณาจารย์และบุคลากรทางการ ศึกษา จากัด

4.กลุ่มเกษตรกรทาสวนทุ่งลุยลาย

5.กลุ่มเกษตรกรทาไร่บ้านดอน

6.กลุ่มเกษตรกรทานาดงบัง

7.กลุ่มเกษตรกรทานาหนองแวง

8.กลุ่มเกษตรกรทานาวังชมภู

9.สหกรณ์การเกษตรโนนสะอาดคอนสาร จากัด

10.สหกรณ์การเกษตรปฏิรูปที่ดินชุมชนมั่นยืน จากัด

11.สหกรณ์การเกษตรภูนกแซว จากัด

ทรัพย์สินและหนี้สิน (คดี)

ทรัพย์สินและหนี้สิน (คดี)

ขั้นตอนที่ 2

ขั้นตอนที่ 4

จัดทางบดุล ม.80

รับรองงบดุล ม.80

ขั้นตอนที่ 3

ขั้นตอนที่ 10

รับมอบทรัพย์สินและ

ส่งมอบบรรดาสมุดบัญชี

ผู้สอบบัญชี ม.80

และเอกสาร (ถอนชือ ่ )

ขั้นตอนที่ 6

ขั้นตอนที่ 6

ดาเนินการจัดการ

ดาเนินการจัดการ

ทรัพย์สินและหนี้สิน

ทรัพย์สินและหนี้สิน

ขั้นตอนที่ 6

ขั้นตอนที่ 6

ดาเนินการจัดการ

ดาเนินการจัดการ

ทรัพย์สินและหนี้สิน

ทรัพย์สินและหนี้สิน

ขั้นตอนที่ 2

ขั้นตอนที่ 7

รับมอบทรัพย์สินและ

ส่งรายงานย่อให้ผส ู้ อบ

จัดทางบดุล ม.80

บัญชีพิจารณารับรอง ม.87

ขั้นตอนที่ 4

ขั้นตอนที่ 6

ผู้สอบบัญชี

ดาเนินการจัดการ

รับรองงบดุล ม.80

ทรัพย์สินและหนี้สิน

ขั้นตอนที่ 6

ขั้นตอนที่ 6

ดาเนินการจัดการ

ดาเนินการจัดการ

ทรัพย์สินและหนี้สิน

ทรัพย์สินและหนี้สิน

ขั้นตอนที่ 6

ขั้นตอนที่ 6

ดาเนินการจัดการ

ดาเนินการจัดการ

ทรัพย์สินและหนี้สิน

ทรัพย์สินและหนี้สิน (คดี)

ขั้นตอนที่ 6

ขั้นตอนที่ 10

ดาเนินการจัดการ

ส่งมอบบรรดาสมุดบัญชี

ขั้นตอนที่ 6

ขั้นตอนที่ 10

ดาเนินการจัดการ

ส่งมอบบรรดาสมุดบัญชี

ขั้นตอนที่ 6

ขั้นตอนที่ 6

ทรัพย์สินและหนี้สิน 13.สหกรณ์ปศุสัตว์ชย ั ภูมิ จากัด

ผู้สอบบัญชี

ส่งงบดุลให้

ทรัพย์สินและหนี้สิน 12.สหกรณ์การเกษตรสมัชชาเกษตรสมบูรณ์ จากัด

และเอกสาร (ถอนชือ ่ )

ดาเนินการจัดการ

ทรัพย์สินและหนี้สิน (คดี)

และเอกสาร (ถอนชือ ่ )

และเอกสาร (ถอนชือ ่ ) ดาเนินการจัดการ

ทรัพย์สินและหนี้สิน (คดี)

Annual Report 2022 |

สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 14.สหกรณ์พัฒนาชนบทเมืองชัยภูมิ จากัด

15.สหกรณ์ผู้ใช้น้าเพื่อการเกษตรตาบลบ้านหัน จากัด

16.กลุ่มเกษตรกรทานาโนนสะอาด

ขั้นตอนการชาระบัญชี ณ 1 ตุลาคม 2564

ณ 30 กันยายน 2565

ขั้นตอนที่ 6

ขั้นตอนที่ 10

ดาเนินการจัดการ

ส่งมอบบรรดาสมุดบัญชี

ทรัพย์สินและหนี้สิน

และเอกสาร (ถอนชือ ่ )

ขั้นตอนที่ 6

ขั้นตอนที่ 6

ดาเนินการจัดการ

ดาเนินการจัดการ

ทรัพย์สินและหนี้สิน

ทรัพย์สินและหนี้สิน

ขั้นตอนที่ 6

ขั้นตอนที่ 10

ดาเนินการจัดการ

ส่งมอบบรรดาสมุดบัญชี

ขั้นตอนที่ 4

ขั้นตอนที่ 6

ทรัพย์สินและหนี้สิน 17.สหกรณ์การเกษตรสาเภาทอง จากัด

18.สหกรณ์บร ิการและจาหน่ายสินค้าอุปโภค-บร ิโภค ชัยภูมิ จากัด

19.กลุ่มเกษตรกรทานาละหาน

ผู้สอบบัญชี

จากัด

21.สหกรณ์การเกษตรสมัชชาชัยภูมิ จากัด

ขั้นตอนที่ 1

ขั้นตอนที่ 6

ประกาศ/เผยแพร่การเลิก

ดาเนินการจัดการ

และผู้ชาระบัญชี

ทรัพย์สินและหนี้สิน

ขั้นตอนที่ 4

ขั้นตอนที่ 10

ผู้สอบบัญชี

ส่งมอบบรรดาสมุดบัญชี

ขั้นตอนที่ 1

ขั้นตอนที่ 4

และผู้ชาระบัญชี

รับรองงบดุล ม.80

ขั้นตอนที่ 4

ขั้นตอนที่ 10

ผู้สอบบัญชี

ส่งมอบบรรดาสมุดบัญชี

ขั้นตอนที่ 1

ขั้นตอนที่ 1

ประกาศ/เผยแพร่การเลิก

ประกาศ/เผยแพร่การเลิก

ขั้นตอนที่ 1

ขั้นตอนที่ 1

ประกาศ/เผยแพร่การเลิก

และผู้ชาระบัญชี

23.สหกรณ์การเกษตรเนินสง่า จากัด

25.สหกรณ์การเกษตรปฏิรูปที่ดินนางแดด จากัด

26.สหกรณ์การเกษตรปฏิรูปที่ดินภักดีชุมพลหนึ่ง จากัด

และเอกสาร (ถอนชือ ่ ) ผู้สอบบัญชี

และเอกสาร (ถอนชือ ่ )

และผู้ชาระบัญชี

ประกาศ/เผยแพร่การเลิก

ประกาศ/เผยแพร่การเลิก

ขั้นตอนที่ 2

ขั้นตอนที่ 3

จัดทางบดุล ม.80

ผู้สอบบัญชี ม.80

ขั้นตอนที่ 1

ขั้นตอนที่ 2

และผู้ชาระบัญชี

24.สหกรณ์การเกษตรผู้ปลูกพร ิกจัตุรส ั จากัด

ดาเนินการจัดการ

ทรัพย์สินและหนี้สิน

รับรองงบดุล ม.80 22.สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนอาเภอแก้งคร้อ จากัด

และเอกสาร (ถอนชือ ่ )

รับรองงบดุล ม.80

รับรองงบดุล ม.80 20.สหกรณ์ผู้ใช้น้าสถานีสูบน้าด้วยไฟฟ้าบ้านโนนเจดีย์

ความก้าวหน้า/ขั้นตอน

รับมอบทรัพย์สินและ

และผู้ชาระบัญชี ส่งงบดุลให้

ประกาศ/เผยแพร่การเลิก

รับมอบทรัพย์สินและ

และผู้ชาระบัญชี

จัดทางบดุล ม.80

ขั้นตอนที่ 2

ขั้นตอนที่ 2

รับมอบทรัพย์สินและ

รับมอบทรัพย์สินและ

จัดทางบดุล ม.80

จัดทางบดุล ม.80

30

Annual Report 2022 |

สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 27.สหกรณ์การเกษตรปฏิรูปที่ดินบ้านเป้าหนองโพนงาม จากัด

28.สหกรณ์การเกษตรภักดีชุมพล จากัด

ขั้นตอนการชาระบัญชี ณ 1 ตุลาคม 2564

ณ 30 กันยายน 2565

ขั้นตอนที่ 3

ขั้นตอนที่ 6

ส่งงบดุลให้

ดาเนินการจัดการ

ผู้สอบบัญชี ม.80

ทรัพย์สินและหนี้สิน (คดี)

ขั้นตอนที่ 2

ขั้นตอนที่ 2

รับมอบทรัพย์สินและ

รับมอบทรัพย์สินและ

ขั้นตอนที่ 6

ขั้นตอนที่ 10

ดาเนินการจัดการ

ส่งมอบบรรดาสมุดบัญชี

ขั้นตอนที่ 1

ขั้นตอนที่ 1

จัดทางบดุล ม.80

29.กลุ่มเกษตรกรทาสวนพร ิกบ้านดอนหัน

ทรัพย์สินและหนี้สิน 30.กลุ่มเกษตรกรทาสวนกุดน้าใส

32.กลุ่มเกษตรกรทาไร่บ้านชวน

33.กลุ่มเกษตรกรทานานาฝาย

34.กลุ่มเกษตรกรทานากุดน้าใส

จัดทางบดุล ม.80

และเอกสาร (ถอนชือ ่ )

ประกาศ/เผยแพร่การเลิก

ประกาศ/เผยแพร่การเลิก

ขั้นตอนที่ 4

ขั้นตอนที่ 6

ผู้สอบบัญชี

ดาเนินการจัดการ

และผู้ชาระบัญชี

31.กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์หนองบัวบาน

ความก้าวหน้า/ขั้นตอน

และผู้ชาระบัญชี

รับรองงบดุล ม.80

ทรัพย์สินและหนี้สิน (คดี)

ขั้นตอนที่ 3

ขั้นตอนที่ 6

ส่งงบดุลให้

ดาเนินการจัดการ

ผู้สอบบัญชี ม.80

ทรัพย์สินและหนี้สิน (คดี)

ขั้นตอนที่ 2

ขั้นตอนที่ 6

รับมอบทรัพย์สินและ

ดาเนินการจัดการ

จัดทางบดุล ม.80

ทรัพย์สินและหนี้สิน

นทส.สั่งเลิก 21 ธค.64

ขั้นตอนที่ 2 รับมอบทรัพย์สินและ จัดทางบดุล ม.80

35.กลุ่มเกษตรกรทาไร่เกษตรอินทร ีย์บ้านทรายเง ิน

นทส.สั่งเลิก 21 ธค.64

ขั้นตอนที่ 3 ส่งงบดุลให้

ผู้สอบบัญชี ม.80 36.กลุ่มเกษตรกรทาไร่บ้านถนนหว้า

นทส.สั่งเลิก 21 ธค.64

ขั้นตอนที่ 4 ผู้สอบบัญชี

รับรองงบดุล ม.80 37.กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ส้มป่อย

นทส.สั่งเลิก 21 ธค.64

ขั้นตอนที่ 6

ดาเนินการจัดการ ทรัพย์สินและหนี้สิน 6

38.สหกรณ์ออมทรัพย์มหาว ิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ จากัด

ประกาศเลิก 21 ธค.64

ขั้นตอนที่ 3 ส่งงบดุลให้

ผู้สอบบัญชี ม.80 39.กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์บ้านไร่

นทส.สั่งเลิก18 กพ.65

ขั้นตอนที่ 2 รับมอบทรัพย์สินและ จัดทางบดุล ม.80

31

Annual Report 2022 |

สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 40.สหกรณ์ สกย.อุตสาหกรรมการเกษตรชัยภูมิ จากัด

ขั้นตอนการชาระบัญชี

ความก้าวหน้า/ขั้นตอน

ณ 1 ตุลาคม 2564

ณ 30 กันยายน 2565

นทส.สั่งเลิก15 มิย.65

ขั้นตอนที่ 3 ส่งงบดุลให้

ผู้สอบบัญชี ม.80 41.กลุ่มเกษตรกรทาไร่ซบ ั สีทอง

ประกาศเลิก 26 กค.65

ขั้นตอนที่ 1 ประกาศ/เผยแพร่การเลิก และผู้ชาระบัญชี

42.กลุ่มเกษตรกรทานาบ้านแท่น

ประกาศเลิก 7 กย.65

ขั้นตอนที่ 1 ประกาศ/เผยแพร่การเลิก และผู้ชาระบัญชี

43.กลุ่มเกษตรกรทาไร่หนองฉิม

ประกาศเลิก 8 กย.65

ขั้นตอนที่ 1

ประกาศ/เผยแพร่การเลิก และผู้ชาระบัญชี

44.สหกรณ์การเกษตรรักสันติชย ั ภูมิ จากัด

ประกาศเลิก 9 กย.65

ขั้นตอนที่ 1

ประกาศ/เผยแพร่การเลิก และผู้ชาระบัญชี

45.สหกรณ์การเกษตรบ้านส้มป่อย จากัด

ประกาศเลิก 9 กย.65

ขั้นตอนที่ 1 ประกาศ/เผยแพร่การเลิก และผู้ชาระบัญชี

46.สหกรณ์โคนมจังหวัดชัยภูมิ จากัด

ประกาศเลิก 14 กย.65

ขั้นตอนที่ 1

ประกาศ/เผยแพร่การเลิก และผู้ชาระบัญชี

47.กลุ่มเกษตรกรทาไร่หนองสังข์

ประกาศเลิก 26 กย.65

ขั้นตอนที่ 1 ประกาศ/เผยแพร่การเลิก และผู้ชาระบัญชี

48.กลุ่มเกษตรกรทาไร่โคกเพชรพัฒนา

นทส.สั่งเลิก16 กย.65

อยู่ภายในระยะเวลา อุทธรณ์

3. รายชือ ่ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สามารถถอนชือ ่ ได้ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1) กลุ่มเกษตรกรทาสวนพร ิกบ้านดอนหัน

ถอนชือ ่ เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2565

2) กลุ่มเกษตรกรทาสวนทุ่งลุยลาย

ถอนชือ ่ เมื่อวันที่ 27 มกราคม 2565

3) สหกรณ์ก่องข้าวชัยภูมิ จากัด

ถอนชือ ่ เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2565

5) สหกรณ์การเกษตรภูนกแซว จากัด

ถอนชือ ่ เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2565

6) สหกรณ์การเกษตรสมัชชาเกษตรสมบูรณ์ จากัด

ถอนชือ ่ เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2565

8) กลุ่มเกษตรกรทานาโนนสะอาด

ถอนชือ ่ เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2565

9) กลุ่มเกษตรกรทานาละหาน

ถอนชือ ่ เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2565

4) สหกรณ์การเกษตรสมัชชาชัยภูมิ จากัด

7) สหกรณ์พัฒนาชนบทเมืองชัยภูมิ จากัด

ถอนชือ ่ เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2565

ถอนชือ ่ เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2565

32

Annual Report 2022 |

สานักงานสหกรณ์จงั หวัดชัยภูมิ ร่วมกับสานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ชย ั ภูมิ

จัดประชุมชีแ ้ จงและซักซ้อมความเข้าใจในแนวทางการชาระบัญชี ผ่านระบบออนไลน์ Zoom Meeting

เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2565 เพื่อติดตามความก้าวหน้าในการชาระบัญชี และเพื่อให้ผู้ชาระบัญชีได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเร ียนรู ้ ประสบการณ์ ตลอดจนหาแนวทางแก้ไขปัญหา อุปสรรคในการชาระบัญชีรว่ มกัน เพื่อที่จะสามารถดาเนินการชาระบัญชีสหกรณ์ และกลุม ่ เกษตรกรให้เสร็จสิ้นได้อย่างถูกต้องและเป็นไปตามแผนปฏิบัติราชการและงบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2565

ประชุมติดตามผลการปฏิบัติงานชาระบัญชีสหกรณ์และกลุม ่ เกษตรกร ไตรมาสละ 1 ครัง้ รวมจานวน 4 ครัง้ ณ ห้องประชุมพิทยาลงกรณ์ สานักงานสหกรณ์จงั หวัดชัยภูมิ และผ่านระบบออนไลน์ Zoom Meeting

33

Annual Report 2022 |

แผนงานยุทธศาสตร์

34

แผนงานยุทธศาสตร์การเกษตรสร้างมูลค่า

 โครงการพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ (นาลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร) 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) เพื่อสนับสนุนให้ลูกหลานสมาชิกสหกรณ์ หร ือบุคคลทั่วไปกลับมาทาอาชีพเกษตรกรรมในบ้านเกิดของ

ตนเอง และมีความมั่นคงในการประกอบอาชีพการเกษตร

2) เพื่อให้สหกรณ์การเกษตรเป็นศูนย์กลางในสร้างอาชีพทางการเกษตรที่มั่นคง และมีการบร ิหารจัดการ ครบวงจร ตั้งแต่การผลิตจนถึงการจัดหาช่องทางการจาหน่ายรวมทั้งสามารถยกระดับสหกรณ์ให้เป็นที่พึ่งของ สมาชิกอย่างแท้จร ิง

3) เพื่อ ส่ งเสร ิมให้ เกษตรกรมีทักษะการประกอบอาชีพการเกษตร การจัดทาบัญชี ตลอดจนการตลาด สินค้าเกษตร ความรูพ ้ ื้นฐานของผู้ประกอบการ นาไปสู่การพัฒนาสินค้าเพื่อการจาหน่าย และส่งเสร ิมความ ยั่งยืนในการประกอบอาชีพเกษตรกร

4) ส่งเสร ิมการสร้างเคร ือข่ายเกษตรกร ระหว่างผู้สมัครเข้าร่วมโครงการและเชือ ่ มโยงไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ของรัฐ 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดาเนินการ ผู้สมัครเข้าร่วมโครงการนาลูกหลานเกษตรกรกลับบ้านสานต่ออาชีพการเกษตร 22 ราย 3. ตัวชีว้ ัดความสาเร็จของการดาเนินโครงการ

1) เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการได้รบ ั การส่งเสร ิมและสร้างทักษะในการประกอบอาชีพ 22 ราย 2) เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการที่มีรายได้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 3

3) เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการที่มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนไม่น้อยกว่า 12,000 บาทต่อเดือน 4. กระบวนงาน 1) คัดเลือกลูกหลานเกษตรกรที่มีความพร้อมจากผู้เข้าร่วมโครงการในปี 2563 ตามจานวนและหลักเกณฑ์ การคัดเลือกเป้าหมายโครงการนาลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร

2) จัดทาทะเบียนเกษตรกร และจัดทาแผนธุรกิจรายบุคคลตามแบบที่กรมส่งเสร ิมสหกรณ์กาหนด 3) ประสานขอความร่วมมือจากหน่วยงานที่ เกี่ ยวข้องในสาขาที่สอดคล้องกั บความจาเป็นในการดาเนิน

กิจกรรมด้านการเกษตรของลูกหลานเกษตรกรเป้าหมาย ให้ความรู ้ คาแนะนา หร ืออานวยความสะดวกในการ สมัครเข้าอบรมกับหน่วยงานอื่น ๆ ในเนื้อหาว ิชาหร ือหลักสูตรอื่นที่เกี่ยวข้อง 4) แจ้งข้อมูลจานวนเป้าหมายและรายละเอียดของลูกหลานเกษตรกรที่เข้าร่วมประชุม

5) จัดประชุ มหร ือประสานลูกหลานเกษตรกรเป้าหมายเข้าร่วมประชุ มเชิงปฏิ บัติการสร้างทักษะในการ ประกอบอาชีพ 6) แนะนาให้ลูกหลานเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ สมัครเป็นสมาชิกสหกรณ์ และให้มีส่วนร่วมในการใช้

บร ิการจัดหาสินค้ามาจาหน่ าย การออม การรวบรวมผลผลิต หร ือบร ิการด้ านการเกษตรของสหกรณ์ / กลุ่ม เกษตรกร หร ือมีส่วนในการบร ิหารงานสหกรณ์ 7) แนะนา ส่งเสร ิม และสนับสนุนให้ลูกหลานเกษตรกรเป้าหมายนาผลผลิต/สินค้า มาวางจาหน่ายในร้าน

สหกรณ์ และร้านซูเปอร์มาร์เก็ตสหกรณ์ และร่วมกิจกรรมเชือ ่ มโยงกับโครงการอื่นของกรมส่งเสร ิมสหกรณ์

8) ติ ดตามผลการดาเนิ น การโครงการของลูกหลานเกษตรกรเป้าหมายรายงานผลการดาเนิ นงานตาม

ขั้นตอนและเงอื่ นไขของการรายงานผลตามที่กรมฯ กาหนด

Annual Report 2022 |

35

5. งบประมาณที่ได้รบ ั ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทงบรายจ่าย

งบประมาณทีได้รบ ั (บาท)

ผลเบิกจ่าย (บาท)

ร้อยละ

งบดาเนินงาน

8,960

8,960

100

งบดาเนินงาน (อบรม)

46,805

46,805

100

รวมทั้งสิน

55,765

55,765

100

6. ผลสาเร็จ (Output) ตัวชีว้ ัด/กิจกรรมที่ดาเนินการ

หน่วยนับ

แผน

ผล

ร้อยละ

1) เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการได้ รบ ั การส่ งเสร ิมและสร้างทักษะใน

ราย

22

22

100

ร้อยละ

3

4.66

155.33

บาท/เดือน

12,000

13,161

109.68

การประกอบอาชีพ 2) เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการที่มีรายได้เพิ่มขึ้น 3) เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการที่มีรายได้ เฉลี่ย ต่ อเดื อ นไม่น้อ ยกว่ า 12,000 บาทต่อเดือน

7. ผลลัพธ์ (Outcome)

1) เข้าตรวจเยี่ยม และให้คาแนะนาในส่วนที่เกี่ยวข้อง สาหรับผู้เข้าร่วมโครงการ จานวน 22 ราย 2) เกษตรกรในโครงการฯ เข้าร่วมกิจกรรมการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพเพื่อ

สร้างรายได้ จานวน 17 ราย

3) เกษตรกรในโครงการฯ เข้ าร่วมประชุ มโครงการประชุ มวางแผนการพั ฒนาด าเนิ นงานซู เปอร์มาร์เก็ ต

สหกรณ์และการเชือ ่ มโยงเคร ือข่าย จานวน 3 ราย และมีผลิตภัณฑ์ จาหน่ายที่รา้ นสหกรณ์ 2 แห่ง จานวน 2 ราย 4) เกษตรกรในโครงการสมัครเป็นสมาชิกสหกรณ์การเกษตร จานวน 15 ราย

5) สร้างการเชือ ่ มโยงเคร ือข่ายโดยไลน์กลุ่ม “เคร ือข่ายลูกหลานกลับบ้านชัยภูมิ” เพื่อแลกเปลี่ยนความรู ้ ระหว่างกัน รวมทั้งสหกรณ์และหน่วยงานราชการเข้าร่วมในกลุ่ม มีการทากิจกรรมปลูกป่าร่วมกัน 2 ครัง้ 8. ผลกระทบ (Impact) ด้านเกษตรกร

1) เกษตรกรในโครงการได้รบ ั ความรูใ้ นการพัฒนาทักษะอาชีพการเกษตร

2) เกษตรกรในโครงการ เกิดความร่วมมือและมีเคร ือข่ายแลกเปลี่ยนความรูร้ ะหว่างกัน ตลอดจนร่วมกับ สถาบันเกษตรกร และหน่วยงานภาคี สามารถร่วมมือขับเคลื่อนโครงการฯ ได้ต่อเนื่อง 3) เกษตรกรในโครงการ ได้กลับบ้านเกิด อยู่ใกล้ชด ิ ครอบครัว ครอบครัวอบอุ่น 4) เกษตรกรในโครงการ มีอาชีพเกษตรกรรมที่ยั่งยืน รายได้มั่นคง

5) เกษตรกรในโครงการเข้าถึงแหล่งเง ินทุนในการประกอบอาชีพต้นทุนต่า ด้านสหกรณ์

1) สหกรณ์ในโครงการมีทายาทและผู้บร ิหารรุน ่ ใหม่ในการร่วมพัฒนาสหกรณ์ สร้างความมั่นคงให้กับสหกรณ์ 2) สหกรณ์ในโครงการเป็นที่พึ่งให้กับสมาชิกและเกษตรกร 9. ปัญหาอุปสรรคของการดาเนินโครงการ

1) ผู้สมัครบางรายติดภารกิจไม่สามารถเข้าร่วมโครงการจัดอบรมให้ความรูด ้ ้านการเกษตรได้ 2) การสมัครเป็นสมาชิกของสหกรณ์พี่เลี้ยง จะต้องปฏิบัติตามระเบียบและข้อบังคับของสหกรณ์ ผู้สมัคร

ยังไม่พร้อมเข้าเป็นสมาชิกสหกรณ์

Annual Report 2022 |

36

3) การให้เง ินกู้ผ่านสหกรณ์ โดยใช้เง ินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ จะจ่ายเง ินกู้ให้สมาชิกสหกรณ์เท่านั้น ซึง่

การจ่ายเง ินกู้สหกรณ์จะต้องพิจารณาความเสี่ยง หลักประกัน อายุการเป็นสมาชิกและอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึง่ ผู้สมัครเข้าเป็นสมาชิกรายใหม่ อาจยังไม่ได้รบ ั การพิจารณาให้กู้เง ิน 4) การจัดประชุม/อบรมถ่ายทอดความรู ้ สร้างทักษะการตลาดสินค้าเกษตร ไม่สามารถจัดทาตามแผนได้

เกษตรกรเป้าหมาย ไม่สามารถเข้าร่วมได้ เนื่องจากภาวะการแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 10. แนวทางแก้ไข หร ือข้อเสนอแนะ

1) ประสานให้เข้าร่วมกลุ่มไลน์เคร ือข่ายลูกหลานกลับบ้านชัยภูมิเพื่อแลกเปลี่ยนความรูร้ ะหว่างกัน 2) การด าเนิ น กิ จ กรรมต่ า ง ๆ กั บ สหกรณ์ ผู้ ส มั ค รจะต้ อ งยอมรับ และปฏิ บั ติ ใ ห้ เ ป็ น ไปตาม ระเบี ย บ

ข้อบังคับของแต่ละสหกรณ์

3) การดาเนินการจัดประชุม/อบรม แบบออนไลน์ผ่านระบบ ZOOM และการดาเนินการจัดตามมาตรการ

ป้องกั นการแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 ที่กาหนด และดาเนิ นส่ งเอกสารความรูเ้ กี่ ยวกั บ การประชุ ม/ อบรมทางสื่อออนไลน์

Annual Report 2022 |

37

 โครงการพัฒนาศักยภาพการดาเนินธุรกิจของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และธุรกิจชุมชน กิ จกรรมที่ 1 : พัฒนาศั กยภาพสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรให้ เข้าสู่ ระบบการผลิตเกษตรแปรรูป เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม

1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) เพื่อพัฒนาสหกรณ์ให้มีความเข้มแข็งในด้านการดาเนินธุรกิจ และพัฒนาองค์ความรูใ้ นการดาเนินธุรกิจ รวบรวมและแปรรูปให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาวการณ์ในปัจจุบัน

2) เพื่ อ ผลั ก ดั น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ไ ด้ ร บ ั การพั ฒ นา/การแปรรู ป สร้า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ เ ข้ า สู่ ต ลาดสร้า งรายได้ ใ ห้

สหกรณ์

3) ส่งเสร ิมและสนับสนุนให้สหกรณ์นาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการแปรรูปสินค้าเกษตร มาใช้ในการแปร

รูปผลผลิต สร้างความหลากหลายของสินค้ า รวมทั้งการพัฒนาผลิตภัณฑ์บรรจุภัณฑ์ ให้สอดคล้องกับความ ต้องการของตลาด

2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดาเนินการ สหกรณ์ที่ได้รบ ั การสนับสนุนอุปกรณ์การตลาดจากกรมส่งเสร ิมสหกรณ์ 3 แห่ง ได้แก่ สหกรณ์การเกษตร คอนสาร จากัด สหกรณ์การเกษตรเมืองชัยภูมิ จากัด และสหกรณ์โคนมเทพสถิต จากัด 3. ตัวชีว้ ัดความสาเร็จของการดาเนินโครงการ

1) สหกรณ์ได้รบ ั การส่งเสร ิมทาการเกษตรแปรรูป 2 สหกรณ์ 2) อัตราการขยายตัวของมูลค่าสินค้าเกษตรแปรรูปขยายตัว ร้อยละ 3

4. กระบวนงาน

1) สารวจความต้องการคัดเลือกสหกรณ์เข้าร่วมโครงการ 2) สหกรณ์ เข้ารับ การฝึกอบรมเกี่ ยวกั บ นวัต กรรม เทคโนโลยีการแปรรูป สิ นค้ าเกษตรเพื่อสร้างมูลค่า

การ พั ฒ น าศั กย ภาพการ ด าเนิ น ธุ ร กิ จ ร ว บ ร ว ม แ ล ะ แ ป ร รู ป การ บ ร ห ิ าร ต้ น ทุ น สิ น ค้ าเ พื่ อ แ ป ร รู ป มาตรฐานสินค้าแปรรูป และ การจัดทาแผนการตลาดและสื่อประชาสัมพันธ์

3) กากับ ติดตาม แนะนา ส่งเสร ิมการดาเนินงาน การใช้ประโยชน์อุปกรณ์การตลาดของสหกรณ์ 4) รวบรวมข้อมูล รายงานผลการดาเนินโครงการ

5. งบประมาณที่ได้รบ ั ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทงบรายจ่าย

งบประมาณทีได้รบ ั (บาท)

ผลเบิกจ่าย (บาท)

ร้อยละ

งบดาเนินงาน

2,600,000

2,598,560

99.94

รวมทั้งสิน

2,600,000

2,598,560

99.94

6. ผลสาเร็จ (Output)

ตัวชีว้ ัด/กิจกรรมที่ดาเนินการ

หน่วยนับ

แผน

ผล

ร้อยละ

1) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รบ ั การส่งเสร ิมทาการเกษตรแปรรูป

สหกรณ์

2

2

100

2) อัตราการขยายตัวของมูลค่าสินค้าเกษตรแปรรูปขยายตัว

ร้อยละ

3

3

100

7. ผลลัพธ์ (Outcome) 1) สหกรณ์ได้รบ ั การพัฒนาศักยภาพการดาเนินธุรกิจรวบรวมและแปรรูป 3 แห่ง

2) มูลค่าการรวบรวมผลผลิต สหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการ ปร ิมาณ 12,783.04 ตัน จานวน 240,607,220.20 บาท

Annual Report 2022 |

8. ผลกระทบ (Impact)

38

1) สหกรณ์มีความรูก ้ ารจัดการวัตถุดิบให้เป็นไปตามมาตรฐาน การบร ิหารจัดการการผลิต การรวบรวมและ

การแปรรูป การว ิเคราะห์ต้นทุน การลดต้นทุน และการพัฒนาสินค้า 2) สหกรณ์มีแนวทางในการพัฒนาศักยภาพ การดาเนินธุรกิจรวบรวมและแปรรูป 9. ปัญหาอุปสรรคของการดาเนินโครงการ อุปกรณ์การตลาดของสหกรณ์ที่ได้รบ ั การสนับสนุนบางส่วนชารุด ใช้งานไม่เต็มกาลังการผลิต 10. แนวทางแก้ไข หร ือข้อเสนอแนะ - ไม่มี

Annual Report 2022 |

39

กิจกรรมที่ 2 : บร ิหารจัดการนมทั้งระบบ (การบร ิหารจัดการน้านมดิบของสหกรณ์โคนมเทพสถิต จากัด) 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบร ิหารจัดการน้านมดิบของสหกรณ์โคนม 2) เพื่อการพัฒนาคุณภาพและลดต้นทุนการผลิต

2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดาเนินการ สหกรณ์โคนมเทพสถิต จากัด

3. ตัวชีว้ ัดความสาเร็จของการดาเนินโครงการ

1) สมาชิกสหกรณ์สามารถลดต้นทุนการผลิต จากการได้รบ ั สนับสนุนแหล่งเง ินทุนดอกเบี้ยต่าเพื่อพัฒนา

ฟาร์มโคนมให้ได้มาตรฐาน GAP 2) สมาชิกสหกรณ์มีรายได้เพิ่มขึ้นจากการจาหน่ายน้านมดิบ ทาให้ครอบครัวมีความเป็นอยู่ดีขึ้น 3) สหกรณ์มีผลผลิตปร ิมาณน้านมเพียงพอ และมีคุณภาพตรงตามความต้องการของผู้ซอ ื้ 4. กระบวนงาน 1) สหกรณ์ ส่งเสร ิมและสนับสนุนเงน ิ ทุน องค์ ความรู ้ และจัดหาปัจจัยการผลิตที่มีคุณภาพมาบร ิการแก่

สมาชิก ส่งเสร ิมให้สมาชิกทุกรายพัฒนาฟาร์มให้ได้มาตรฐาน GAP สมาชิกที่ฟาร์มได้มาตรฐาน GAP จะได้รบ ั ราคาเพิ่ม 0.50 - 1.00 บาท/กิโลกรัม ศูนย์รวบรวมน้านมดิ บของสหกรณ์ได้ รบ ั มาตรฐาน GMP มีการตรวจ ประเมินคุณภาพน้านมดิบรายฟาร์มของเกษตรกรสมาชิก ทุกฟาร์ม ทุกรอบก่อนรับเข้าสู่กระบวนการรวบรวม

มี ก ารดู แ ล และตรวจสอบสภาพของอุ ป กรณ์ เคร อื่ งจัก รในศู น ย์ ร วบรวมน้ า นมดิ บ ให้ มี ค วามพร้อ มอย่ าง สม่าเสมอเน้นความสะอาด

2) สหกรณ์ ขอสนั บ สนุน เงน ิ กู้ก องทุน พั ฒนาสหกรณ์ เพื่อยกระดั บ ด้ านการบร ิหารจัด การองค์ ก ร การ

บร ิหารจัดการธุรกิจ จานวน 9.66 ล้านบาท ในวัตถุประสงค์ ดังนี้ - สนับสนุนเง ินทุนในการพัฒนาฟาร์มเกษตรกรสมาชิกให้ได้มาตรฐาน GAP จานวน 5.00 ล้านบาท มี

สมาชิกเข้าร่วมโครงการ 18 ราย ผ่านมาตรฐาน GAP แล้ว จานวน 4 ฟาร์ม

- จัดซือ ้ บ่อน้าเย็นขนาด 30 ตัน พร้อมอุปกรณ์ จานวน 2.54 ล้านบาท - เป็นทุนให้สมาชิกกู้จด ั หาแหล่งน้าหร ือปรับปรุงระบบกักเก็บน้าพร้อมอุปกรณ์ จานวน 0.65 ล้านบาท - ทุนให้สมาชิกกู้ประกอบอาชีพ จานวน 1.47 ล้านบาท 5. งบประมาณที่ได้รบ ั ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 - ไม่มี 6. ผลสาเร็จ (Output) ตัวชีว้ ัด/กิจกรรมที่ดาเนินการ

หน่วยนับ

แผน

ผล

ร้อยละ

1) ฟาร์มสมาชิกผ่านมาตรฐาน GAP

ฟาร์ม

18

4

22.22

2) ฟาร์ม สมาชิก ที่ ไ ด้ ม าตรฐานแล้ ว ราคาน้ า นมดิ บ เพิ่ ม ขึ้ น จากเดิ ม

บาท

0.50

0.50

100

0.50 บาท/กิโลกรัม

7. ผลลัพธ์ (Outcome)

ฟาร์มสมาชิกที่ ได้ มาตรฐาน (GAP) แล้ วจ านวน 4 ราย เป็ นฟาร์มสมาชิกที่ กู้ เง น ิ กองทุ นพั ฒนาสหกรณ์

ปร ิมาณน้ า นมดิ บ ที่ ส หกรณ์ รวบรวมได้ มี จ านวน 34.15 ตั น ต่ อ วั น ราคาเฉลี่ ย 18.00 บาท คิ ด เป็ น มู ลค่ า 641,700 บาท หลั งจากมี การพัฒนาฟาร์มให้ ได้ ม าตรฐานแล้ ว สมาชิกได้ ราคาเพิ่ มขึ้ นจากเดิ ม กิ โลกรัมละ 0.50-1.00 บาท หร ือคิดเป็นมูลค่าที่เพิ่มขึ้นกว่า 30,000 บาทต่อวัน

Annual Report 2022 |

40

8. ผลกระทบ (Impact)

สหกรณ์มีระบบบร ิหารจัดการธุรกิจด้านการรวบรวม สมารถจัดหาปัจจัยการผลิตที่มีคุณภาพมาบร ิการแก่

สมาชิก ส่งเสร ิมให้สมาชิกทุกรายพัฒนาฟาร์มให้ได้มาตรฐาน GAP สมาชิกสหกรณ์สามารถลดต้นทุนการผลิต ทาให้มีรายได้เพิ่มขึ้น

ตารางที่ 1 สหกรณ์โคนมเทพสถิต จากัด คู่ค้า;บร ิษัทเอฟแอนด์เอ็นแดรสี่ ์ประเทศไทย จากัด ปีบัญชี

ผลการรวบน้านมดิบจากสมาชิก ปร ิมาณ (ตัน)

สมาชิก (ราย)

มูลค่า (บาท)

ผลการจาหน่ายน้านมดิบ ปร ิมาณ (ตัน)

มูลค่า (บาท)

2563

12,102.51

155

211,793,930.00

12,102.51

228,780,140.00

2564

11,885.98

172

208,044,680.28

11,856.90

225,387,700.00

2565

9,941.99

172

176,444,688.60

9,950.45

19,0361,495.00

ที่มา: สหกรณ์โคนมเทพสถิต จากัด ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 9. ปัญหาอุปสรรคของการดาเนินโครงการ - ไม่มี 10. แนวทางแก้ไข หร ือข้อเสนอแนะ - ไม่มี

Annual Report 2022 |

41

 โครงการเกษตรผสมผสานในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ปี พ.ศ. 2565 (โครงการพัฒนา ศักยภาพสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้เข้าสู่ระบบการผลิตเกษตรแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม) 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) เพื่อใช้รูปแบบการเกษตรแบบผสมผสานเป็นทางเลือกอีกทางหนึ่งของเกษตรกรในการดารงชีพตาม แนวคิ ด ปรัช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ในการเพิ่ ม ประสิ ท ธิภ าพการผลิ ต ทางการเกษตร ส่ ง ผลให้ ส มาชิก สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีผลผลิตและรายได้ที่เพิ่มขึ้น

2) เพื่ อ สนั บ สนุน ให้ ส มาชิก สหกรณ์ และกลุ่ ม เกษตรกรได้ นาแนวทางการท าเกษตรผสมผสานลักษณะ

เกษตรปลอดภัยมาปรับใช้ในการดาเนินกิจกรรมทางการเกษตรในพื้นที่ของตนเองตามความเหมาะสม โดย การถ่ายทอดความรูก ้ ารทาเกษตรผสมผสานลักษณะเกษตรปลอดภัยให้แก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดาเนินการ

สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ได้ รบ ั อนุมัติเง ินกู้จากกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร โครงการสนับสนุน

เงน ิ ทุนเพื่อสร้างระบบน้าในไร่นาของสมาชิกสถาบันเกษตรกร ปี 2560 ระยะที่ 1 และสมาชิกที่มีสระน้า/บ่ อ บาดาลของตนเองที่มีความประสงค์เข้าร่วมโครงการ 5 แห่ง จานวน 71 ราย 3. ตัวชีว้ ัดความสาเร็จของการดาเนินโครงการ 1) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่งเสร ิมให้สมาชิกทาการเกษตรปลอดภัย 5 แห่ง 2) พื้นที่ที่ได้รบ ั การส่งเสร ิมผสมผสาน 355 ไร่

3) สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รบ ั การส่งเสร ิมทาการเกษตรปลอดภัย 71 ราย 4) อัตราการขยายตัวของมูลค่าของสินค้าเกษตรปลอดภัยขยายตัว ร้อยละ 3 5) สมาชิกที่ผ่านการอบรมได้มีการปรับเปลี่ยนไปทาการเกษตรปลอดภัย 71 ราย

6) สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้นเฉลี่ย ร้อยละ 3 4. กระบวนงาน

1) จัดทาฐานข้อ มูลของสมาชิกสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการสนั บสนุนเง ินทุนเพื่อ สร้าง

ระบบน้า ในไร่น าของสมาชิก สถาบัน เกษตรกรจากกองทุนสงเคราะห์ เกษตรกร และสมาชิกที่ มีสระน้า/บ่อ บาดาลของตนเองที่มีความประสงค์เข้าร่วมโครงการ

2) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรจัดทาแผนงานการจัดหาปัจจัยการผลิต แผนการรวบรวม เพื่อรับซือ ้ ผลผลิต

จากสมาชิก แผนการเชื่อ มโยงเคร ือข่ า ยทางการตลาดกั บ บุ ค คลภายนอก รวมทั้ ง ลดการใช้ส ารเคมี เพื่ อ ส่งเสร ิมการทาเกษตรปลอดภัย และสารวจความต้องการการผลิตของสมาชิกตามแผนการผลิตของแต่ละราย

3) จัดอบรมการดาเนินการเกษตรผสมผสานจากต้นแบบแก่สมาชิก พร้อมทั้งให้สมาชิกสหกรณ์ และกลุ่ม

เกษตรกรจัดทาแผนการผลิต รวมทั้งลดการใช้สารเคมี ให้เป็นการทาเกษตรปลอดภัย การปลูกพืช และการ เลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสมกับพื้นที่

4) ประสานงาน แนะนา และส่งเสร ิม สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเป้าหมายในการส่งเสร ิมสมาชิกส่ งเสร ิมการ

ทาเกษตรผสมผสานในลักษณะเกษตรปลอดภัย ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อย่างต่ อเนื่อง และรายงานผลให้กรมส่งเสร ิมสหกรณ์ทราบ

5. งบประมาณที่ได้รบ ั ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทงบรายจ่าย

งบประมาณทีได้รบ ั (บาท)

ผลเบิกจ่าย (บาท)

ร้อยละ

งบดาเนินงาน

7,500

7,500

100

งบดาเนินงาน (อบรม)

113,00

113,000

100

รวมทั้งสิน

120,500

120,500

100

Annual Report 2022 |

42

6. ผลสาเร็จ (Output) ตัวชีว้ ัด/กิจกรรมที่ดาเนินการ

หน่วยนับ

แผน

ผล

ร้อยละ

แห่ง

5

5

100

ไร่

355

751

100

ราย

71

71

100

ร้อยละ

3

3

100

5) สมาชิกที่ผ่านการอบรมได้มีการปรับเปลี่ยนไปทาการเกษตรปลอดภัย

ราย

71

71

100

6) สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้นเฉลี่ย

ร้อยละ

3

3

100

1) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรส่งเสร ิมให้สมาชิก ทาการเกษตรปลอดภัย 2) พื้นที่ที่ได้รบ ั การส่งเสร ิมผสมผสาน 3) สมาชิกสหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกรได้ ร บ ั การส่ งเสร ิมท าการเกษตร ปลอดภัย

4) อัตราการขยายตัวของมูลค่าของสินค้าเกษตรปลอดภัยขยายตัว

7. ผลลัพธ์ (Outcome) ดาเนินการจัดโครงการอบรมเกษตรผสมผสานในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ปี พ.ศ. 2565 โดย จานวน 2 รุน ่ ดังนี้ รุน ่ ที่ 1 ระหว่างวันที่ 10 -12 พฤษภาคม 2565 ณ ห้องประชุม สหกรณ์การเกษตรเกษตรสมบูรณ์ จากัด

จ านวน 50 ราย ประกอบด้ ว ย สหกรณ์ ก ารเกษตรเกษตรสมบู ร ณ์ จ ากั ด จ านวน 36 ร าย และ สหกรณ์ การเกษตรบ้านแก้ง จากัด จานวน 12 ราย รุน ่ ที่ 2 ระหว่างวันที่ 8 - 10 มิถุนายน 2565 ณ ห้องประชุมพิทยาลงกรณ์ สานักงานสหกรณ์จงั หวัดชัยภูมิ

จานวน 25 ราย ประกอบด้ วย สหกรณ์ การเกษตรแก้ งคร้อพัฒนา จากั ด จานวน 7 ราย สหกรณ์ การเกษตร บ้านเขว้า จากัด จานวน 6 ราย และ กลุ่มเกษตรกรทานาห้วยบง จานวน 10 ราย 8. ผลกระทบ (Impact)

1) เกษตรกรในโครงการสามารถใช้รูปแบบเกษตรผสมผสานลักษณะเกษตรปลอดภัย ในการผลิตการเกษตร

ที่มีความเหมาะสมกับพื้นที่ และเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต เพิ่มรายได้ รวมทั้งลดการใช้สารเคมีในพื้นที่

2) เกษตรกรในโครงการที่ทาการผลิตแบบเกษตรผสมผสานลักษณะเกษตรปลอดภัย สามารถประกอบ

อาชีพในถิ่นฐานได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน ตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 9. ปัญหาอุปสรรคของการดาเนินโครงการ

การอบรมในห้องบรรยายอย่างเดียวยังทาให้เกษตรกรผู้เข้าอบรมไม่เห็นภาพความชัดเจนในการทาเกษตร

ผสมผสานแบบปลอดภัย 10. แนวทางแก้ไข หร ือข้อเสนอแนะ

การน าเกษตรกรผู้ เข้ าอบรมศึ ก ษาดู งานจากแหล่ง ปฏิ บัติจ ร ิงที่ ส ามารถเป็นต้ น แบบได้ ท าให้ เ กษตรกร

มองภาพการทาเกษตรผสมผสานได้ชด ั เจน

Annual Report 2022 |

43

 โครงการพั ฒ นาคุ ณ ภาพการผลิ ต สิ น ค้ า เกษตรของสมาชิก สหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกร สู่มาตรฐาน (GAP) 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ

เพื่อส่งเสร ิมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยของสมาชิกสหกรณ์

2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดาเนินการ

สมาชิกสหกรณ์การเกษตรคอนสาร จากัด

3. ตัวชีว้ ัดความสาเร็จของการดาเนินโครงการ สมาชิกสหกรณ์ได้รบ ั การส่งเสร ิมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยของสมาชิก 1 แห่ง 4. กระบวนงาน 1) สารวจข้อมูลผลิตภัณฑ์สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรและกลุ่มอาชีพ เป้าหมายโครงการฯ 2) แนะนา ส่งเสร ิม ผลักดันสมาชิก จัดทาข้อมูลเพื่อยื่นตรวจประเมินแปลงเพื่อขอรับรอง GAP

3) ประสานงานศูนย์ว ิจัยและพัฒนาการเกษตรชัยภูมิ เพื่อเข้าตรวจประเมินแปลงสมาชิก พร้อมเข้าร่วม การตรวจประเมินร่วมด้วย

4) จัดทาสรุปผลข้อมูล และรายงานผลการดาเนินการให้สหกรณ์จงั หวัดทราบ

5. งบประมาณที่ได้รบ ั ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 - ไม่มี 6. ผลสาเร็จ (Output) ตัวชีว้ ัด/กิจกรรมที่ดาเนินการ

หน่วยนับ

แผน

ผล

ร้อยละ

สมาชิกสหกรณ์ได้รบ ั การส่งเสร ิมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยของสมาชิก

สหกรณ์

1

1

100

7. ผลลัพธ์ (Outcome) สมาชิกสหกรณ์ได้รบ ั การรับรอง GAP พืช จานวน 24 ราย 25 แปลง 10 ชนิดพืช 8. ผลกระทบ (Impact) 1) สมาชิกมีรายได้เพิ่มขึ้นจากสินค้าเกษตรปลอดภัยที่มีมูลค่าเพิ่มขึ้น 2) สมาชิกสหกรณ์และผู้บร ิโภคได้บร ิโภคพืชผักที่ปลอดภัย 9. ปัญหาอุปสรรคของการดาเนินโครงการ

ผลผลิตของเกษตรที่สมัครขอรับรองไม่ออกผลผลิตตามช่วงเวลาในการเข้าตรวจประเมินเนื่องจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพอากาศและภัยพิบัติทางธรรมชาติ 2) บุคลากรเข้าตรวจประเมินของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องไม่เพียงพอ ทำให้ใช้เวลารอนานในการนัดหมาย เข้าตรวจประเมิน 1)

10. แนวทางแก้ไข หร ือข้อเสนอแนะ

ร่วมหาร ือแนวทางกับเกษตรกรสมาชิกและสหกรณ์ ในการวางแผนการเพาะปลูกให้สอดคล้องกับฤดูกาล

สภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลง และแนวทางป้องกันเมื่อเกิดปัญหาอุทกภัย

Annual Report 2022 |

44

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ประเด็นแผนแม่บท 15 พลังทางสังคม แผนงานยุทธศาสตร์

แผนงานยุทธศาสตร์เสรมสร้ ิ างพลังทางสังคม

 โครงการส่งเสรมการสหกรณ์ ิ ตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาร ิ 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) เพื่อ ด าเนิ น การช่ว ยเหลือ เกษตรกรในถิ่ น ทุรกั น ดารในพื้น ที่โครงการอั น เนื่ อ งมาจากพระราชด าร ิ ให้

สามารถช่ว ยเหลื อ ตนเองและช่ว ยเหลื อ ซึ่ง กั น และกั น ตามว ธิ ีก ารสหกรณ์ ใ นการยกระดั บ มาตรฐานความ เป็นอยู่ให้ดีขึ้น

2) เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนในด้านต่างๆ โดยเฉพาะค่าครองชีพ 3) มุ่งเน้นการอนุรก ั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน รวมทั้งในการด้านการป้องกันและ

ลดความเสียหายจากภัยธรรมชาติ

2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดาเนินการ สหกรณ์ ในพื้ น ที่ โครงการอั น เนื่ อ งมาจากพระราชด าร ิ จ านวน 1 แห่ ง คื อ สหกรณ์ การเกษตรโครงการ ทุ่งลุยลาย จากัด 3. ตัวชีว้ ัดความสาเร็จของการดาเนินโครงการ 1) สหกรณ์มีความเข้มแข็งในระดับ 1 2) สหกรณ์ในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาร ิผ่านมาตรฐานสหกรณ์

3) สหกรณ์ในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาร ิมีปร ิมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น ร้อยละ 3

4) การดาเนินธุรกิจและการให้บร ิการแก่สมาชิกสหกรณ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของสมาชิกทั้งหมด 4. กระบวนงาน 1) ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2) ประสานสหกรณ์ในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาร ิ เพื่อดาเนินการ (1) เข้าร่วมประชุมกับสหกรณ์เป้าหมายเป็นประจาทุกเดือน

(2) ส่งเสร ิม แนะนา และกากับการดาเนินกิจการของสหกรณ์เป้าหมายให้เป็นไปตามข้อบังคับ ระเบียบ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการแก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์

(3) ส่ ง เสร ิม แนะน า การด าเนิ น กิ จ การของสหกรณ์ ตามเป้ า หมายตั ว ชี้วั ด การส่ ง เสร ิมและพั ฒ นา

สหกรณ์ให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ รักษาระดับชัน ้ สหกรณ์ให้อยู่ในระดับชัน ้ 1 (4) ส่งเสร ิม แนะนา ติดตาม และแก้ไขปัญหาดาเนินธุรกิจและดาเนินกิจการของสหกรณ์ให้เป็นไปตาม

หลักธรรมาภิบาล ระเบียบ ข้อบังคับ พระราชบัญญัติสหกรณ์และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง

(5) ประชุ ม เชิง ปฏิ บั ติ ก ารเพื่ อ ขั บ เคลื่ อ นสหกรณ์ เ พิ่ ม ศั ก ยภาพตามแผนพั ฒ นาและยกระดั บ โดย

ประยุกต์ใช้แนวพระราชดาร ิฯ (บันได 7 ขั้น)

(6) ส่งเสร ิม แนะนาให้สหกรณ์ในพื้นที่โครงการฯ สามารถปิดบัญชีและประชุมใหญ่ได้ตามกาหนด 3) จัดทาฐานข้อ มูลสหกรณ์ ให้ เป็น ปัจจุ บัน ประกอบด้ วย ข้อมูลพื้นฐานทั่วไป ข้อมูลการประกอบอาชีพ

ข้อมูลอื่นที่จาเป็น ตามแบบที่กองประสานงานโครงการพระราชดาร ิกาหนด

4) จัดทาฐานข้อมูลเพื่อ รองรับการปฏิ บัติการและการสรุปรายงานผลการดาเนินงานโครงการตามแบบ รายงานที่กองประสานงานโครงการพระราชดาร ิกาหนด

Annual Report 2022 |

45

5. งบประมาณที่ได้รบ ั ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทงบรายจ่าย

งบประมาณทีได้รบ ั (บาท)

ผลเบิกจ่าย (บาท)

ร้อยละ

งบดาเนินงาน

8,800

8,800

100

รวมทั้งสิน

8,800

8,800

100

6. ผลสาเร็จ (Output)

ตัวชีว้ ัด/กิจกรรมที่ดาเนินการ

หน่วยนับ

แผน

ผล

ร้อยละ

1) สหกรณ์มีความเข้มแข็งอยู่ในระดับ 1

แห่ง

1

1

100

2) สหกรณ์ในพื้นที่โครงการฯ ผ่านมาตรฐานสหกรณ์

แห่ง

1

1

100

ล้านบาท

164.90

201.30

122.09

4) การดาเนินธุรกิจและให้บร ิการสมาชิก

ร้อยละ

60

71.82

119.70

5) ควบคุมการใช้จา่ ยงบประมาณ เบิกจ่ายตามเป้าหมาย

ร้อยละ

100

100

100

3) สหกรณ์ในพื้นที่โครงการฯ ปร ิมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น (ร้อยละ 3)

7. ผลลัพธ์ (Outcome) สหกรณ์ในพื้นที่โครงการส่งเสร ิมการดาเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชดาร ิ ได้ รบ ั การส่งเสร ิมและพัฒนา ความเข้ มแข็ งตามศั กยภาพ ทั้ งในส่ ว นของการผ่ านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ มี ความเข้ มแข็ งอยู่ในระดั บ 1

รวมถึ งมีปร ิมาณธุรกิ จที่อั ตราการขยายตั วเพิ่มสู งขึ้น จากการด าเนิ นงานดั งกล่าวท าให้ สหกรณ์ ในโครงการ

ส่งเสร ิมการดานเนงานอันเนื่องมาจากพระราชดาร ิ มีความเข้มแข็ง สมาชิกมีส่วนร่วมดาเนินงานมากกว่าร้อยละ 70 ขึ้นไป มีกิจกรรมการส่งเสร ิมธรรมาภิบาล ทาให้สหกรณ์มีความเข้มแข็งและเจร ิญก้าวหน้าเป็นอย่างดี 8. ผลกระทบ (Impact) - ไม่มี 9. ปัญหาอุปสรรคของการดาเนินโครงการ - ไม่มี 10. แนวทางแก้ไข หร ือข้อเสนอแนะ - ไม่มี

การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อขับเคลื่อนสหกรณ์เพิ่มศักยภาพตามแผนพัฒนาและยกระดับโดยประยุกต์ใช้แนวพระราชดาร ิ (บันได 7 ขั้น) วันที่ 23 มีนาคม 2565 ณ ห้องประชุมเทศบาลตาบลทุ่งลุยลาย อาเภอคอนสาร จังหวัดชัยภูมิ

Annual Report 2022 |

46

 โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) ประชาสัมพันธ์งานสหกรณ์ให้เป็นที่รูจ้ ก ั 2) จัด กิ จ กรรม “คลิ นิ ก สหกรณ์ ” เพื่ อ ให้ ค วามรู เ้ ร อื่ งหลั ก การ อุ ด มการณ์ แ ละว ธิ ีก ารสหกรณ์ และให้

คาปร ึกษาเรอื่ งปัญหาสหกรณ์และกฎหมายสหกรณ์

3) จัดกิจกรรม “สหกรณ์สอนอาชีพ การผลิตยาหม่องสมุนไพร” ให้ความรูเ้ รอื่ งอาชีพ เพื่อให้ประชาชนมี อาชีพเสร ิม เพิ่มรายได้ให้ครอบครัว 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดาเนินการ 1) จัดกิจกรรมคลินิกสหกรณ์ภายใต้โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ จานวน 4 ครัง้ (ไตรมาสละ 1 ครัง้ )

2) สมาชิกสหกรณ์และประชาชนทั่วไป เข้าร่วมกิจกรรมคลินิกสหกรณ์ภายใต้โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชการ 3. ตัวชีว้ ัดความสาเร็จของการดาเนินโครงการ

1) กิจกรรมคลินิกสหกรณ์ภายใต้โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ จานวน 4 ครัง้ - ครัง้ ที่ 1 เดือนธันวาคม 2564 องค์การบร ิหารส่วนตาบลซับใหญ่ อาเภอซับใหญ่ - ครัง้ ที่ 2 เดือนกุมภาพันธ์ 2565 องค์การบร ิหารส่วนตาบลหนองฉิม อาเภอเนินสง่า

- ครัง้ ที่ 3 เดือนพฤษภาคม 2565 โรงเร ียนบ้านเขว้าว ิทยายน ตาบลบ้านเขว้า อาเภอบ้านเขว้า - ครัง้ ที่ 4 เดือนกรกฎาคม 2565 โรงเร ียนวังใหม่พัฒนา ตาบลบ้านไร่ อาเภอเทพสถิต 2) สมาชิก สหกรณ์ แ ละประชาชนทั่ ว ไป เข้ า ร่ว มกิ จ กรรมคลิ นิ ก สหกรณ์ ภ ายใต้ โ ครงการคลิ นิ ก เกษตร

เคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชการ จานวน 129 คน 4. กระบวนงาน

1) เข้าร่วมประชุมกับสานักงานเกษตรจังหวัดชัยภูมิและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมกิจกรรม คลินิกสหกรณ์ ภายใต้โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ฯ 2) ประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรม คลินิกสหกรณ์ และสหกรณ์สอนอาชีพ

3) จัดกิจกรรมคลินิกสหกรณ์ ภายใต้โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ฯ จานวน 4 ครัง้ 4) รายงานผลการดาเนินงานในระบข้อมูลโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ฯ ของกรม ส่งเสร ิมการเกษตร เว็บไซต์ https://clinickaset.doae.go.th ภายใน 30 วัน หลังจัดกิจกรรม

5) รายงานผลการดาเนินงานให้กองประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาร ิ ภายใน 30 วัน หลัง

จัดกิจกรรม 5. งบประมาณที่ได้รบ ั ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทงบรายจ่าย

งบประมาณทีไ่ ด้รบ ั (บาท)

ผลเบิกจ่าย (บาท)

ร้อยละ

งบดาเนินงาน

9,100

9,100

100

รวมทั้งสิน

9,100

9,100

100

6. ผลสาเร็จ (Output) ตัวชีว้ ัด/กิจกรรมที่ดาเนินการ สมาชิกสหกรณ์และประชาชนทั่วไป เข้าร่วมกิจกรรมคลินิกสหกรณ์

หน่วยนับ

แผน

ผล

ร้อยละ

แห่ง

32

32

100

Annual Report 2022 |

47

7. ผลลัพธ์ (Outcome)

1) ประชาชนพื้นที่เป้าหมายได้รบ ั ความรูด ้ ้านการสหกรณ์และนาไปประยุกต์ใช้ในชีว ิตประจาวันและพัฒนาให้

มีความเป็นอยู่ที่ดี 2) ประชาชนพื้นที่เป้าหมายได้รบ ั ความรูก ้ ารส่งเสร ิมอาชีพการผลิตยาหม่องสมุนไพร สามารถนาไปประกอบ

อาชีพเสร ิมและเพิ่มรายได้ให้ครอบครัว 8. ผลกระทบ (Impact) - ไม่มี

9. ปัญหาอุปสรรคของการดาเนินโครงการ - ไม่มี 10. แนวทางแก้ไข หร ือข้อเสนอแนะ - ไม่มี

สรุปผลการจัดกิจกรรมคลินิกสหกรณ์และรูปกิจกรรมโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระบรมราชานุเคราะห์ ฯ ครัง้ ที่ 1 วันที่ 22 ธันวาคม 2564

ณ องค์การบร ิหารส่วนตาบลซับใหญ่ อาเภอซับใหญ่ จังหวัดชัยภูมิ

ประชาชนเข้ามาใช้บร ิการคลินิกสหกรณ์ จานวน 75 ราย

ครัง้ ที่ 2 12 พฤษภาคม 2565 โรงเร ียนเนินสง่าพิทยา

ตาบลหนองฉิม อาเภอเนินสง่า จังหวัดชัยภูมิ ประชาชนเข้ามาใช้บร ิการคลินิกสหกรณ์ จานวน 106 ราย

ครัง้ ที่ 3 วันที่ 16 มิถุนายน 2565 โรงเร ียนยางนาดีราษฎร์ดารง

ตาบลชีบน อาเภอบ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ ประชาชนเข้ามาใช้บร ิการคลินิกสหกรณ์ จานวน 71 ราย

ครัง้ ที่ 4 25 กรกฎาคม 2565 โรงเร ียนนายางกลัดพิทยาคม

ตาบลนายางกลัก อาเภอเทพสถิต จังหวัดชัยภูมิ ประชาชนเข้ามาใช้บร ิการคลินิกสหกรณ์ จานวน 53 ราย

Annual Report 2022 |

48

 โครงการขับเคลื่อนการประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) เพื่อเผยแพร่ สนับสนุน ส่งเสร ิม กระตุ้นและสร้างแรงจูงใจให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้นาแนวคิด ตามหลั ก ปรัช ญาของเศรษฐกิ จพอเพี ยงไปประยุ ก ต์ ใ ช้ใ นการดาเนิ นงาน ส่ ง เสร ิมและสนั บ สนุนให้ ส มาชิก สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีการดาเนินชีว ิตตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

2) เพื่ อ คั ด เลื อ กสหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกรสามารถน้ อ มน าแนวคิ ด ปรัช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งไป ประยุกต์ใช้ในการดาเนินงาน ได้อย่างโดดเด่น และสามารถเป็นแบบอย่างให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรอื่นได้ 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดาเนินการ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จานวน 5 แห่ง ได้แก่ - สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลชัยภูมิ จากัด - สหกรณ์การเกษตรคอนสาร จากัด - สหกรณ์การเกษตรบ้านเขว้า จากัด

- กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์หนองบัวใหญ่ - กลุ่มเกษตรกรกรปลูกหม่อนเลี้ยงไหมดงบัง 3. ตัวชีว้ ัดความสาเร็จของการดาเนินโครงการ

1) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รบ ั การส่งเสร ิมและสนับสนุนการดาเนินงาน 2) สหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกรน้ อ มน าแนวคิ ด ปรัช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งไปประยุ ก ต์ ใ ช้ใ นการ

ดาเนินงานได้อย่างโดดเด่น และสามารถเป็นแบบอย่างได้ พร้อมขับเคลื่อนลงสู่สมาชิก

3) ควบคุมค่าใช้จา่ ยงบประมาณตามงบรายจ่ายและกิจกรรมหลักและเบิกจ่ายให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กาหนด

4. กระบวนงาน 1) จัดทาแผนปฏิ บัติ งาน เพื่อ กาหนดงานผู้รบ ั ผิดชอบ ระยะเวลาดาเนิ นงานให้ ชัดเจน เพื่อใช้เป็น แนว

ทางการปฏิบัติงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ เป้าหมายและตัวชีว้ ัด

2) แนะน าส่ ง เสร ิม สนั บ สนุ น สหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกรให้ น าแนวทางปรัช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งไป

ประยุกต์ใช้ทั้งในระดับองค์กรและระดับสมาชิก ให้ดาเนินกิจกรรมตามแผนการดาเนินกิจกรรมการประยุกต์ใช้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3) แนะน า ส่ ง เสร ิม และติ ด ตามสมาชิก ที่ เ ข้ า ร่ว มโครงการขยายผลการน าหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ

พอเพี ย งมาใช้ใ นสหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกร (สมาชิก สหกรณ์ ก ารเกษตรคอนสาร จ ากั ด /กลุ่ ม เกษตรกร ปลูกหม่อนเลี้ยงไหมดงบัง แห่ง ๆ ละ 10 ราย รวมจานวนสมาชิก 20 ราย) 4) คัดเลือกสหกรณ์ทุกประเภทและกลุ่มเกษตรกรที่มีกิจกรรมรูปแบบการดาเนินงานและผลงานเด่นใน

การนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในประยุกต์ใช้ในการดาเนินงานสหกรณ์และส่งเสร ิม สนับสนุนให้ สมาชิกได้ดาเนินชีว ิตตามแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวทางและหลักเกณฑ์ของโครงการฯ ที่กาหนด

5) จัดทาเอกสารประกอบการพิ จารณาการคั ด เลือ กสหกรณ์ และกลุ่ม เกษตรกรต้ นแบบที่น้อมน าหลั ก

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินงาน และรายงานผลการคัดเลือกพร้อมผลการให้ คะแนนตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดส่งให้คณะกรรมการระดับเขต ตามระยะเวลาที่กาหนด 6) ติดตามประเมินผลและรายงานผลการปฏิบัติงานในที่ประชุมประจาเดือน

Annual Report 2022 |

49

5. งบประมาณที่ได้รบ ั ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทงบรายจ่าย

งบประมาณทีได้รบ ั (บาท)

ผลเบิกจ่าย (บาท)

ร้อยละ

งบดาเนินงาน

1,900

1,900

100

รวมทั้งสิน

1,900

1,900

100

6. ผลสาเร็จ (Output) ตัวชีว้ ัด/กิจกรรมที่ดาเนินการ

หน่วยนับ

แผน

ผล

ร้อยละ

1) สหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกรได้ รับ การส่ ง เสร ม ิ และสนั บ สนุ น

แห่ง

5

5

100

บาท

1,900

1,900

100

การดาเนินงาน 2) เบิกจ่ายงบประมาณให้เป็นไปตามเป้าหมาย

7. ผลลัพธ์ (Outcome) 1) สหกรณ์ จานวน 5 แห่ง น้อมนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ ใช้ในการ ดาเนินงาน และส่งเสร ิม สนับสนุนให้สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีการดาเนินชีว ิตตามแนวคิดปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง สมาชิกมีความกินดี อยู่ดี

2) สหกรณ์ที่นาแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ ใช้ในการดาเนินงาน ผลงานดี เด่นระดับ

จังหวัด คือ สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลชัยภูมิ จากัด คะแนนรวม 940.67 8. ผลกระทบ (Impact) - ไม่มี 9. ปัญหาอุปสรรคของการดาเนินโครงการ - ไม่มี 10. แนวทางแก้ไข หร ือข้อเสนอแนะ - ไม่มี

แนะนา ส่งเสร ิมสหกรณ์ สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลชัยภูมิ จากัด น้อมนาแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินงาน ทั้งในระดับองค์กรและระดั บสมาชิก

Annual Report 2022 |

แผนงานยุทธศาสตร์

50

แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม

 โครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร (การแก้ไขปัญหาหนี้สินเกษตรกร) 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) เพื่อลดภาระดอกเบี้ยและลดต้นทุนในการประกอบอาชีพการเกษตรแก่สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2) เพื่ อ ให้ ส มาชิก สหกรณ์ / กลุ่ ม เกษตรกร ที่ ป ระกอบอาชีพ การเกษตรมี โ อกาสน าเง น ิ ส่ ว นที่ ไ ด้ ร บ ั การ

ช่วยเหลือไปฟื้ นฟูประกอบอาชีพ ตลอดจนมีเง ินทุนไว้ใช้จา่ ยในครัวเร ือน 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดาเนินการ

สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่มีหนี้เง ินกู้ในวัตถุประสงค์เพื่อการเกษตร ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2561 ต้น

เง ินกู้คงเหลือทุกสัญญารวมกันไม่เกิน 300,000 บาท ระยะเวลาการชดเชยดอกเบี้ยตั้ งแต่ 1 สิ งหาคม 2561 ถึ งวันที่ 31 กรกฎาคม 2562 และเดื อนตุ ลาคม

2564 ถึง เดือนกันยายน 2565

3. ตัวชีว้ ัดความสาเร็จของการดาเนินโครงการ 1) สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มีหนี้เง ินกู้ในวัตถุประสงค์เพื่อการเกษตรได้รบ ั การลดดอกเบี้ย และลด

ต้นทุนในการประกอบอาชีพเกษตรกรแก่สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จานวน 18 แห่ง 6,094 ราย 2) ต้นทุนการผลิตของสมาชิกลดลง ร้อยละ 3

3) ควบคุมการใช้จา่ ยงบประมาณตามงบรายจ่ายและกิจกรรมหลักและเบิกจ่ายให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กาหนด 4. กระบวนงาน 1) ตรวจสอบคุณสมบัติของสมาชิกสหกรณ์ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของโครงการก่อนเบิกจ่ายเง ินอุดหนุน 2) แจ้งสหกรณ์ ทาเรอื่ งขอเบิกพร้อมทั้งส่งเอกสารประกอบการขอเบิกทั้งหมดให้ครบถ้วน

3) ตรวจสอบเอกสารประกอบขอเบิก ขออนุมัติเบิกจ่ายเง ินอุดหนุนเพื่อชดเชยดอกเบี้ยให้แก่สหกรณ์ที่ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของโครงการฯ

4) ติดตาม แนะนา การเบิกจ่ายเง ินชดเชยดอกเบี้ยของสหกรณ์ให้กับสมาชิกสหกรณ์

5. งบประมาณที่ได้รบ ั ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทงบรายจ่าย

งบประมาณทีไ่ ด้รบ ั (บาท)

ผลเบิกจ่าย (บาท)

ร้อยละ

งบเง ินอุดหนุน

2,631,568.14

2,631,568.14

100

รวมทั้งสิน

2,631,568.14

2,631,568.14

100

6. ผลสาเร็จ (Output) สหกรณ์

จานวน

สมาชิก (ราย)

ต้ นเง ินกู้คงเหลือ

จานวนดอกเบี้ย

(ไม่เกิน 300,000 บาท)

(บาท)

ที่ขอเบิก

ที่ได้รบ ั จัดสรร

ผลการ

เบิกจ่ายจร ิง (บาท)

1. สหกรณ์การเกษตรหนองบัวระเหว จากัด

25

2,817,894.00

12,338.69

12,338.69

2. สหกรณ์การเกษตรแก้งคร้อ จากัด

981

84,245,136.00

439,554.18

439,554.18

3. สหกรณ์การเกษตรโครงการทุ่งลุยลาย จากัด

13,000.00

37.74

37.74

95,539,490.06

413,650.41

413,650.41

76

2,161,000.00

7,859.11

7,859.11

6. สหกรณ์การเกษตรจัตุรส ั จากัด

784

122,180,967.56

471,159.26

471,159.26

7. สหกรณ์การเกษตรบ้านค่ายหมื่นแผ้ว จากัด

216

18,132,396.00

90,058.30

90,058.30

8. สหกรณ์การเกษตรลาประทาว จากัด

113

13,072,000.00

45,574.04

45,574.04

9. สหกรณ์การเกษตรบ้านเขว้า จากัด

597

81,677,117.27

218,034.89

218,034.89

10. สหกรณ์การเกษตรบ้านแก้ง จากัด

91

4,740,000.00

19,182.25

19,182.25

4. สหกรณ์การเกษตรภูเขียว จากัด 5. สหกรณ์เพื่อการเกษตรบ้านโนนโพธิ์ จากัด

1 949

ร้อย ละ

Annual Report 2022 |

สหกรณ์

จานวน

สมาชิก (ราย)

ต้ นเง ินกู้คงเหลือ

จานวนดอกเบี้ย

(ไม่เกิน 300,000 บาท)

(บาท)

ที่ขอเบิก

ที่ได้รบ ั จัดสรร

ผลการ

เบิกจ่ายจร ิง (บาท)

11. สหกรณ์การเกษตรตลาดแร้ง จากัด

12

686,674.00

2,586.41

2,586.41

12. สหกรณ์การเกษตรเมืองชัยภูมิ จากัด

2

165,000.00

648.02

648.02 23,006.36

13. สหกรณ์การเกษตรแก้งคร้อพัฒนา จากัด

111

2,895,900.00

23,006.36

14. สหกรณ์การเกษตรบ้านแท่น จากัด

130

15,780,700.00

59,782.21

59,782.21

15. สหกรณ์การเกษตรบาเหน็จณรงค์ จากัด

390

49,674,154.00

186,644.57

186,644.57

16. สหกรณ์การเกษตรเกษตรสมบูรณ์ จากัด

441

38,873,679.00

174,781.93

174,781.93

17. สหกรณ์การเกษตรหนองบัวแดง จากัด

643

45,729,763.00

209,048.09

209,048.09

18. สหกรณ์การเช่าซือ ้ ที่ดินบ้านแท่น จากัด

532

53,768,292.00

257,621.68

257,621.68

6,094

632,153,162.89

2,631,568.14

2,631,568.14

รวม

51

ร้อย ละ

100

7. ผลลัพธ์ (Outcome) 1) สมาชิกได้รบ ั ความช่วยเหลือลดภาระดอกเบี้ยและลดต้นทุนในการประกอบอาชีพการเกษตร 2) สมาชิกสหกรณ์ ที่ประกอบอาชีพการเกษตรมีโอกาสนาเง ินส่ วนที่ได้ รบ ั การช่วยเหลือไปฟื้ นฟูประกอบ

อาชีพ ตลอดจนมีเง ินทุนไว้ใช้จา่ ยในครัวเร ือน 8. ผลกระทบ (Impact) - ไม่มี 9. ปัญหาอุปสรรคของการดาเนินโครงการ

1) เอกสารประกอบการเบิกจ่ายเง ินชดเชยดอกเบี้ยของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรไม่ครบถ้วน และข้อมูลไม่ ถูกต้อง ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์เงอื่ นไขโครงการ

2) คุ ณ สมบั ติ ส มาชิก ที่ เ ข้ า ร่ว มโครงการไม่ ถู ก ต้ อ งเนื่ อ งจากเลขประจ า ตั ว ประชาชนไม่ ถู ก ต้ อ งตรงกั บ

ข้อเท็จจร ิง ทาให้การตรวจสอบความซ้าซ้อนกับ ธ.ก.ส. ไม่ถูกต้อง 3) การคานวณดอกเบี้ยชดเชย มีความคลาดเคลื่อนจากข้อเท็จจร ิง

4) รายละเอียดข้ อ มูลประกอบการขอเบิก ชดเชยดอกเบี้ยไม่ค รบถ้ วนและไม่ต รงกั บ เอกสาร/หลักฐาน ส่งผลให้ดอกเบี้ยที่ขอเบิกชดเชยคลาดเคลื่อน 5) การลดดอกเบี้ยให้กับสมาชิก สหกรณ์ไม่ได้จด ั ทาหลักฐานการลดดอกเบี้ยให้กับสมาชิก 10. แนวทางแก้ไข หร ือข้อเสนอแนะ - ไม่มี

Annual Report 2022 |

52

ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ประเด็นแผนแม่บท 16 เศรษฐกิจฐานราก แผนงานบูรณาการ

แผนงานบูรณาการพัฒนาและส่งเสรมเศรษฐกิ ิ จฐานราก

 โครงการส่งเสรมและพั ิ ฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินทากินของเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) เพื่อ ส่ งเสร ิมพัฒนาอาชีพและการตลาดในรูป แบบเศรษฐกิ จ ชุ มชน ตามแนวทางเศรษฐกิ จพอเพี ย ง

ภายใต้ การใช้ระบบอนุรก ั ษ์ดินและน้าอย่างยั่งยืน แก่เกษตรกร จานวน 43 ราย ตามโครงการจัดที่ดิน ตาม นโยบายรัฐบาล ในพื้นที่บ้านห้วยน้าคา หมู่ที่ 3 ตาบลภูแลนคา อาเภอบ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ

2)เพื่ อ พั ฒ นาคุ ณ ภาพชีว ต ิ เกษตรกรตามโครงการจัดที่ ดินตามนโยบายรัฐบาล บ้ า นห้ ว ยน้า ค า หมู่ ที่ 3

ตาบลภูแลนคา อาเภอบ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ ให้มีความกินดี อยู่ดี มีสันติสุข และสร้างความเข้มแข็งในชุมชน 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดาเนินการ

เกษตรกรตามโครงการจัดที่ดิ นตามนโยบายรัฐบาล พื้ นที่ บ้ านห้ วยน้าค า หมู่ ที่ 3 ต าบลภู แลนคา อ าเภอ

บ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ จานวน 43 ราย 3. ตัวชีว้ ัดความสาเร็จของการดาเนินโครงการ

1) เกษตรกร ที่ผ่านการอบรมส่งเสร ิมและพัฒนาความรูต ้ ลาดนาการผลิต มีรายได้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 3

2) ควบคุมค่าใช้จา่ ยงบประมาณตามงบรายจ่ายและกิจกรรมหลักและเบิกจ่ายให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กาหนด 4. กระบวนงาน 1) จัดทาแผนปฏิบัติงาน โครงการส่งเสร ิมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินทากินของเกษตรกร 2) ประสาน แนะนา ส่งเสร ิม เกษตรกรเป้าหมายในการส่งเสร ิมและพัฒนาอาชีพ เพื่อแก้ไขปัญหาที่ดินทากิน

ของเกษตรกร รวมทั้งปฏิบัติตามแนวทางการปฏิบัติงานโครงการส่งเสร ิมและพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาที่ดิน ทากินของเกษตรกร ที่กองพัฒนาระบบสนับสนุนการสหกรณ์ และหนังสือข้อสั่งการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกาหนด 3) ประสานงานหน่วยงานภายใต้คณะอนุกรรมการส่งเสร ิมและพัฒนาอาชีพจังหวัด

4) จัด ประชุ ม คณะท างานส่ ง เสร ิมพั ฒ นาอาชีพ และการตลาดจัง หวั ด ชัย ภู มิ ภายใต้ ค ณะอนุ ก รรมการ นโยบายที่ดินจังหวัดชัยภูมิ (คทช.จ.ชย.) จานวน 4 ครัง้ (ไตรมาสละ 1 ครัง้ ) 5) จัดทาฐานข้อมูลเกษตรกรที่อยู่ในพื้นที่ คทช.

6) ติ ด ตามผลการด าเนิ น งานคณะท างานส่ ง เสร ิมพั ฒ นาอาชี พ และการตลาดจั ง ห วั ด ชั ย ภู มิ ภายใต้ คณะอนุกรรมการนโยบายที่ดินจังหวัดชัยภูมิ (คทช.จ.ชย.) และการเบิกจ่ายงบประมาณให้ตรงตามวัตถุประสงค์ 7) รายงานผลการดาเนินงานและการใช้จา่ ยงบประมาณ ตามแบบรายงานที่กาหนด 5. งบประมาณที่ได้รบ ั ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

หห

ประเภทงบรายจ่าย

งบประมาณทีไ่ ด้รบ ั (บาท)

ผลเบิกจ่าย (บาท)

ร้อยละ

งบดาเนินงาน

6,800

6,800

100

รวมทั้งสิน

6,800

6,800

100

Annual Report 2022 |

53

6. ผลสาเร็จ (Output) ตัวชีว้ ัด/กิจกรรมที่ดาเนินการ

หน่วยนับ

แผน

ผล

ร้อยละ

1) จัดทาฐานข้อมูลเกษตรกรและเกษตรกรในพื้นที่ คทช. ที่รบ ั ผิดชอบ

พื้นที่

1

1

100

2) เกษตรกร ที่ผ่านการอบรมส่งเสร ิมและพัฒนาความรูต ้ ลาดนาการ

ร้อยละ

3

3

100

ร้อยละ

100

100

100

ผลิต มีรายได้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 3 3) การเบิกจ่ายงบประมาณเป็นไปตามเป้าหมาย ร้อยละ 100

7. ผลลัพธ์ (Outcome) 1) เกษตรกร ที่ผ่านการอบรมส่งเสร ิมและพัฒนาความรูต ้ ลาดนาการผลิต มีรายได้เพิ่มขึ้น เฉลี่ยร้อยละ 3

2) ดาเนินการประชุมคณะที่ 3 คณะทางานส่งเสร ิมพัฒนาอาชีพและการตลาดจังหวัดชัยภูมิ ภายใต้โครงการ

จั ด ที่ ดิ น ตามนโยบายรัฐ บาล เพื่ อ ร่ว มวางแผนและติ ด ตามการด าเนิ น งานการส่ ง เสร ิมพั ฒ นาอาชีพ และ การตลาด ไตรมาสละ 1 ครัง้ รวมจานวน 4 ครัง้ 8. ผลกระทบ (Impact) - ไม่มี 9. ปัญหาอุปสรรคของการดาเนินโครงการ 1) พื้นที่ที่ได้รบ ั การจัดที่ดินตามโครงการฯ ของประชาชนชาวบ้านห้วยน้าคา จะเป็นพื้นที่สาหรับที่อยู่อาศัย

(ปลูกบ้าน) จึงไม่มีพื้นที่สาหรับทาการเกษตรกรรม

2) สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นหินเนื่องจากอยู่ติดเชิงเขาในเขตป่าสงวนแห่งชาติป่าภูแลนคา จึงไม่เหมาะกับ การทาการเกษตรกรรม อีกทั้งขาดแคลนแหล่งน้าในการทาการเกษตรและอุปโภค บร ิโภค

3) ประชาชนในวัยแรงงานส่วนใหญ่ ออกไปทางานรับจ้างนอกพื้นที่ ที่ได้รบ ั การจัดสรร ทาให้ไม่เกิด การใช้

ประโยชน์ในที่ดิน และประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ส่วนใหญ่จงึ เป็นประชาชนในวัยสูงอายุและเด็ก และไม่สามารถใช้ ประโยชน์ในที่ดินที่จด ั สรร

10. แนวทางแก้ไข หร ือข้อเสนอแนะ - ไม่มี

การประชุมคณะทางานส่งเสร ิมพัฒนาอาชีพและการตลาดจังหวัดชัยภูมิ ภายใต้คณะอนุกรรมการนโยบายที่ดินจังหวัดชัยภูมิ (คทช.จ.ชย.) จานวน 4 ครัง้ (ไตรมาสละ 1 ครัง้ )

คณะทางานส่งเสร ิมพัฒนาอาชีพและการตลาดจังหวัดชัยภูมิ ภายใต้คณะอนุกรรมการนโยบายที่ดินจังหวัดชัยภูมิ (คทช.จ.ชย.) แนะนา ส่งเสร ิมพัฒนาอาชีพแก่เกษตรกร

Annual Report 2022 |

54

 โครงการส่งเสรมการพั ิ ฒนาระบบตลาดภายในสาหรับสินค้าเกษตร 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิภ าพการบร ิหารจัด การตลาดสิ น ค้ า เกษตร เชื่อ มโยงเคร ือข่ า ยสิ น ค้ า คลั ส เตอร์ข อง

สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร

2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดาเนินการ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเป้าหมายในโครงการ 7 แห่ง ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรคอนสาร จากัด สหกรณ์ การเกษตรเกษตรสมบู รณ์ จากั ด สหกรณ์ การเกษตรบ้านเขว้า จากั ด สหกรณ์ การเกษตรเมืองชัยภูมิ จากั ด

สหกรณ์การเกษตรลาประทาว จากัด สหกรณ์การเกษตรบาเหน็จณรงค์ จากัด และกลุ่มเกษตรกรปลูกหม่อน เลี้ยงไหมดงบัง 3. ตัวชีว้ ัดความสาเร็จของการดาเนินโครงการ

1) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รบ ั การส่งเสร ิมและพัฒนาการบร ิหารจัดการด้านการตลาดการเชือ ่ มโยง

เคร ือข่าย/คลัสเตอร์ 3 แห่ง

2) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้ (ปร ิมาณธุรกิจ) เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า ร้อยละ 3

4. กระบวนงาน 1) คัดเลือกสถาบันเกษตรกรที่มีความพร้อมในด้านการผลิต และการตลาดสินค้าเกษตรรวมถึงคัดเลือก

สินค้าหลักของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเป้าหมายที่มีศักยภาพในการบร ิหาร จัดการสินค้าเกษตร/ธุรกิจด้านการ ผลิต และการตลาด 2) ประสานงาน แนะนา ส่งเสร ิมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบร ิหารจัดการตลาด

สินค้าเกษตรและเชือ ่ มโยงเคร ือข่าย

3) ทบทวนและส่ ง เสร ิมสนั บ สนุ น การขั บ เคลื่ อ นการด าเนิ น การตามแผน OPP ของสหกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกรที่ได้จด ั ทาแผน OPP ในปีงบประมาณ 2564

4) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการวางระบบการบร ิหารจัดการผลผลิตการเกษตรระดับจังหวัด ครัง้ ที่ 1 เพื่อจัดทา

ข้อมูลสินค้า/ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพพร้อมจาหน่าย พร้อมคัดเลือกผู้แทนแต่ละกลุ่มคลัสเตอร์สินค้า (แม่ข่าย

คลัสเตอร์สินค้า) เพื่อทาหน้าที่นาเสนอข้อมูลสินค้าในการจัดประชุ มเชิงปฏิบัติการเชือ ่ มโยงเคร ือข่ายด้านการ ผลิตและการตลาดสินค้าเกษตรคุณภาพ และเป็นผู้แทนในการช่วยจาหน่ายสินค้า 5) จัดประชุ มเชิงปฏิ บัติ การวางระบบการบร ิหารจัดการผลผลิต การเกษตรระดั บ จังหวัด ครัง้ ที่ 2 เพื่อ

เชือ ่ มโยงเคร ือข่าย ให้ผู้ค้าพบปะกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มีความพร้อมในการผลิตสินค้า/ผลิตภัณฑ์ตาม ความต้องการของผู้ค้า 7) รวบรวม ประมวลผล บร ิหารจัดการข้อมูล ว ิเคราะห์ข้อมูลด้ านการผลิตและด้ านการตลาด เพื่อจัดทา

ฐานข้อมูลด้านการผลิตและการตลาดของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเป้าหมาย

8) รายงานการดาเนินโครงการ/ผลการส่งเสร ิมการบร ิหารจัดการ/พัฒนาตลาดภายในสาหรับสินค้าเกษตร ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเป้าหมาย 5. งบประมาณที่ได้รบ ั ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทงบรายจ่าย

งบประมาณทีไ่ ด้รบ ั (บาท)

ผลเบิกจ่าย (บาท)

ร้อยละ

งบดาเนินงาน

18,000

18,000

100

รวมทั้งสิน

18,000

18,000

100

Annual Report 2022 |

55

6. ผลสาเร็จ (Output) ตัวชีว้ ัด/กิจกรรมที่ดาเนินการ

หน่วยนับ

แผน

ผล

ร้อยละ

1) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รบ ั การส่งเสร ิมและพัฒนาการบร ิหาร

แห่ง

3

3

100

2) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้ (ปร ิมาณธุรกิ จ )

ร้อยละ

3

3

100

จัดการด้านการตลาดการเชือ ่ มโยงเคร ือข่าย/คลัสเตอร์ 3 แห่ง เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า ร้อยละ 3

7. ผลลัพธ์ (Outcome) 1) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการวางระบบการบร ิหารจัดการผลผลิตการเกษตร ระดับจังหวัด 2 ครัง้ ดังนี้ - ครัง้ ที่ 1 วันที่ 25 มีนาคม 2565 ร่วมพิจารณาจัดทาแผน OPP สินค้าเกษตร และจัดทาข้อมูลสินค้า/

ผลิตภัณฑ์ที่มีศักยภาพพร้อมจาหน่าย จานวน 25 รายการ เพื่อประชาสัมพันธ์ตามสื่อต่ าง ๆ พร้อมคัดเลือก

ผู้แทนแต่ละกลุ่มคลัสเตอร์สินค้า ได้แก่ สินค้าเมล็ดพันธุข์ ้าว สหกรณ์การเกษตรเกษตรสมบูรณ์ จากัด เป็นแม่ ข่าย และ สิ้นค้าเกษตรอื่น ๆ สหกรณ์การเกษตรคอนสาร จากัด เป็นแม่ข่าย

- ครัง้ ที่ 2 วันที่ 20 เมษายน 2565 เพื่อเชื่อมโยงเคร ือข่าย ผู้ค้าพบปะกั บสหกรณ์ /กลุ่มเกษตรกรที่มี

ความพร้อมในการผลิตสินค้า/ผลิตภัณฑ์ตามความต้องการของผู้ค้า โดยมีการจับคู่ทางการค้า 3 คู่ 2) มูลค่าการจาหน่ายสินค้าเกษตร ตามแผน OPP สินค้าเกษตร จานวน 52,950,133.5 บาท

8. ผลกระทบ (Impact) ด้านสมาชิก

1) สมาชิกและเกษตรกรในพื้นที่ มีแหล่งจาหน่ายผลผลิตการเกษตรในราคายุติธรรม 2) สมาชิกและเกษตรกรในพื้นที่ มีตลาดรองรับสินค้าเกษตร ด้านสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร

1) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีการเชือ ่ มโยงเคร ือข่ายระหว่างกัน เป็นช่องทางการจาหน่ายสินค้าเกษตร 2) สหกรณ์ /กลุ่มเกษตรกร เป็น องค์ กรหลักในการบร ิหารจัดการการตลาดสิ นค้ าเกษตร และได้ รบ ั การ

พัฒนาการจาหน่ายผ่านช่องทางออนไลน์

3) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มีปร ิมาณธุรกิจเพิ่มขึ้น

4) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร มี Catalog สินค้า ในการประชาสัมพันธ์ 9. ปัญหาอุปสรรคของการดาเนินโครงการ 1) ภาวะการแพร่ระบาดของ Covid-19 ทาให้มีความเสี่ยงระหว่างผู้เข้าร่วมประชุม 2) ผู้ที่คาดว่าจะซือ ้ ยังไม่ตัดสินใจตกลงซือ ้ สินค้าในที่ประชุมได้ ต้องใช้เวลาในการตัดสินใจ 10. แนวทางแก้ไข หร ือข้อเสนอแนะ ดาเนินการจัดตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 ที่กาหนด

Annual Report 2022 |

โครงการฝึกอบรม  โครงการฝึกอบรม การเสรมสร้ ิ างความเข้มแข็งให้กับระบบสหกรณ์ หลักสูตร “ผู้ตรวจสอบ กิจการขั้นพื้นฐาน (หลักสูตร 1)” 1. ผู้เข้าร่วมโครงการ ประกอบด้วย ผูล ้ งทะเบียนเข้าร่วมโครงการฝึกอบรม การเสร ิมสร้างความเข้มแข็งให้กับระบบสหกรณ์

หลักสูตร “ผู้ตรวจสอบกิจการขั้นพื้นฐาน (หลักสูตร 1)” จานวน 85 คน 2. สิ่งที่ได้รบ ั จากการอบรม

ประกอบด้วย ผูล ้ งทะเบียนเข้าร่วมโครงการฝึกอบรม การเสร ิมสร้างความเข้มแข็งให้กับระบบสหกรณ์

หลักสูตร “ผู้ตรวจสอบกิจการขั้นพื้นฐาน (หลักสูตร 1)” จานวน 85 คน 3. การนาไปใช้

ผู้ผ่านการอบรม จานวน 76 คน สามารถนาความรูท ้ ี่ได้รบ ั จากการอบรม ไปใช้ในการปฏิบต ั ิงานด้านการ

ตรวจสอบกิจการสหกรณ์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีคุณสมบัติเป็นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ ว่าด้วยการตรวจสอบกิจการของสหกรณ์

โครงการฝึกอบรม การเสร ิมสร้างความเข้มแข็งให้กับระบบสหกรณ์ หลักสูตร “ผู้ตรวจสอบกิจการขั้นพื้นฐาน (หลักสูตร 1)” ระหว่างวันที่ 24 – 25 พฤศจิกายน 2564 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์ครูชย ั ภูมิ จากัด ตาบลโคกสูง อาเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ

56

Annual Report 2022 |

57

 โครงการพัฒนาผู้ตรวจการสหกรณ์ หลักสูตร “ผู้ตรวจการสหกรณ์ระดับพื้นฐาน” รุน ่ ที่ 1 - 4 ผ่านระบบสื่อสารทางไกล (ระบบ Zoom) 1. ผู้เข้าร่วมโครงการ 1) นางสาววนิดา สุเพียรศิร ิ ตาแหน่ง นักว ิชาการสหกรณ์ชานาญการ อบรมรุน ่ ที่ 1 ระหว่างวันที่ 28 กุมภาพันธ์ - 3 มีนาคม 2565

2) นายศุภกิจ ช่างเร ือ ตาแหน่ง เจ้าพนักงานส่งเสร ิมสหกรณ์อาวุโส อบรมรุน ่ ที่ 2 ระหว่างวันที่ 28 - 31 มีนาคม 2565 3) นายเกร ียงศักดิ์ กุลชูศักดิ์ ตาแหน่ง นักว ิชาการสหกรณ์ชานาญการพิเศษ อบรมรุน ่ ที่ 3 ระหว่างวันที่ 23 - 26 พฤษภาคม 2565

4) นายมานะ พงศ์อุดมตาแหน่ง เจ้าพนักงานส่งเสร ิมสหกรณ์อาวุโส อบรมรุน ่ ที่ 4 ระหว่างวันที่ 6 - 9 มิถุนายน 2565

2. สิ่งที่ได้รบ ั จากการอบรม

1) ผู้เข้ารับการอบรมได้พัฒนาองค์ความรู ้ เพิ่มทักษะและประสบการณ์แก่ผู้ตรวจการสหกรณ์ ให้ก้าวทัน

สถานการณ์และนาไปใช้ในการปฏิบต ั ิงานได้อย่างถูกต้อง

2) ผู้เข้ารับการอบรมที่ทาหน้าที่ผู้ตรวจการสหกรณ์สามารถปฏิบัติงานตรวจการสหกรณ์ได้ตามแนวทางที่ นายทะเบียนสหกรณ์กาหนด 3. การนาไปใช้ 1) ผู้ตรวจการสหกรณ์สามารถดาเนินการตรวจสอบสหกรณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นไปในทิศทาง เดียวกัน

2) ผู้ตรวจการสหกรณ์สามารถเขียนรายงานผลการตรวจสอบ พร้อมให้ความเห็น/ข้อเสนอแนะต่อนาย

ทะเบียนสหกรณ์ เพื่อพิจารณาสั่งการตามอานาจหน้าที่ได้อย่างถูกต้อง

 โครงการพัฒนาผู้ตรวจการสหกรณ์ หลักสูตร “ผู้ตรวจการสหกรณ์ระดับกลาง” 1. ผู้เข้าร่วมโครงการ

นายสุรสันต์ แดงสกุล ตาแหน่ง นักว ิชาการสหกรณ์ชานาญการ ระหว่างวันที่ 27 - 30 มิถุนายน 2565

ณ ร ิเวอร์ไรน์ เพลส โฮเทล แอนด์ เรสซิเด้นซ์ จังหวัดนนทบุร ี 2. สิ่งที่ได้รบ ั จากการอบรม

1) ผู้เข้ารับการอบรมได้พัฒนาองค์ความรู ้ เพิ่มทักษะและประสบการณ์แก่ผู้ตรวจการสหกรณ์ ให้ก้าวทัน

สถานการณ์ ป้องกันการเกิดปัญหาทุจร ิตในสหกรณ์ และนาไปใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่า งถูกต้อง

2) ผู้เข้ารับการอบรมที่ทาหน้าที่ผู้ตรวจการสหกรณ์สามารถปฏิบัติงานตรวจการสหกรณ์ได้ตามแนวทางที่

นายทะเบียนสหกรณ์กาหนด 3. การนาไปใช้

1) ผู้ตรวจการสหกรณ์สามารถดาเนินการตรวจสอบสหกรณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นไปในทิศทาง

เดียวกัน 2) ผู้ตรวจการสหกรณ์สามารถเขียนรายงานผลการตรวจสอบ พร้อมให้ความเห็น/ข้อเสนอแนะต่อนาย

ทะเบียนสหกรณ์ เพื่อพิจารณาสั่งการตามอานาจหน้าที่ได้อย่างถูกต้อง

Annual Report 2022 |

58

 โครงการฝึ ก อบรม หลั ก สู ต ร “ผู้ ช าระบั ญ ชีส หกรณ์ แ ละกลุ่ ม เกษตรกรขั้ น ปลาย” ผ่ า น ระบบสื่อสารทางไกล (ระบบ Zoom) 1. ผู้เข้าร่วมโครงการ 1) นางระเบียบ หล่อเร ืองศิลป์ ตาแหน่ง นักว ิชาการสหกรณ์ อบรมรุน ่ ที่ 1 ระหว่างวันที่ 11- 13 มกราคม 2565 2) นางปราติมา มีใส ตาแหน่ง เจ้าพนักงานส่งเสร ิมสหกรณ์ อบรมรุน ่ ที่ 2 ระหว่างวันที่ 18- 20 มกราคม 2565 2. สิ่งที่ได้รบ ั จากการอบรม

1) ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู ้ ความเข้าใจ กฎหมายสหกรณ์ว่าด้วยการชาระบัญชี ระเบียบ คาแนะนาของ

นายทะเบียนสหกรณ์เกี่ยวกับการจัดการทรัพย์สินและหนี้สิน

2) ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู ้ ความเข้าใจ กฎหมายว่าด้ วยหนี้ การจัดการหนี้ กองทุนของกรมส่ งเสร ิม สหกรณ์ กรณีการชาระบัญชี

3) ผู้เข้ารับการอบรมได้แลกเปลี่ยนเร ียนรู ้ การแก้ไขปัญหาและข้อเสนอแนะ เพื่อพัฒนางานการชาระบัญชี

3. การนาไปใช้ 1) ผู้เข้ารับ การอบรมน าความรูแ ้ ละทักษะไปปฏิบัติงานชาระบัญชีได้ อ ย่างมีประสิ ท ธิภาพ และเสร็จสิ้น

โดยเร็ว

2) ผู้เข้ารับ การอบรมสามารถถ่ ายทอดความรูท ้ ี่ได้ รบ ั จากการอบรม ให้ กับ ผู้ชาระบัญชีซึ่งอยู่ในจังหวัด เดียวกัน ใช้เป็นแนวทางการชาระบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรอื่นต่อไป

 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการผ่านระบบสื่อสารทางไกล ระบบ Zoom Meeting และ Onsite หลักสูตรการแก้ไขปัญหาการทุจรตของสหกรณ์ ิ ในสถานการณ์ปัจจุบัน 1. ผู้เข้าร่วมโครงการ 1) บุคลากรสานักงานสหกรณ์จงั หวัดชัยภูมิ

2) บุคลากรสานักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ชย ั ภูมิ 2. สิ่งที่ได้รบ ั จากการอบรม

1) ผู้เข้ารับการอบรมทราบสถานการณ์การทุจร ิตของสหกรณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน และได้รบ ั ความรู ้

ความเข้าใจเกี่ยวกับความรับผิดชอบของผู้ตรวจสอบบัญชีต่อการทุจร ิต

2) ผู้เข้ารับการอบรมได้รบ ั ความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาการทุจร ิตในสหกรณ์ 3. การนาไปใช้

ผู้ ผ่ า นการอบรมสามารถน าความรู ้ทั ก ษะและประสบการณ์ ที่ ไ ด้ ร ับ จากการอบรมไปปรับ ใช้ ใ นการ

ปฏิบัติงานและแก้ไขปัญหาการทุจร ิตในสหกรณ์ได้

Annual Report 2022 |

59

 โครงการอบรมเสรมสร้ ิ างความเข้มแข็งด้ านการป้องกั นและปราบปรามการทุจร ิต จังหวัด ชัยภูมิ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ 2565 1. ผู้เข้าร่วมโครงการ นายทัตติ ติดเมิง ตาแหน่ง นิติกร ในวันที่ 18 สิงหาคม 2565 ณ โรงแรมสยามร ิเวอร์ร ีสอร์ท จังหวัดชัยภูมิ 2. สิ่งที่ได้รบ ั จากการอบรม

1) มีความรูค ้ วามเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการทุจร ิตในหน่วยงานราชการ 2) สร้างการมีส่วนร่วมของหน่วยงานภาครัฐองค์กรภาคเอกชนและประชาชนให้บูรณาการทางานร่วมกัน

เพื่อสร้างสังคมที่ไม่ทนต่อการทุจร ิต

3) มีจต ิ สานึกสาธารณะมีความเสียสละเพื่อส่วนรวมและรูจ้ ักการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน และผลประโยชน์ส่วนรวม 3. การนาไปใช้ ปฏิ บัติ หน้ าที่ราชการอย่างมีว ินั ย มีจิต สาธารณะ มีความซื่อสั ตย์ สุ จร ิต ป้องกั นการทุจร ิตในหน่วยงาน ราชการ

 โครงการฝึกอบรม หลักสูตร “เสรมสร้ ิ างสมรรถนะด้านกฎหมายสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน” ผ่านระบบสื่อสารทางไกล (ระบบ Zoom) 1. ผู้เข้าร่วมโครงการ ระหว่างวันที่ 1 - 3 กุมภาพันธ์ 2565 1) นายสุเมธ ชูรต ั น์ ตาแหน่ง นักว ิชาการสหกรณ์ชานาญการ 2) นางสาวชนัญชิตา เพียรทอง ตาแหน่ง นักว ิชาการสหกรณ์ชานาญการ 2. สิ่งที่ได้รบ ั จากการอบรม

1) ผู้ข้ารับการอบรมมีความรู ้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ และกฎหมายว่า

ด้วยกลุ่มเกษตรกร ข้อบังคับ ระเบียบของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ตลอดจนกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง

2) ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู ้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการปฏิบัติงานในระบบฐานข้อมูลทะเบียนสหกรณ์และ กลุ่มเกษตรกร 3. การนาไปใช้ ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู ้ ความเข้าใจเรอื่ งกฎหมายเพื่อการปฏิบัติงานที่ถูกต้อง มีความเข้าใจในบทบาท หน้าที่และสามารถรายงานต่อผู้บังคับบัญชาเพื่อพิจารณาสั่งการภายใต้ขอบเขตอานาจหน้าที่ตามกฎหมายได้

อย่ า งถู ก ต้ อ ง เหมาะสม ตลอดจนสามารถใช้ง านระบบฐานข้ อ มู ล สหกรณ์ แ ละกลุ่ มเกษตรกรได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ

Annual Report 2022 |

60

2) ผลการดาเนินงาน/โครงการตามนโยบายสาคัญ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565  โครงการสนั บ สนุ น การรวบรวมและกระจายผลไม้ เ พื่ อ ยกระดั บ ราคาไม่ ใ ห้ ต กต่ า ของ สถาบันเกษตรกร 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ

เพื่อเป็นการช่วยเหลือสมาชิกสหกรณ์ที่ปลูกลาไย และยกระดับราคาลาไยให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม อีกทั้ง

ยังเป็นการกระจายผลผลิตลาไยของสมาชิกสหกรณ์ไปสู่ผู้บร ิโภค 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดาเนินการ

1) สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดชัยภูมิ 2) หน่วยงานราชการ ประชาชนทั่วไป

3. ตัวชีว้ ัดความสาเร็จของการดาเนินโครงการ

กระจายลาไยสู่สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร หน่วยงานราชการ และประชาชนทั่วไป จานวน 3 ตัน

4. กระบวนงาน

1) ติดต่อประสานงานกับสหกรณ์ต้นทาง 2) ประสัมพันธ์ และสารวจความต้องการสั่งจองลาไยของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร หน่วยงานราชการ และ

ประชาชนทั่วไป

3) ส่งใบสั่งซือ ้ ไปยังสหกรณ์ต้นทาง 4) กระจายลาไยสู่สหกรณ์สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร หน่วยงานราชการ และประชาชนทั่วไป 5) รายงานผลการดาเนินงาน

5. งบประมาณที่ได้รบ ั ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 - ไม่มี 6. ผลสาเร็จ (Output) ตัวชีว้ ัด/กิจกรรมที่ดาเนินการ

หน่วยนับ

แผน

ผล

ร้อยละ

กระจายล าไยสู่ ส หกรณ์ กลุ่ ม เกษตรกร หน่ ว ยงานราชการ และ

ตัน

3

3

100

ประชาชนทั่วไป

7. ผลลัพธ์ (Outcome)

เกษตรกรผู้ปลูกลาไยมีแหล่งกระจายผลผลิต

8. ผลกระทบ (Impact)

สามารถรักษาเสถียรภาพด้ านราคา ส่งผลให้สถานการณ์ราคาลาไยในภาคเหนืออยู่ในเกณฑ์ดีขึ้น ตลอด

ฤดู ก าลผลิ ต ช่ว ยให้ เ กษตรกรมี ช่อ งทางระบายผลผลิ ต มี ร ายได้ ที่ ดี ขึ้ น รวมถึ ง ช่ว ยให้ ป ระชาชนผู้ บ ร ิโภค สามารถเข้าถึง สินค้าดีมีคุณภาพ 9. ปัญหาอุปสรรคของการดาเนินโครงการ – ไม่มี

Annual Report 2022 |

61

10. แนวทางแก้ไข หร ือข้อเสนอแนะ - ไม่มี

 โครงการส่งเสรมเกษตรแปลงใหญ่ ิ ของกรมส่งเสรมสหกรณ์ ิ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) เพื่อสนับสนุนการดาเนินงานด้านการตลาด เชือ ่ มโยงตลาดระหว่างผู้ผลิตแปลงใหญ่และผู้ซอ ื้ 2) เพื่อส่งเสร ิมการบร ิหารจัดการการผลิตตลอดห่วงโซ่ ตั้งแต่ต้นน้า กลางน้า และปลายน้า 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดาเนินการ 1) แปลงใหญ่กระทรวงเกษตรกรและสหกรณ์ 2) แปลงใหญ่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 3. ตัวชีว้ ัดความสาเร็จของการดาเนินโครงการ ร่ว มกิ จ กรรม/อบรมถ่ า ยทอดความรู ้ ด้ า นการบร ิหารจัดการกลุ่ ม /ด้ า นการตลาด ร่ว มกั บ หน่ วยงานอื่น

ร้อยละ 55 (26 แปลง) 4. กระบวนงาน

1) ว ิเคราะห์ กาหนดเป้าหมาย ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ เพื่อวางแผนปฏิบัติงานด้านแปลงใหญ่ 2) สื่อสารทาความเข้าใจแผนปฏิบัติงานด้านการตลาดแปลงใหญ่ 3) ดาเนินการตามแผนปฏิบัติงานด้านการตลาด 4) ร่ว มกิ จ กรรม/ประชุ ม/อบรมถ่ ายทอดความรู ด ้ ้ า นการรวมกลุ่ ม/ด้ านการตลาดแก่ เ กษตรแปลงใหญ่

ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

5) รายงานผลการดาเนินงาน 5. งบประมาณที่ได้รบ ั ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทงบรายจ่าย

งบประมาณทีไ่ ด้รบ ั (บาท)

ผลเบิกจ่าย

ร้อยละ

งบดาเนินงาน

7,600

7,600

100

รวมทั้งสิน

7,600

7,600

100

Annual Report 2022 |

62

6. ผลสาเร็จ (Output) ตัวชีว้ ัด/กิจกรรมที่ดาเนินการ

หน่วยนับ

แผน

ผล

ร้อยละ

ร่วมกิจกรรม/อบรมถ่ายทอดความรู ้ ด้ านการบร ิหารจัดการกลุ่ม /

ร้อยละ

55

83.23

100

ด้านการตลาด ร่วมกับหน่วยงานอื่น ร้อยละ 55 (26 แปลง)

(41 แปลง)

7. ผลลัพธ์ (Outcome) เกษตรกรสมาชิกแปลงใหญ่ ได้รบ ั การถ่ายทอดความรูด ้ ้านการบร ิหารจัดการกลุ่ม และด้านการตลาด 8. ผลกระทบ (Impact)

กลุ่มแปลงใหญ่ มีการบร ิหารจัดการกลุ่ม การจัดการผลผลิต และมีตลาดรองรับผลผลิต

9. ปัญหาอุปสรรคของการดาเนินโครงการ การส่ งเสร ิมด้ านการตลาดแปลงใหญ่ ในด้ านการทาข้อตกลงซื้อขายผลผลิต (MOU) ยังไม่เป็นไปตาม

เงอื่ นไข เนื่องจากคุณภาพผลผลิตไม่ตรงตามความต้องการของเอกชน 10. แนวทางแก้ไข หร ือข้อเสนอแนะ

ประสานหน่วยงานที่ดูแลแปลงใหญ่ในแต่ ละชนิดพืช เพื่อเข้าร่วมประชุม/แนะนาส่งเสร ิมด้ านการตลาด

ให้แก่กลุ่มเกษตรกรที่มีความประสงค์

Annual Report 2022 |

63

 เง ินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ (กพส.) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ กองทุนพัฒนาสหกรณ์ ตั้ งขึ้นตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 โอนเง ินทุนหมุนเว ียนส่งเสร ิมการ สหกรณ์ มาเป็ น ของกองทุ น พั ฒ นาสหกรณ์ ต่ อ มาปี พ.ศ. 2545 พระราชกฤษฎี ก าแก้ ไ ขบทบั ญ ญั ติ ใ ห้

สอดคล้องกับการโอนอานาจหน้ าที่ของส่วนราชการให้ เป็นไปตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 ให้ กองทุน พัฒนาสหกรณ์ อยู่ในความดู แลของกรมส่ งเสร ิมสหกรณ์ ตั้งแต่ วันที่ 6 ตุ ลาคม 2545 เป็นต้นมา มีวัตถุประสงค์ให้สหกรณ์ก้ย ู ืม เพื่อเป็นทุนหมุนเว ียนสนับสนุนกิจการของสหกรณ์ และเพื่อ ดาเนินการขับเคลื่อนนโยบายสาคัญ หร ือเพื่อเป็นการช่วยเหลือแก้ปัญหาแก่สมาชิกเป็นการเฉพาะ 2. ระยะเวลาดาเนินงาน 1 ตุลาคม 2564 - 30 กันยายน 2565 3. คุณสมบัติของสหกรณ์ที่จะกู้ยืม

1) สหกรณ์ทุกประเภทในจังหวัดชัยภูมิ 2) มีทุนเร ือนหุ้นไม่ต่ากว่า 50,000.- บาท

3) มีว ินัยทางการเง ิน และไม่มีหนี้ผิดนัดค้างชาระต่อกรมส่งเสร ิมสหกรณ์ทุกเง ินทุน สาหรับกรณีสหกรณ์ ได้ ร บ ั การผ่ อ นผั น การขยายเวลาช าระหนี้ การลดหนี้ การปรับ ปรุ ง โครงสร้า งหนี้ การไกล่ เ กลี่ ย คดี การ ประนีประนอมหนี้ และสหกรณ์สามารถชาระหนี้ได้ตามเงอื่ นไข

4) ไม่มีการทุจร ิต และไม่มีข้อบกพร่องทางการเง ินและทางบัญชี ในกรณีที่สหกรณ์มีข้อบกพร่องหร ือทุจร ิต

ต้องได้รบ ั การแก้ไขแล้ว 5) สหกรณ์ตั้งใหม่ไม่เกิน 1 ปี ให้ก้ไู ด้ไม่เกิน 500,000.- บาท 4. กระบวนงาน 1) สารวจและจัดทาข้อมูลความต้องการเง ินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ 2) ให้คาแนะนาสหกรณ์ในการจัดทาคาขอกู้เง ินกองทุนพัฒนาสหกรณ์

3) รับคาขอกู้จากสหกรณ์/ตรวจสอบเอกสารประกอบคาขอกู้/ว ิเคราะห์คาขอกู้ 4) เตร ียมเอกสารการประชุม/จัดประชุมคณะกรรมการพิจารณาเง ินกู้ กพส. ระดับจังหวัด 5) จัดทารายงานผลการประชุมเสนอผู้มีอานาจพิจารณาอนุญาต/ไม่อนุญาต

6) แจ้งผลการอนุญาตให้สหกรณ์ทราบ/รายงานขอเบิกเง ินจากกรมส่งเสร ิมสหกรณ์ 7) รับหนังสือขอเบิกรับเง ินกู้จากสหกรณ์/ตรวจสอบเอกสาร/เบิกจ่ายเง ินกู้ให้สหกรณ์ 8) ตรวจสอบติดตามการใช้เง ินกู้

9) เร่งรัดการชาระหนี้ก่อนและหลังครบกาหนดชาระ 10) ยืนยันยอดเง ินกู้คงเหลือ

11) จัดชัน ้ ลูกหนี้ของสหกรณ์เสนอกรมส่งเสร ิมสหกรณ์/แจ้งผลการจัดชัน ้ ให้สหกรณ์ 12) ตรวจสอบหลักประกันเง ินกู้/เร ียกให้สหกรณ์จด ั ทาหลักประกันเง ินกู้เพิ่มเติม 13) จัดทารายงานผลการปฏิบัติงานประจาเดือน/ประจาไตรมาส/ประจาปี 5. งบประมาณที่ได้รบ ั ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทงบรายจ่าย (งบดาเนินงาน)

งบประมาณทีไ่ ด้รบ ั (บาท)

ผลเบิกจ่าย

ร้อยละ

1) ค่าใช้จา่ ยในการประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาเง ินกู้ฯ

131,405

131,405

100

2) ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ

83,750

83,750

100

3) ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ (เง ินรางวัล)

20,000

20,000

100

235,155

235,155

100

รวมทั้งสิน

Annual Report 2022 |

64

ในปี ง บประมาณ พ.ศ. 2565 คณะกรรมการบร ิหารกองทุ น พั ฒ นาสหกรณ์ ได้ อ นุ มั ติ ก รอบวงเง น ิ

งบประมาณที่สามารถปล่อยกู้ให้แก่สหกรณ์ได้จานวน 62.84 ล้านบาท คือ

1) โครงการปกติเพื่อดาเนินงานตามแผนงานปกติ จานวน 24.00 ล้านบาท 2) โครงการพิเศษ เพื่อให้สหกรณ์ดาเนินการภายใต้นโยบายภาครัฐ จานวน 38.84 ล้านบาท

มี ส หกรณ์ ม าใช้บ ร ิการเงน ิ กองทุ นพั ฒ นาสหกรณ์ จ านวน 67.65 ล้ า นบาท คิ ด เป็ น ร้อยละ 107.65

แยกเป็ น โครงการปกติ จ านวน 13 สหกรณ์ 14 สั ญ ญา เป็ น เง ิน 30.17 ล้ า นบาท คิ ด เป็ น ร้อยละ 125.71

โครงการพิเศษ จานวน 9 โครงการ 11 สหกรณ์ 24 สัญญา เป็น เง ิน 37.48 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 96.50 รายละเอียดตามแผนภูมิ 1 แผนภูมิ 1 การบร ิหารเง ินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ล้านบาท 80,000,000 70,000,000 60,000,000

67,642,800

62,840,000

50,000,000 38,840,000

40,000,000 30,000,000

37,475,000 30,167,800

24,000,000

20,000,000 10,000,000 0

แผน

ผลการบรหารเง ิ ิน กพส.

รวม

62,840,000

67,642,800 (107.65%)

โครงการปกติ

24,000,000

30,167,800 (125.71%)

โครงการพิเศษ

38,840,000

37,475,000 (96.50%)

แผนภูมิ 2 ร้อยละการเบิกจ่ายเง ินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ (โครงการปกติ) ปี 2565

8.42% 13.26%

ให้สมาชิกกู้

30.17

ล้านบาท

41.96%

จัดหาสินค้ามาจาหน่าย รวบรวมผลผลิต ลงทุนในทรัพย์สิน

36.36%

จากแผนภู มิ 2 พบว่ า ในปี 2565 จัง หวั ด ชัย ภู มิ เบิ ก จ่า ยเง น ิ กู้ ก องทุ น พั ฒ นาสหกรณ์ ใ ห้ ส หกรณ์ กู้ ยื มตามโครงการปกติ ใ น

วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นทุนให้ สมาชิกกู้ มากที่สุด จานวน 12.66 ล้านบาท คิ ดเป็นร้อยละ 41.96 รองลงมาคื อวัตถุประสงค์ เพื่อจัดหา สินค้ามาจาหน่าย จานวน 10.97 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 36.36 รวบรวมผลผลิต จานวน 4.00 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 13.26 และ ลงทุนในทรัพย์สิน จานวน 2.54 คิดเป็นร้อยละ 8.42 ตามลาดับ

Annual Report 2022 |

65

แผนภูมิ 3 ร้อยละการเบิกจ่ายเง ินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ (โครงการพิเศษ) ปี 2565

13.34% 8.01%

ให้สมาชิกกู้ยืม จัดหาสินค้ามาจาหน่าย ลงทุนในทรัพย์สิน

78.65%

จากแผนภู มิ 3 พบว่ า ในปี 2565 จัง หวั ดชัย ภู มิ เบิ ก จ่ายเง น ิ กู้ ก องทุ นพั ฒ นาสหกรณ์ ใ ห้ ส หกรณ์ กู้ ยื ม ตามโครงการพิ เ ศษใน

วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่อ เป็นทุ นให้ สมาชิกกู้ มากที่ สุด จานวนเง น ิ 29.48 ล้ านบาท คิ ดเป็ นร้อ ยละ 78.65 รองลงมาเพื่อ รวบรวมผลผลิต จานวน 5.00 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 13.34 และจัดหาสินค้ามาจาหน่าย จานวน 3.00 ล้ านบาท คิดเป็นร้อยละ 8.01 ตามลาดับ แผนภูมิ 4 ผลการเบิกจ่ายเง ินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ (โครงการพิเศษ) จาแนกตามโครงการ แก้ปัญหาหนี้

0.15

New Normal

0.90

กระจายเมล็ดพันธุด ์ ี

1.00

เกษตรอัจฉร ิยะ

2.00

จัดหาและปรับปรุงแหล่งน้า

2.75

ผลิตน้านมโคคุณภาพ

5.00

พัฒนาอาชีพสมาชิกสหกรณ์ ปีที่ 3

6.89

สนับสนุนเง ินทุนตามโครงการ ASPL

8.00

สนับสนุนเง ินกู้แก่สหกรณ์ที่ประสบสาธารณภัย

10.79 0.00

สนับสนุนเง ินกู้ แก่สหกรณ์ที่ ประสบสา ธารณภัย โครงการ

10.79

สนับสนุน

พัฒนาอาชีพ

เง ินทุนตาม

สมาชิกสหกรณ์

โครงการ ASPL

ปีที่ 3

8.00

6.89

2.00 ผลิตน้านมโค คุณภาพ 5.00

4.00

6.00

จัดหาและ

ปรับปรุงแหล่ง เกษตรอัจฉร ิยะ น้า

2.75

2.00

8.00 กระจายเมล็ด พันธุด ์ ี 1.00

10.00

12.00

New Normal แก้ปัญหาหนี้

0.90

0.15

จากแผนภูมิ 4 พบว่า ในปี 2565 จังหวัดชัยภูมิ เบิกจ่ายเง ินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ โครงการพิเศษ จานวน 9 โครงการ เป็นเง ิน 37.48 ล้านบาท โดยเบิกจ่ายเง ินกู้โครงการสนับสนุนเง ินกู้แก่สหกรณ์ที่ประสบสาธารณภัยและอื่น ๆ มากที่สุด จานวน 10.79 ล้าน

บาท รองลงมาเป็นโครงการสนับสนุนเง ินทุนตามโครงการเง ินกู้เพื่อปรับโครงสร้างภาคเกษตร ASPL ปี 2565 จานวน 8.00 ล้านบาท โครงการสนับ สนุนเง ินทุ นเพื่ อการพัฒ นาอาชีพสมาชิก สหกรณ์ จานวน 6.89 ล้ านบาท และโครงการพัฒ นาการผลิต น้านมโคที่มี คุณภาพลดต้นทุนการผลิต จานวน 8.00 ล้านบาท 6.89 ล้านบาท และ 5.00 ล้านบาท ตามลาดับ

Annual Report 2022 |

66

อนุมัติ/เบิกจ่าย เง ินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ที่

ชือ ่ สหกรณ์

1

สหกรณ์การเช่าซือ ้ ที่ดิน บ้านแท่น จากัด

วัตถุประสงค์เพื่อ เป็นทุนหมุนเว ียนในการฟื้ นฟูอาชีพ

และประกอบอาชีพหลังประสบอุทกภัย

วันที่อนุมัติ 21 ก.พ. 65

อนุมัติ (ล้านบาท) จังหวัด

กรมฯ

1.680

-

โครงการ โครงการสนับสนุนเง ินกู้แก่ สหกรณ์ที่ประสบสาธารณะ ภัยและอื่น ๆ

2

3

สหกรณ์การเกษตรบ้าน

เป็นทุนหมุนเว ียนในการฟื้ นฟูอาชีพ

เขว้า จากัด

และประกอบอาชีพหลังประสบอุทกภัย

21 ก.พ. 65

0.850

-

โครงการสนับสนุนเง ินกู้แก่

สหกรณ์การเกษตรบ้าน

จัดหาสินค้ามาจาหน่าย

21 ก.พ. 65

5.000

-

ปกติ

สหกรณ์โคนม

จัดซือ ้ บ่อน้าเย็นขนาด 30 ตัน พร้อม

25 ก.พ. 65

2.540

-

ปกติ

เทพสถิต จากัด

อุปกรณ์

สหกรณ์โคนม

เป็นทุนให้สมาชิกกู้พัฒนาฟาร์มโคนม

25 ก.พ. 65

5.000

-

โครงการพัฒนาการผลิต

เทพสถิต จากัด

เข้าสู่มาตรฐาน GAP

สหกรณ์ที่ประสบสาธารณะ ภัยและอื่น ๆ

เขว้า จากัด 4 5

น้านมโคที่มีคุณภาพลด ต้นทุนการผลิต

6

สหกรณ์โคนม

เป็นทุนให้สมาชิกกู้ฟื้นฟูฟาร์มหลัง

เทพสถิต จากัด

ประสบอุทกภัย

25 ก.พ. 65

0.870

-

โครงการสนับสนุนเง ินกู้แก่ สหกรณ์ที่ประสบสาธารณะ ภัยและอื่น ๆ

7

สหกรณ์การเกษตร ลาประทาว จากัด

เป็นทุนหมุนเว ียนในการฟื้ นฟูอาชีพ

และประกอบอาชีพหลังประสบอุทกภัย

25 ก.พ. 65

0.720

-

โครงการสนับสนุนเง ินกู้แก่ สหกรณ์ที่ประสบสาธารณะ ภัยและอื่น ๆ

8

สหกรณ์การเกษตร

เป็นทุนให้สมาชิกกู้จด ั หาแหล่งน้าหร ือ

ลาประทาว จากัด

ปรับปรุงระบบกักเก็บน้าพร้อมอุปกรณ์

25 ก.พ. 65

0.050

-

โครงการจัดหาและปรับปรุง

สหกรณ์การเกษตร

เป็นทุนหมุนเว ียนในการฟื้ นฟูอาชีพ

คอนสาร จากัด

และประกอบอาชีพหลังประสบอุทกภัย

สหกรณ์การเกษตร

รวบรวมผลผลิต(มะขามเปียก)

9 มี.ค. 65

4.000

-

ปกติ

ให้สมาชิกกู้ประกอบอาชีพ

15 มี.ค. 65

0.300

-

โครงการสนับสนุนเง ินทุน

แหล่งน้าของสมาชิกสหกรณ์ ปี 2565

9

28 ก.พ. 65

0.990

-

โครงการสนับสนุนเง ินกู้แก่ สหกรณ์ที่ประสบสาธารณะ ภัยและอื่น ๆ

10

หนองบัวแดง จากัด 11

สหกรณ์การเกษตร บ้านเขว้า จากัด

12

เพื่อส่งเสร ิมอาชีพในยุค

New Normal ปี 2565

สหกรณ์การเกษตร

เป็นทุนให้สมาชิกกู้จด ั หาแหล่งน้าหร ือ

บ้านเขว้า จากัด

ปรับปรุงระบบกักเก็บน้าพร้อมอุปกรณ์

15 มี.ค. 65

0.500

-

โครงการจัดหาและปรับปรุง แหล่งน้าของสมาชิกสหกรณ์ ปี 2565

13

สหกรณ์การเกษตร

เป็นทุนหมุนเว ียนในการฟื้ นฟูอาชีพ

ภูเขียว จากัด

และประกอบอาชีพหลังประสบอุทกภัย

28 มี.ค. 65

0.680

-

โครงการสนับสนุนเง ินกู้แก่ สหกรณ์ที่ประสบสาธารณะ ภัยและอื่น ๆ

14

สหกรณ์การเกษตร

เป็นทุนให้สมาชิกกู้ทานา

5 เม.ย. 65

1.000

-

ปกติ

เป็นทุนให้สมาชิกกู้ทานา

8 เม.ย. 65

0.500

-

ปกติ

0.510

-

ปกติ ปกติ

ชุมชนโนนตาด จากัด 15

สหกรณ์การเกษตร ภูหยวก จากัด

16

สหกรณ์การเกษตร

เป็นทุนให้สมาชิกกู้ทานา

บ้านแก้ง จากัด 17

สหกรณ์เพื่อการเกษตร

เป็นทุนให้สมาชิกกู้ทานา

12 เม.ย. 65

0.900

-

สหกรณ์การเกษตร

เป็นทุนให้สมาชิกกู้ทาการเกษตรแบบ

18 เม.ย. 65

1.165

-

แก้งคร้อ จากัด

ผสมผสานหร ือประกอบอาชีพเสร ิม

บ้านโนนโพธิ์ จากัด 18

อื่นๆ 19

สหกรณ์การเกษตร

โครงการสนับสนุนเง ินทุน เพื่อการพัฒนาอาชีพสมาชิก สหกรณ์ ปีที่ 3

เป็นทุนให้สมาชิกกู้ทานา

11 เม.ย. 65

0.500

-

ปกติ

เป็นทุนให้สมาชิกกู้ทานา

11 พ.ค. 65

1.800

-

ปกติ

ตาบลโนนแดง จากัด 20

สหกรณ์การเกษตร แก้งคร้อพัฒนา จากัด

Annual Report 2022 |

ที่ 21

ชือ ่ สหกรณ์

วัตถุประสงค์เพื่อ

สหกรณ์ผู้ใช้น้าสถานี

จัดหาสินค้ามาจาหน่ายแก่สมาชิก

สูบน้าด้วยไฟฟ้าบ้าน

(ปุ๋ย)

วันที่อนุมัติ

อนุมัติ (ล้านบาท) จังหวัด

กรมฯ

17 พ.ค. 65

0.268

-

18 พ.ค. 65

5.000

โครงการ ปกติ

กุดแดง จากัด 22

สหกรณ์การเกษตร

เป็นทุนหมุนเว ียนในการฟื้ นฟูอาชีพ

บาเหน็จณรงค์ จากัด

และประกอบอาชีพหลังประสบอุทกภัย

โครงการสนับสนุนเง ินกู้แก่ สหกรณ์ที่ประสบสาธารณะ ภัยและอื่น ๆ

23

สหกรณ์การเกษตร

เป็นทุนให้สมาชิกกู้ทาการเกษตรแบบ

หนองบัวแดง จากัด

ผสมผสานหร ือประกอบอาชีพเสร ิม

26 พ.ค. 65

1.450

-

อื่นๆ 24

สหกรณ์การเกษตร

เป็นทุนให้สมาชิกกู้จด ั หาหร ือปรับปรุง

หนองบัวแดง จากัด

ระบบกักเก็บน้าพร้อมอุปกรณ์

สหกรณ์การเกษตร

เป็นทุนให้สมาชิกกู้ทาการเกษตรแบบ

เกษตรสมบูรณ์ จากัด

ผสมผสานฯ

สหกรณ์การเกษตร

เป็นทุนให้สมาชิกกู้ทาแปลงเมล็ดพันธุ ์

เกษตรสมบูรณ์ จากัด

ข้าวและรวบรวมเมล็ดพันธุข์ ้าวจากแปลง

โครงการสนับสนุนเง ินทุน เพื่อการพัฒนาอาชีพสมาชิก สหกรณ์ ปีที่ 3

26 พ.ค. 65

1.550

-

โครงการจัดหาและปรับปรุง แหล่งน้าของสมาชิกสหกรณ์ ปี 2565

25

27 พ.ค. 65

1.800

-

โครงการสนับสนุนเง ินทุน เพื่อการพัฒนาอาชีพสมาชิก สหกรณ์ ปีที่ 3

26

27 พ.ค. 65

1.000

-

และกระจายเมล็ดพันธุด ์ ีใน

สมาชิก 27 28

สหกรณ์การเกษตร

จัดหาปัจจัยการผลิตมาจาหน่ายให้กับ

เกษตรสมบูรณ์ จากัด

สมาชิก

สหกรณ์การเกษตรบ้าน

ให้สมาชิกกู้ประกอบอาชีพ

โครงการส่งเสร ิมการผลิต สถาบันเกษตรกร ปี 2565

27 พ.ค. 65

5.000

-

31 พ.ค. 65

0.150

-

เขว้า จากัด

ปกติ โครงการสนับสนุนเง ินทุน เพื่อแก้ปัญหาหนี้และฟื้ นฟู อาชีพสมาชิกสหกรณ์ ปีที่ 2

29

สหกรณ์การเกษตร

จัดหาสินค้ามาจาหน่าย(ปุ๋ย)

17 มิ.ย. 65

0.700

-

ปกติ

สหกรณ์การเช่าซือ ้ ที่ดิน

เป็นทุนให้สมาชิกกู้ทาการเกษตรแบบ

21 มิ.ย. 65

1.200

-

โครงการสนับสนุนเง ินทุน

บ้านแท่น จากัด

ผสมผสานฯ 24 มิ.ย. 65

1.270

-

สหกรณ์ ปีที่ 3

5 ส.ค. 65

0.600

-

โครงการสนับสนุนเง ินทุน

แก้งคร้อพัฒนา จากัด 30 31

สหกรณ์การเกษตร

เพื่อการพัฒนาอาชีพสมาชิก

คอนสาร จากัด 32

33

สหกรณ์โคนมเทพสถิต

โครงการสนับสนุนเง ินทุนเพื่อส่งเสร ิม

จากัด

อาชีพในยุค New Normal ปี 2565

สหกรณ์โคนมเทพสถิต

เป็นทุนให้สมาชิกกู้จด ั หาแหล่งน้าหร ือ

จากัด

ปรับปรุงระบบกักเก็บน้าพร้อมอุปกรณ์

สหกรณ์การเกษตร

ให้สมาชิกกู้ทาการเกษตรอัจฉร ิยะ

ไก่เนื้อชัยภูมิ จากัด

(เลี้ยงไก่เนื้อ)

เพื่อส่งเสร ิมอาชีพในยุค

New Normal ปี 2565 5 ส.ค. 65

0.650

-

โครงการจัดหาและปรับปรุง แหล่งน้าของสมาชิกสหกรณ์ ปี 2565

34

5 ก.ย. 65

2.000

-

โครงการสนับสนุนเง ินทุน เพื่อส่งเสร ิมการทาเกษตร อัจฉร ิยะของสมาชิกสหกรณ์

35

สหกรณ์การเกษตร

รวบรวมผลผลิต

14 ก.ย. 65

5.000

-

บ้านเขว้า จากัด 36

สหกรณ์การเกษตร

จัดหาสินค้ามาจาหน่าย(ปุ๋ย)

14 ก.ย. 65

3.000

-

ให้สมาชิกกู้ประกอบอาชีพเลี้ยงโคขุน

20 ก.ย. 65

5.000

-

20 ก.ย. 65

2.350

-

บาเหน็จณรงค์ จากัด 37

สหกรณ์การเกษตร

38

สหกรณ์การเกษตร

คอนสาร จากัด

โครงการสนับสนุนเง ินทุน ตามโครงการเง ินกู้เพื่อปรับ

กระบือ แพะ และแกะ

บ้านเขว้า จากัด รวมอนุมัติเบิกจ่าย (ล้านบาท)

67.65

โครงสร้างภาคเกษตร ASPL ปี 2565

ปกติ

67

Annual Report 2022 |

68

รายละเอียดลูกหนี้เง ินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ คงเหลือ ณ 30 กันยายน 2565

รายการ

จานวนเง ิน (บาท)

ยอดยกมา ณ 1 ตุลาคม 2564

55,417,000

จ่ายเง ินกู้ระหว่างปี

67,642,800

รับชาระเง ินกู้ระหว่างปี

100

คงเหลือ ณ 30 กันยายน 2565

86,628,300

6. ผลสาเร็จ (Output) ตัวชีว้ ัด/กิจกรรมที่ดาเนินการ

หน่วยนับ

แผน

ผล

ร้อยละ

1) สามารถติดตามการชาระหนี้ลูกหนี้ได้รอ ้ ยละ 80

สัญญา

35

35

100

2) สหกรณ์นาเง ินกู้ไปใช้ตรงตามวัตถุประสงค์ ร้อยละ 80

สัญญา

38

38

100

บาท

131,405

131,140

100

3) ควบคุมการจ่ายงบประมาณให้เป็นไปตามเป้าหมาย ร้อยละ 90ด

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 มีสหกรณ์ มาใช้บร ิการเง ินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ จานวน 67.65 ล้านบาท แยกเป็น โครงการปกติ จานวน 13 สหกรณ์ 14 สัญญา เป็นเง ิน 30.17 ล้านบาท จานวนสมาชิกที่มาใช้บร ิการ

1,088 ราย โครงการพิเศษ จานวน 9 โครงการ 11 สหกรณ์ 24 สัญญา เป็นเง ิน 37.48 ล้านบาท จานวนสมาชิก ที่มาใช้บร ิการ 1,025 ราย 7. ผลลัพธ์ (Outcome)

ด้านสหกรณ์ : สามารถเข้าถึงแหล่งเง ินทุนดอกเบี้ยต่า เพื่อช่วยเหลือสมาชิกที่ได้รบ ั ความเดือดร้อน ด้านสมาชิก : 1) สมาชิกสหกรณ์สามารถเข้าถึงแหล่งเง ินทุนดอกเบี้ยต่า มีเง ินทุนหมุนเว ียนในการประกอบ

อาชีพ พัฒนาอาชีพ หร ิอฟื้ นฟูอาชีพ สามารถลดต้นทุนการผลิต และ 2) สมาชิกมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการประกอบ อาชีพ และมีรายได้เพียงพอกับการใช้จา่ ยในชีว ิตประจาวัน 8. ผลกระทบ (Impact)

1) สหกรณ์ ไ ด้ ร บ ั เง น ิ กู้ ส อดคล้อ งกั บ แผนธุรกิ จ และฤดู ก ารผลิต ของสมาชิก ท าให้ ก ารใช้เ ง น ิ กู้ ต รงตาม

วัตถุประสงค์ และสามารถส่งชาระหนี้ได้ตามกาหนด 2) การปฏิ บัติ ในการให้ บ ร ิการกั บ สมาชิกอย่างเต็ มใจโปร่งใสและเสมอภาคทุกสหกรณ์ ทาให้ สหกรณ์ มี

ความเชือ ่ ถือและให้ความร่วมมือในด้านต่ าง ๆ กับสานักงานสหกรณ์จงั หวัดเป็นอย่างดี 9. ปัญหาอุปสรรคของการดาเนินโครงการ

คณะกรรมการดาเนินการ และฝ่ายจัดการสหกรณ์ ศึกษาหลักเกณฑ์และระเบียบการกู้เง ินกองทุนพัฒนา

สหกรณ์น้อยมาก ทาให้การปฏิบัติงานเข้าใจคลาดเคลื่อนส่งผลให้การดาเนินการช้าในแต่ละขั้นตอน 10. แนวทางแก้ไข หร ือข้อเสนอแนะ

1) ส ารวจความต้ อ งการใช้ เ ง น ิ กู้ ข องสหกรณ์ และตรวจสอบระยะเวลาสิ้ น สุ ด สั ญ ญาเง น ิ กู้ เ ดิ ม ใน

วัตถุประสงค์เดิม ว่าสอดคล้องกับแผนขอกู้ใหม่ที่สหกรณ์กาหนดมาหร ือไม่ 2) จัดทาแผนการเบิกจ่ายเง ินกู้ประจาปี

3) แจ้งแผน/ผลการเบิกจ่ายเง ินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ในที่ประชุมประจาเดือ น พร้อมแจ้งแผนการจัด ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาเง ินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ ระดับจังหวัด และสหกรณ์เป้าหมาย 4) ให้คาแนะนาเจ้าหน้าที่สหกรณ์การในการจัดทาเอกสารประกอบคาขอกู้เง ิน

5) ศึกษาและปฏิบัติตามคู่มือ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง หลักเกณฑ์ต่าง ๆ เพื่อป้องกันความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นในทางกฎหมาย 6) การดาเนินการจัดประชุมชีแ ้ จงเกี่ยวกับแนวทางการบร ิหารจัดการเง ินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ หลักเกณฑ์การ

ให้เง ินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ การจัดทาแผนธุรกิจสหกรณ์ การจัดทาแผนงานหร ือโครงการประกอบคาขอกู้เง ิน

Annual Report 2022 |

69

ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาเง ินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ระดับจังหวัด ครัง้ ที่ 1/2565 เมื่อวันที่ 24 มกราคม 2565

โดยมีนายชาญชัย ศรศร ีว ิชัย รองผู้ว่าราชการจังหวัดชัยภูมิ เป็นประธานในการประชุม ณ ห้องประชุมสานักงานสหกรณ์จงั หวัด มีมติให้สหกรณ์ก้เู ง ินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ โครงการปกติ อัตราดอกเบี้ยตามชัน ้ ลูกหนี้ จานวน 2 สหกรณ์ 3 สัญญา เป็นเง ิน

10,040,000 บาท โครงการพิเศษ จานวน 5 สหกรณ์ 7 สัญญา เป็นเง ิน 10,160,000 บาท รวมเป็นเง ิน 20,200,000.- บาท

ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาเง ินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ระดับจังหวัด ครัง้ ที่ 2/2565 เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2565

โดยมีนายชาญชัย ศรศร ีว ิชัย รองผู้ว่าราชการจังหวัดชัยภูมิ เป็นประธานในการประชุม ณ ห้องประชุมสานักงานสหกรณ์จงั หวัด มีมติให้สหกรณ์ก้เู ง ินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ โครงการปกติ อัตราดอกเบี้ยตามชัน ้ ลูกหนี้ จานวน 1 สหกรณ์ เป็นเง ิน

4,000,000 บาท โครงการพิเศษ จานวน 2 สหกรณ์ 3 สัญญา เป็นเง ิน 1,480,000 บาท รวมเป็นเง ิน 5,480,000.- บาท

ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาเง ินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ระดับจังหวัด ครัง้ ที่ 3/2565 เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2565

โดยมีนายชาญชัย ศรศร ีว ิชัย รองผู้ว่าราชการจังหวัดชัยภูมิ เป็นประธานในการประชุม ณ ห้องประชุมสานักงานสหกรณ์จงั หวัด มี มติให้สหกรณ์ก้เู ง ินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ โครงการปกติ อัตราดอกเบี้ยตามชัน ้ ลูกหนี้ จานวน 5 สหกรณ์ เป็นเง ิน 3,510,000 บาท โครงการพิเศษ จานวน 1 สหกรณ์ จานวน 1,165,000 บาท รวมเป็นเง ิน 4,675,000.- บาท

Annual Report 2022 |

ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาเง ินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ระดับจังหวัด ครัง้ ที่ 4/2565 เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2565

โดยมีนายชาญชัย ศรศร ีว ิชัย รองผู้ว่าราชการจังหวัดชัยภูมิ เป็นประธานในการประชุม ณ ห้องประชุมสานักงานสหกรณ์จงั หวัด มี มติให้สหกรณ์ก้เู ง ินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ โครงการปกติ อัตราดอกเบี้ยตามชัน ้ ลูกหนี้ จานวน 3 สหกรณ์ เป็นเง ิน 7,067,800 บาท โครงการพิเศษ จานวน 5 สหกรณ์ 6 สัญญา เป็นเง ิน 10,950,000 บาท รวมเป็นเง ิน 18,017,800.- บาท

ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาเง ินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ระดับจังหวัด ครัง้ ที่ 5/2565 เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2565

โดยมีนายชาญชัย ศรศร ีว ิชัย รองผู้ว่าราชการจังหวัดชัยภูมิ เป็นประธานในการประชุม ณ ห้องประชุมสานักงานสหกรณ์จงั หวัด มี

มติให้สหกรณ์ก้เู ง ินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ โครงการปกติ อัตราดอกเบี้ยตามชัน ้ ลูกหนี้ จานวน 1 สหกรณ์ เป็นเง ิน 700,000 บาท โครงการพิเศษ จานวน 2 สหกรณ์ เป็นเง ิน 2,470,000 บาท รวมเป็นเง ิน 3,170,000.- บาท

ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาเง ินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ระดับจังหวัด ครัง้ ที่ 6/2565 เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2565

โดยมีนายชาญชัย ศรศร ีว ิชัย รองผู้ว่าราชการจังหวัดชัยภูมิ เป็นประธานในการประชุม ณ ห้องประชุมสานักงานสหกรณ์จงั หวัด มีมติให้สหกรณ์ก้เู ง ินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ จานวน 1 สหกรณ์ 2 วัตถุประสงค์ เป็นเง ิน 1,250,000.- บาท

70

Annual Report 2022 |

ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาเง ินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ระดับจังหวัด ครัง้ ที่ 7/2565 เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2565

โดยมีนายชาญชัย ศรศร ีว ิชัย รองผู้ว่าราชการจังหวัดชัยภูมิ เป็นประธานในการประชุม ณ ห้องประชุมสานักงานสหกรณ์จงั หวัด มีมติให้สหกรณ์ก้เู ง ินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ โครงการพิเศษ จานวน 3 สหกรณ์ เป็นเง ิน 10,000,000.- บาท

ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาเง ินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ระดับจังหวัด ครัง้ ที่ 8/2565 เมื่อวันที่ 13 กันยายน 2565

โดยมีนายชาญชัย ศรศร ีว ิชัย รองผู้ว่าราชการจังหวัดชัยภูมิ เป็นประธานในการประชุม ณ ห้องประชุมสานักงานสหกรณ์จงั หวัด มีมติให้สหกรณ์ก้เู ง ินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ โครงการปกติ อัตราดอกเบี้ยตามชัน ้ ลูกหนี้ จานวน 2 สหกรณ์ เป็นเง ิน 7,350,000.- บาท

สหกรณ์ลงนามในสัญญาเง ินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์

71

Annual Report 2022 |

72

 โครงการสนับสนุนเง ินทุนเพื่อการพัฒนาอาชีพสมาชิกสหกรณ์ ปีที่ 3 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) สนั บ สนุ น เง น ิ ทุ น แก่ ส หกรณ์ ให้ ส มาชิก กู้ ยื ม เป็ น ทุ น หมุ น เว ยี นในการส่ ง เสร ิมและพั ฒ นาอาชีพ ทาง การเกษตร เพิ่มรายได้อย่างยั่งยืนในการประกอบอาชีพให้แก่สมาชิก

2) สนับสนุนสหกรณ์ให้มีเง ินทุนหมุนเว ียนอัตราต่า ในการให้บร ิการสมาชิก

2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดาเนินการ 1) สหกรณ์การเกษตร สหกรณ์นิคม สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนที่สมาชิกประกอบอาชีพการเกษตร โดย

1.1)สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการจัดหาแหล่งน้าให้สมาชิกสหกรณ์ และโครงการส่งเสร ิมอาชีพสมาชิกสหกรณ์

ที่ได้รบ ั ผลกระทบจากภัยแล้ง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 เป็นลาดับแรก เพื่อเป็นการต่อยอดในการประกอบอาชีพ ของสมาชิก นอกเหนือจากนี้จะต้องมีพื้นที่ทางการเกษตรและมีสระน้าหร ือแหล่งน้าของตนเอง เพื่อให้สามารถ ทาการเกษตรได้

1.2) วงเง ินกู้สหกรณ์ละไม่เกิน 5 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 1 ต่อปี สมาชิกกู้รายละไม่เกิน 50,000

บาท สหกรณ์คิดดอกเบี้ยจากสมาชิกไม่เกินร้อยละ 1 ต่อปี ระยะเวลาให้กู้ 5 ปี ทาสัญญาปีต่อปี และให้สหกรณ์/ สมาชิกส่งชาระหนี้สัญญาปีแรกให้เสร็จสิ้นก่อนพิจารณาให้ก้แ ู ละทาสัญญาเบิกรับเง ินกู้ปีถัดไป 2) พื้นที่การเกษตรของสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการต้องมีน้าเพียงพอตลอดฤดูกาลผลิต

3. ตัวชีว้ ัดความสาเร็จของการดาเนินโครงการ 1) สหกรณ์ที่ก้เู ง ินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ใช้เง ินตามวัตถุประสงค์รอ ้ ยละ 90 2) สมาชิกได้รบ ั เง ินกู้มีรายได้เพิ่มขึ้น อย่างน้อยร้อยละ 70 4. กระบวนงาน สนับสนุนเง ินกู้ให้สหกรณ์เพื่อให้สมาชิกกู้ยืม ดังนี้ 1) การปลูกพืชเสร ิม-พืชแซมในสวน (สวนยาง สวนไม้ยืนต้ น) ได้ แก่ พืชล้มลุกและเป็นพืชอายุ สั้น เช่น

สับปะรด ข้าวโพด ข้าวไร่ ถั่วลิสง ถั่วเขียว ถั่วหรัง่ ถั่วเหลือง แตงโม เผือก มันเทศ กล้วยชนิดต่างๆ มะละกอ หญ้าอาหารสัตว์พืชผักต่าง ๆ เป็นต้น ทั้งนี้ ไม่รวมถึงการปลูกพืชหลัก หร ือพืชเศรษฐกิจตามปกติของสมาชิก

2) การทาการเกษตรแบบผสมผสาน ได้ แก่ การปลูกพืชแบบผสมผสาน การปลูกพืชผสมผสานกั บ การ

เลี้ยงสัตว์และการผสมผสานการเลี้ยงสัตว์ 3) การประกอบอาชีพเสร ิมอื่น เช่น การเพาะเห็ด ฟางจากทะลายปาล์มในสวนยาง การเพาะเห็ดฟาง ใน

ตระกร้า การเพาะถั่วงอก การเลี้ยงผึ้ง การเพาะจิง้ หร ีด เลี้ยงหนอนนก การเลี้ยงกบในบ่อซีเมนต์ บ่อพลาสติก การปลูกผักในโรงเร ือน เป็นต้น

5. งบประมาณที่ได้รบ ั ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สหกรณ์

วงเง ินจัดสรรทีได้รบ ั (บาท)

ผลเบิกจ่าย (บาท)

ร้อยละ

1) สหกรณ์การเกษตรคอนสาร จากัด

1,800,000

1,270,000

70.56

2) สหกรณ์การเกษตรเกษตรสมบูรณ์ จากัด

1,800,000

1,800,000

100.00

3) สหกรณ์การเกษตรแก้งคร้อ จากัด

1,800,000

1,165,000

64.72

4) สหกรณ์การเช่าซือ ้ ที่ดินบ้านแท่น จากัด

1,200,000

1,200,000

100.00

5) สหกรณ์การเกษตรหนองบัวแดง จากัด

1,450,000

1,450,000

100.00

8,050,000

6,885,000

85.53

รวมทั้งสิน

Annual Report 2022 |

73

6. ผลสาเร็จ (Output) ตัวชีว้ ัด/กิจกรรมที่ดาเนินการ

หน่วยนับ

แผน

ผล

ร้อยละ

1) สหกรณ์ ที่ กู้ เ ง น ิ กองทุ น พั ฒ นาสหกรณ์ ใ ช้เ ง น ิ ตามวั ต ถุ ป ระสงค์

สหกรณ์

5

5

100

2) สมาชิกที่ได้รบ ั เง ินกู้มีรายได้เพิ่มขึ้นขั้นต่าอย่างน้อยร้อยละ 70

บาท/ราย

62,000

58,800

94.84

ร้อยละ 90

7. ผลลัพธ์ (Outcome)

สหกรณ์สามารถเข้าถึงแหล่งเง ินทุนอัตราดอกเบี้ยต่าในการให้บร ิการสมาชิกมากขึ้น

8. ผลกระทบ (Impact) 1) ช่วยเพิ่มศักยภาพด้านการผลิตให้แก่สมาชิก และสะสมเง ินออมในรูปทุนเร ือนหุ้น

2) สมาชิกมีรายได้เพิ่มขึ้น สามารถลดต้นทุนการผลิต จากการได้รบ ั เง ินกู้อัตราดอกเบี้ยต่ากว่าเง ินกู้ปกติ

ของสหกรณ์ และต่ากว่าแหล่งเง ินทุนอื่น และสามารถสร้างรายได้เพิ่มจากการประกอบอาชีพการเกษตร 3) กองทุนพัฒนาสหกรณ์สามารถช่วยเหลือสมาชิกในการลดต้นทุนการผลิต

9. ปัญหาอุปสรรคของการดาเนินโครงการ - ไม่มี 10. แนวทางแก้ไข หร ือข้อเสนอแนะ - ไม่มี

นางวราลักษณ์ กุลบวรรัตน์ สหกรณ์จงั หวัดชัยภูมิ พร้อมคณะ ตรวจเยี่ยมสมาชิกสหกรณ์ ที่เข้าร่วมโครงการสนับสนุนเง ินทุนเพื่อการพัฒนาอาชีพสมาชิกสหกรณ์ ปีที่ 3 ซึง่ ได้นาเว ินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์

ไปประกอบอาชีพทาการเกษตรแบบผสมผสาน ทั้งปลูกพืชผักหลากหลายชนิด เลี้ยงวัว และเลี้ยงปลา โดยได้ขุดเจาะบ่อบาดาล และติดตั้งแผงโซล่าร์เซลล์ พร้อมวางระบบการให้น้าแบบน้าหยด ทาให้มีน้าเพียงพอในการปลูกพืชหมุนเว ียนตลอดทั้งปี สามารถสร้างรายได้เฉลี่ยวันละ 600 - 1,000 บาท จากการขายพืชผัก ปลา และผลผลิตอื่น ๆ

Annual Report 2022 |

74

 โครงการพัฒนาการผลิตน้านมโคที่มีคุณภาพลดต้นทุนการผลิต 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) เพื่อยกระดั บการผลิตน้านมโคคุณภาพให้ได้ มาตรฐานตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์และเป็นไป ตามประกาศคณะกรรมการโคนมและผลิตภัณฑ์นม เรอื่ งมาตรฐานการรับซือ ้ น้านมโค พ.ศ. 2558 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดาเนินการ 1) สหกรณ์โคนมที่ต้องการกู้เพื่อพัฒนาการผลิตน้านมโคคุณภาพ 2) สหกรณ์โคนมที่ต้องการกู้เพื่อส่งเสร ิมการขุนลูกโคตัวผู้ โคนมปลดระวาง และการจัดหาโคสาวท้องทดแทนฝูง 3. ตัวชีว้ ัดความสาเร็จของการดาเนินโครงการ ฟาร์มโคนมสมาชิกสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการได้รบ ั การรับรองมาตรฐาน GAP 4. กระบวนงาน 1) กรมส่งเสร ิมสหกรณ์ แต่ งตั้ งคณะทางานขึ้นมา 1 คณะ เพื่อพิจารณาคัดเลือกและติ ดตามการดาเนิ น ตามโครงการ โดยมอบหมายให้ ผู้ เ ชี่ย วชาญด้ า นการพั ฒ นาธุร กิ จ โคนมของสหกรณ์ เป็ น ประธานในการ คัดเลือกและติดตามผลโครงการฯ

2) สหกรณ์ที่มีคุณสมบัติและตรงตามขอบเขตการขอเข้าร่วมโครงการฯยื่นความประสงค์ ตามแบบฟอร์ม แนวคิดกิจกรรม/โครงการย่อ (project idea & brief) มายังคณะทางาน 3) คณะทางาน พิจารณาคัดเลือกสหกรณ์ ที่ยื่นความประสงค์

4) สหกรณ์ที่ได้ รบ ั การพิจารณาตามข้อ 3 จัดทาโครงการและคาขอกู้ยืมเง ิน กพส. ตามแบบและเงอื่ นไข ตามที่ กพส. กาหนด

กิจกรรม (หร ือวัตถุประสงค์) ที่สนับสนุนเง ินกู้ให้สหกรณ์ (1) พัฒนาการผลิตน้านมโคคุณภาพ (1.1) ส่ งเสร ิมและสนั บ สนุน กิ จกรรมการพัฒนาด้ านอาหาร สร้างคลังสารองอาหาร โรงเก็ บ วัต ถุดิ บ

อาหารสัตว์ซอ ื้ เครอื่ งจักร/อุปกรณ์เพื่อผลิตอาหาร TMR เพื่อให้สมาชิกได้อาหารที่ดีมีคุณภาพ

(1.2) สนับสนุนเง ินทุนให้แก่สมาชิกในการปรับปรุงโรงเร ือนให้โคนมมีความสุขสบายเพราะจะส่งผลต่อ

คุณภาพน้านม โรงร ีดพร้อ มอุป กรณ์ให้ มีความทันสมัย ซึ่งเป็นไปตามหลักสุ ขศาสตร์การร ีดนมเพื่อลดการ ปนเปื้ อนของน้านมดิบเพื่อพัฒนาฟาร์มโคนมของสมาชิกให้เข้าสู่มาตรฐาน GAP

(1.3) สนับสนุนเง ินทุนให้สหกรณ์เพื่อจัดหาอุปกรณ์หร ือเครอื่ งมือต่างๆ ที่อยู่ในกระบวนการตรวจสอบ

และการรัก ษาคุ ณ ภาพน้ านมดิ บ เพื่ อ ตรวจสอบคุ ณ ภาพน้ านมดิ บ ให้ แก่ ส มาชิก และปรับ ปรุ งให้ มี คุ ณ ภาพ น้านมดิบที่ดี (2) การส่งเสร ิมการขุนลูกโคตัวผู้, โคนมปลดระวางของสหกรณ์ และการจัดหาโคสาวท้องทดแทนฝูง

(2.1) สนับสนุนเง ินทุนหมุนเว ียนในการจัดหาโคสาวท้องเพื่อขยายฟาร์มหร ือทดแทนโคนมปลดระวาง

ในฟาร์มของสมาชิก (2.2) สนั บ สนุ น เง น ิ ทุ น แก่ ส หกรณ์ ส าหรับ สร้า งคอกเลี้ ย งโคนมปลดระวาง และสนั บ สนุ น เง น ิ ทุ น

หมุนเว ียนเพื่อขุนโคตัวผู้และโคนมปลดระวางของสมาชิก

หมายเหตุ : การกู้ยืมภายใต้ โ ครงการนี้ กรณี มีการกู้ยืมในวัต ถุป ระสงค์ เดิ ม รายชื่อสมาชิกที่เข้าร่วม

โครงการต้องไม่ซ้ากับสมาชิกรายเดิมที่ได้รบ ั การจัดสรรไปในวัตถุประสงค์นั้น ๆ แล้ว 5. วงเง ินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ที่ได้รบ ั จัดสรรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สหกรณ์

วงเง ินจัดสรรทีได้รบ ั (บาท)

ผลเบิกจ่าย (บาท)

ร้อยละ

สหกรณ์โคนมเทพสถิต จากัด

5,000,000

5,000,000

100.00

รวมทั้งสิน

5,000,000

5,000,000

100.00

Annual Report 2022 |

6. ผลสาเร็จ (Output) ตัวชีว้ ัด/กิจกรรมที่ดาเนินการ

หน่วยนับ

แผน

ผล

ร้อยละ

ฟาร์มโคนมสมาชิกสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการได้รบ ั การรับรองมาตรฐาน GAP

ฟาร์ม

18

4

22.22

7. ผลลัพธ์ (Outcome) สหกรณ์สามารถเข้าถึงแหล่งเง ินทุนอัตราดอกเบี้ยต่าในการให้บร ิการสมาชิกมากขึ้น 8. ผลกระทบ (Impact) 1) สหกรณ์สามารถพัฒนาการผลิตน้านมโคของสมาชิกให้มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน 2) สหกรณ์สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตส่งผลให้ลดต้นทุนการผลิตได้ 9. ปัญหาอุปสรรคของการดาเนินโครงการ - ไม่มี 10. แนวทางแก้ไข หร ือข้อเสนอแนะ - ไม่มี

75

Annual Report 2022 |

76

 โครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกร เพื่อเข้าถึ งแหล่งเง ินทุนในการผลิตและ การตลาด 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) สนับสนุนเง ินกู้ยืมให้กับกลุ่มเกษตรกรเฉพาะที่ผ่านมาตรฐานของกรมส่งเสร ิมสหกรณ์ เพื่อให้มีเง ินกู้ยืม ใช้เป็นเง ินทุนหมุนเว ียนในแต่ละปี

2) เพื่อส่งเสร ิมเกษตรกรให้สามารถจัดหาปัจจัยการผลิตทางการเกษตรที่มีคุณภาพ และ ราคายุติธรรม

ตรงตามความประสงค์ของเกษตรกรเอง เพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกร รวมทั้งสร้างรายได้เพิ่ม จากการรวบรวมผลผลิตเพื่อจาหน่าย หร ือแปรรูปผลผลิตร่วมกัน

3) สร้างโอกาสการเข้า ถึ งแหล่ง เงน ิ ทุน ให้ กับ เกษตรกร เพื่อร่วมกั นแก้ ไขปัญหาและสร้าง ความยั่งยืน

ในการเพิ่มทุนภายใน เพื่อให้การบร ิหารจัดการกลุ่มเกษตรกรมีศักยภาพและความเข้มแข็ง 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดาเนินการ สนับสนุนเง ินทุนเพื่อเป็นเง ินกู้ยืมให้กับกลุ่มเกษตรกรทาสวนชุมชนบ้านดินตาบลบ้านไร่ เพื่อจัดหาปัจจัยการ ผลิตมาจาหน่ายให้กับสมาชิก

ระยะเวลาดาเนินการ : ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2565 ถึงปี พ.ศ. 2568 รวมระยะเวลา 3 ปี

3. ตัวชีว้ ัดความสาเร็จของการดาเนินโครงการ 1) กลุ่มเกษตรกรเข้าถึงแหล่งเง ินทุนต้นทุนต่า ใช้เป็นทุนหมุนเว ียน

2) เสร ิมสร้างสภาพคล่องด้านเง ินทุนให้กับกลุ่มเกษตรกร ให้สามารถจัดหาปัจจัยการผลิตทางการเกษตรที่ มีคุณภาพ และราคายุติธรรมให้แก่สมาชิก 4. กระบวนงาน 1) ประสานกลุ่มเกษตรกรเป้าหมายในการดาเนิ นกิ จกรรมการดาเนินการสร้างความเข้มแข็งให้ กับกลุ่ม เกษตรกรเพื่อเข้าถึงแหล่งเง ินทุนในการผลิตและการตลาด

2) ว ิเคราะห์คาขอกู้ของกลุ่มเกษตรกร ตรวจสอบความถูกต้ องของเอกสาร เพื่อนาเสนอคณะกรรมการ

พิจารณาเง ินกู้ 3) จัดประชุ มคณะกรรมการพิจารณาเง ินกู้โครงการสร้างความเข้มแข้งให้ กับ กลุ่มเกษตรกรเพื่อเข้า ถึ ง

แหล่งเง ินทุนในการผลิตและการตลาด

4) แจ้ง ผลการพิ จ ารณาอนุ มั ติ ให้ ก ลุ่ ม จั ด ท าขอเบิ ก จั ด ท าสั ญ ญา หนั ง สื อ ค้ า ประกั น และเอกสาร ประกอบการขอเบิก

5) แจ้งผลอนุมัติ โอนเง ินเข้าบัญชีกลุ่มเกษตรกรที่ได้รบ ั อนุมัติให้กู้ 6) ติดตามการใช้เง ินกู้ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์

5. งบประมาณที่ได้รบ ั ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทงบรายจ่าย

งบประมาณทีไ่ ด้รบ ั (บาท)

ผลเบิกจ่าย

ร้อยละ

งบดาเนินงาน

5,500

5,500

100

เง ินกองทุนสงเคราะห์ฯ

1,200,000

200,000

16.67

เง ินจ่ายขาด

5,000

1,720

34.40

รวมทั้งสิน

1,210,500

207,220

17.12

Annual Report 2022 |

77

6. ผลสาเร็จ (Output) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร

จานวน

ต้ นเง ินกู้ยืม (บาท)

วัตถุประสงค์ (ราย)

(บาท)

คงเหลือ (บาท)

10

200,000

10

-

200,000

สมาชิก

กลุ่มเกษตรกรชุมชนบ้านดินตาบลบ้านไร่

ใช้เง ินกู้ตรงตาม

ชาระ

ต้ นเง ินกู้ยืม

7. ผลลัพธ์ (Outcome)

1) กลุ่มเกษตรกรมีเง ินทุนหมุนเว ียนในการดาเนินธุรกิจของกลุ่มเกษตรกร 2) กลุ่มเกษตรกรเข้าถึงแหล่งเง ินทุนต้นทุนต่า แก้ปัญหาาและสร้าง ความยั่งยืนในการเพิ่มทุนภายในของ

กลุ่มเกษตรกร

3) สมาชิกมีปัจจัยการผลิตที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน และราคายุติธรรม ช่วยให้ต้นทุนการผลิตต่า

8. ผลกระทบ (Impact) - ไม่มี 9. ปัญหาอุปสรรคของการดาเนินโครงการ - ไม่มี 10. แนวทางแก้ไข หร ือข้อเสนอแนะ - ไม่มี

 โครงการสนับสนุนเง ินทุนเพื่อสร้างระบบน้าในไร่นาของสมาชิกสถาบันเกษตรกร (ระยะที่ 2) 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) เพื่อสร้างโอกาสในการทาเกษตรกรรม และลดความเสี่ยงจากการขาดแคลนน้า

2) เพื่อ ส่ งเสร ิมการจัด ระบบไร่น าของเกษตรกรให้ มีความยั่งยืน มีแหล่งน้าในฟาร์มของตนเอง ลดการ พึ่งพาน้าจากระบบชลประทานและแหล่งน้าธรรมชาติ 3) เพื่ อ สร้า งการเปลี่ ย นแปลงจากระบบการท าเกษตรกรรมแบบพึ่ ง ธรรม ชาติ เ ป็ น การเกษตรแบบ

บร ิหารจัดการเพื่อลดความเสี่ยงจากการขาดน้า 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดาเนินการ

สมาชิกเข้าร่วมโครงการ 249 ราย เป็นสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 7 แห่ง คุณสมบัติของสมาชิก มีดังนี้ 1) สมาชิกต้องไม่เคยได้รบ ั การสนับสนุนจากโครงการอื่นของรัฐในลักษณะเดียวกัน

2) มีกรรมสิทธิห ์ ร ือสิทธิท ์ ากินในพื้นที่ถูกต้องตามกฎหมาย หากเช่าทากินต้องมีระยะเวลาเช่าต่อเนื่อง

3) พื้นที่ทากินรายละ 10 ไร่ หร ือรวมสมาชิกทุกรายในสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเฉลี่ยแล้วได้ รายละ 10 ไร่

ระยะเวลาดาเนินการ : ตั้ งแต่ ปี พ.ศ. 2563 ถึ งปี พ.ศ. 2568 รวมระยะเวลา 6 ปี นั บจากวันที่เบิกเง ินจาก กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร 3. ตัวชีว้ ัดความสาเร็จของการดาเนินโครงการ 1) สมาชิกสมัครใจและเข้าร่วมโครงการทุกรายตามที่แจ้งความประสงค์ 2) ระบบน้าในไร่นาของสมาชิกกลุ่มเป้าหมายมีน้าใช้เพื่อทาการเกษตรหร ือการพัฒนาระบบน้าสามารถมีน้า

ใช้ในไร่นาได้จร ิงไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

3) สมาชิก ในกลุ่ ม เป้ า หมายสามารถลดความเสี่ ย งจากที่ เ กิ ด จากภั ย แล้ ง การขาดแคลนน้ า ใช้ เ พื่ อ การเกษตรหร ือมีระบบน้าใช้เพื่อการเกษตรไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 4. กระบวนงาน 1) จัดประชุมชีแ ้ จงโครงการแก่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ 2) สารวจพื้นที่สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ โดยเจ้าหน้าที่สานักงานสหกรณ์จงั หวัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

เพื่อจัดทาข้อมูลและแผนที่ตาแหน่งแปลงของสมาชิกที่จะเข้าร่วมโครงการ

3) เข้าร่วมประชุมกับสหกรณ์/กลุ่มฯ ในครัง้ ที่มีมติขอกู้เง ิน และรวบรวม/ ตรวจสอบเอกสาร

Annual Report 2022 |

78

4) จัดประชุมคณะกรรมการพิจารณาเง ินกู้ฯ เพื่ออนุมัติเง ินกู้ให้สถาบันเกษตรกร 5) ติดตามการใช้เง ินกู้ยืมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ 6) ติดตามเร่งรัดหนี้ให้เป็นไปตามกาหนด 5. งบประมาณที่ได้รบ ั ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทงบรายจ่าย

งบประมาณทีไ่ ด้รบ ั (บาท)

ผลเบิกจ่าย

ร้อยละ

เง ินจ่ายขาด

8,960

5,640

62.95

รวมทั้งสิน

8,960

5,640

62.95

6. ผลสาเร็จ (Output) สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร

จานวน

สมาชิก

ต้ นเง ินกู้ยืม

ใช้เง ินกู้ตรงตาม

(บาท)

วัตถุประสงค์ (ราย)

ชาระงวดที่ 1

ต้ นเง ินกู้ยืม

(บาท)

คงเหลือ (บาท)

1. สหกรณ์การเกษตรบ้านแท่น จากัด

14

700,000

14

175,000

525,000

2. สหกรณ์การเช่าซือ ้ ที่ดินบ้านแท่น จากัด

29

1,320,000

29

330,000

990,000

3. สหกรณ์การเกษตรแก้งคร้อ จากัด

53

2,650,000

53

662,500

1,987,500

11

530,000

11

132,500

397,500

4. สหกรณ์การเกษตรหนองบัวแดง จากัด

97

4,800,000

97

1,200,000

3,600,000

5. สหกรณ์การเกษตรทุ่งซาเสี้ยว จากัด

7

350,000

7

87,500

262,500

6. สหกรณ์โคนมเทพสถิต จากัด

16

800,000

16

200,000

600,000

7. สหกรณ์การเกษตรเมืองชัยภูมิ จากัด รวม

22 249

1,100,000 12,250,000

22 249

275,000

825,000

3,062,500

9,187,500

7. ผลลัพธ์ (Outcome)

1) สมาชิกเข้าถึงแหล่งเง ินทุนต้นทุนต่า 2) สมาชิกมีโอกาสวางแผนการผลิตก่อนหร ือหลังฤดูกาลได้ เนื่องจากมีแหล่งน้าต้ นทุน ส่งผลให้ผลผลิต

ทยอยออกสู่ตลาดในระยะเวลาที่เหมาะสม

3) ลดความเสี่ยงจากว ิกฤตการขาดแคลนน้า เนื่องจากธรรมชาติ เปลี่ยน ลดความเสี่ยงจากภัยแล้งท าให้

สมาชิกประกอบอาชีพเกษตรกรรมได้อย่างต่อเนื่องตลอดฤดูกาล 4) สมาชิกมีน้าใช้เพื่อทาการเกษตรและสามารถวางแผนการเพาะปลูกได้เอง

ตรวจเยี่ยมสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการสนับสนุนเง ินทุนเพื่อสร้างระบบน้าในไร่นาของสมาชิกสถาบันเกษตรกร (ระยะที่ 2)

Annual Report 2022 |

79

 โครงการปรับโครงสร้างการผลิต การรวบรวม และการแปรรูปของสถาบันเกษตรกร รองรับ ผลผลิตทางการเกษตร (พรก.เง ินกู้) 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) เพื่อยกระดั บศักยภาพสถาบันเกษตรกรให้เป็นศูนย์กลางในการบร ิหารจัดการผลผลิตทางการเกษตร ตลอดห่วงโซ่การผลิตสินค้าเกษตร

2) เพื่อสนับสนุนและส่งเสร ิมให้สถาบันเกษตรกรเป็นกลไกหลักในระดับชุมชนในการอานวยความสะดวก

ให้แก่สมาชิกและเกษตรกรทั่วไปในการเพาะปลูก การรวบรวม จัดเก็บ และแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร 3) ผลั ก ดั น ให้ ส หกรณ์ / กลุ่ ม เกษตรกรที่ ข อรับ การสนั บ สนุ น ให้ ค วามช่ว ยเหลื อ เกษตรกรสมาชิก และ

เกษตรกรทั่วไปที่ได้รบ ั ผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชือ ้ ไวรัสโคโรนา 2019 ในระดับพื้นที่ให้มีรายได้

จากการประกอบอาชีพเกษตรอย่างต่ อเนื่อง และเพิ่มช่องทางจาหน่ายผลผลิตการเกษตรในภาวะความผัน ผวนของตลาดสินค้าเกษตร

2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดาเนินการ 1) สหกรณ์การเกษตรแก้งคร้อ จากัด

2) สหกรณ์การเกษตรหนองบัวแดง จากัด 3) สหกรณ์การเกษตรคอนสาร จากัด 4) สหกรณ์การเกษตรโครงการทุ่งลุยลาย จากัด 3. ตัวชีว้ ัดความสาเร็จของการดาเนินโครงการ สหกรณ์ เ ป้ า หมายได้ ร บ ั การสนั บ สนุ น เคร อื่ งจัก รกลการเกษตร รวมถึ ง โครงสร้า งพื้ น ฐานและอุ ป กรณ์ การตลาดที่จาเป็นในการเพาะปลูก รวบรวม และแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/ให้ บร ิการสมาชิกเกี่ยวกับ ผลผลิตเกษตร

4. กระบวนงาน

1) แจ้งให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จัดทาคาขอรับการสนับสนุนงบประมาณมายังสานักงานสหกรณ์จงั หวัด 2) รับคาขอรับการสนับสนุนงบประมาณและตรวจสอบหลักเกณฑ์และคุณสมบัติตามที่กรมฯ กาหนด และ

จัดส่งให้กรมส่งเสร ิมสหกรณ์ ซึง่ ต้ องตรวจสอบเอกสารรายการเกี่ยวกับการขอรับงบประมาณ จานวนอย่าง น้อย 12 รายการ ให้ถูกต้องครบถ้วน

3) แจ้งรายการเงน ิ อุด หนุน ให้ สหกรณ์ ทราบ ตรวจสอบรายการและยืนยันความพร้อม และเตร ียมการ จัดซือ ้ จัดจ้างตามระเบียบของสหกรณ์

4) แนะนาส่งเสร ิมสหกรณ์ให้ดาเนินการจัดซือ ้ จัดจ้างเป็นไปตามระเบียบของสหกรณ์ 5) จัดส่งผลการจัดซือ ้ จัดจ้างตามวงเง ินที่ได้รบ ั ในการจัดซือ ้ จัดจ้างให้กรมส่งเสร ิมสหกรณ์พิจารณา 6) จัดทาบันทึกข้อตกลงยินยอมปฏิบัติตามเงอื่ นไขการสนับสนุนระหว่างกรมส่งเสร ิมสหกรณ์ กับสหกรณ์/

กลุ่มเกษตรกร

7) โอนเง ินให้สหกรณ์ ตามชือ ่ บัญชีที่สหกรณ์เปิดเพื่อรองรับการสนับสนุน

8) แนะนา ส่งเสร ิมให้สหกรณ์ใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์ที่ได้รบ ั ตามแผนงาน/โครงการ 9) รายงานผลการดาเนินงาน 5. งบประมาณที่ได้รบ ั ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทงบรายจ่าย

งบประมาณทีไ่ ด้รบ ั (บาท)

ผลเบิกจ่าย

ร้อยละ

งบเง ินอุดหนุน

3,235,300

3,191,700

98.65

รวมทั้งสิน

3,235,300

3,191,700

98.65

Annual Report 2022 |

80

6. ผลสาเร็จ (Output) ตัวชีว้ ัด/กิจกรรมที่ดาเนินการ

หน่วยนับ

แผน

ผล

ร้อยละ

สหกรณ์เป้าหมายได้รบ ั การสนับสนุนเครอื่ งจักรกลการเกษตร รวมถึง

แห่ง

4

4

100

โครงสร้า งพื้ น ฐานและอุ ป กรณ์ ก ารตลาดที่ จ าเป็ น ในการเพาะปลู ก

รวบรวม และแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร/ให้บร ิการสมาชิกเกี่ยวกับ ผลผลิตเกษตร

7. ผลลัพธ์ (Outcome) สหกรณ์มีปร ิมาณธุรกิจรวบรวมหร ือแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 เมื่อเทียบ

กับปร ิมาณธุรกิจเดิมในปีที่ผ่านมา 8. ผลกระทบ (Impact)

สหกรณ์สามารถยกระดับศักยภาพในการเป็นศูนย์กลางในการบร ิหารจัดการสินค้าเกษตรในระดับชุมชน

ตามศักยภาพ

9. ปัญหาอุปสรรคของการดาเนินโครงการ - ไม่มี 10. แนวทางแก้ไข หร ือข้อเสนอแนะ - ไม่มี

สหกรณ์การเกษตรแก้งคร้อ จากัด

สหกรณ์การเกษตรหนองบัวแดง จากัด

สหกรณ์การเกษตรโครงการทุ่งลุยลาย จากัด

สหกรณ์การเกษตรคอนสาร จากัด

Annual Report 2022 |

81

3) รางวัลที่หน่วยงานได้รับจากหน่วยงานภาคส่วนต่างๆ ภายนอก  การเสนอผลงานสมัครขอรับรางวัลเลิศรัฐ 1. วัตถุประสงค์ของงาน/โครงการ 1) เพื่อเป็นสร้างขวัญกาลังใจในการปฏิบัติงาน 2) เพื่ อ เชิด ชู เ กี ย รติ ส ร้า งขวั ญ ก าลั ง ใจให้ แ ก่ เ จ้า หน้ า ที่ ที่ มี ค วามโดดเด่ น ในการพั ฒ นาการให้ บ ร ิการที่

สามารถตอบสนองและสร้างความพึงพอใจให้แก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรผู้รบ ั บร ิการ 2. กลุ่มเป้าหมาย/พื้นที่เป้าหมายดาเนินการ กลุ่มเกษตรกรปลูกหม่อนเลี้ยงไหมดงบัง 3. ตัวชีว้ ัดความสาเร็จของการดาเนินโครงการ

จัดทาผลงานขอรับรางวัลเลิศรัฐเสนอกรมส่งเสร ิมสหกรณ์เพื่อพิจารณาคัดเลือก 1 เรอื่ ง 4. กระบวนงาน 1) แต่งตั้งคณะทางานระดับจังหวัด 2) ประชุมคณะทางานเพื่อทาความเข้าใจแนวทางการสมัครขอรับรางวัลเลิศรัฐ

3) คณะทางานศึกษาดูงานจากหน่วยงานที่ได้รบ ั รางวัลเลิศรัฐในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 4) ประชุมคณะทางานเพื่อพิจารณาคัดเลือกสถาบันเพื่อสมัครขอรับรางวัลเลิศรัฐ 5) คณะทางานร่วมจัดทาใบสมัครตามแนบที่ ก.พ.ร. กาหนด

6) จัดส่งใบสมัครให้กรมส่งเสร ิมสหกรณ์เพื่อพิจารณาคัดเลือกผลงาน 7) รับคาปร ึกษาจากผู้เชีย ่ ญชาญเพื่อปรับแก้ไขใบสมัครให้สมบูรณ์

8) จัดส่งใบสมัครขอรับรางวัลเลิศรัฐฉบับสมบูรณ์ ให้กรมส่งเสร ิมสหกรณ์เพื่อส่งสานักงาน ก.พ.ร. 5. งบประมาณที่ได้รบ ั ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 - ไม่มี 6. ผลสาเร็จ (Output) ตัวชีว้ ัด/กิจกรรมที่ดาเนินการ จัดทาผลงานเสนอกรมส่งเสร ิมสหกรณ์เพื่อพิจารณาคัดเลือก

หน่วยนับ

แผน

ผล

ร้อยละ

ผลงาน

1

1

100

7. ผลลัพธ์ (Outcome)

สานักงานสหกรณ์จังหวัดชัยภูมิส่งผลงานขอรับรางวัลเลิศรัฐ กรมส่งเสร ิมสหกรณ์ 1 ผลงาน รางวัลการ

บร ิหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประเภทร่วมใจแก้จน ชือ ่ ผลงาน “สืบสานต่อยอดอาชีพหม่อนไหม ดงบังร่วมใจ ชุมชนพอเพียง” ได้ รบ ั คัดเลือกจากกรมส่งเสร ิมสหกรณ์ให้เสนอผลงานเพื่อขอรับรางวัลส่งสานักงาน ก.พ.ร. พิจารณา

8. ผลกระทบ (Impact) ได้ รบ ั การพิจารณาจากสานั กงาน ก.พ.ร. ให้ รบ ั รางวัลการบร ิหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประเภทร่วมใจ

แก้จน ระดับดี

9. ปัญหาอุปสรรคของการดาเนินโครงการ

คณะทางานขาดทักษะความรูค ้ วามเข้าใจในแนวทางการจัดทาใบสมัคร

10. แนวทางแก้ไข หร ือข้อเสนอแนะ ศึกษาผลงานและดูงานเร ียนรูจ้ ากหน่วยงานที่ได้รบ ั รางวัลในปีก่อน

Annual Report 2022 |

82

Annual Report 2022 |

ส่วนที่ 3 กิจกรรมประชาสัมพั นธ์งานสหกรณ์ฯ และสร้างภาพลักษณ์หรือวัฒนธรรม องค์กรของหน่วยงาน ในรอบปี งบประมาณ พ.ศ. 2565

83

Annual Report 2022 |

1) งานบูรณาการร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ภายในจังหวัด การแก้ไขและบรรเทาปัญหาค่าครองชีพของประชาชน

กิจกรรม การจาหน่ายสินค้าอุปโภคบร ิโภคราคาประหยัด

สหกรณ์รว่ มจาหน่ายสินค้าราคาประหยัดช่วยแก้ไขและบรรเทาปัญหาค่าครองชีพ ในกิจกรรมธงฟ้าราคาประหยัด บูรณาการกับสานักงานพาณิชย์จงั หวัดชัยภูมิ ระหว่างวันที่ 29 – 30 มกราคม 2565

ณ บร ิเวณหน้าว ิทยาลัยเทคโนโลยีบร ิหารธุรกิจ มียอดจาหน่ายสินค้า ดังนี้ 1. สหกรณ์การเกษตรคอนสาร จากัด สินค้า 10 รายการ มูลค่า 12,000 บาท 2. สหกรณ์การเกษตรบ้านเขว้า จากัด สินค้า 12 รายการ มูลค่า 8,506 บาท

84

Annual Report 2022 |

การช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยในจังหวัดชัยภูมิ

สานักงานสหกรณ์จงั หวัดชัยภูมิ ร่วมบร ิจาคอาหารและเครอื่ งดื่ม

เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้าท่วม ในพื้นที่จงั หวัดชัยภูมิ ณ สานักงานเหล่ากาชาดจังหวัดชัยภูมิ

สานักงานสหกรณ์จงั หวัดชัยภูมิ เป็นตัวแทนขบวนการสหกรณ์ในจังหวัดชัยภูมิ ร่วมบรรจุข้าวกล่อง จานวน 13,000 กล่อง และมอบน้าดื่มบรรจุขวด 600 แพ็ค ให้กับโรงครัวพระราชทานมูลนิธอ ิ าสาเพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยามยาก สภากาชาดไทย เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยน้าท่วมในจังหวัดชัยภูมิ

85

Annual Report 2022 |

โครงการ "สหกรณ์ไทย ร่วมใจทาดีเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตพ ิ์ ระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 90 พรรษา 12 สิงหาคม 2565" กิจกรรมถวายภัตตาหารเพล ณ มหาว ิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชว ิทยาลัย ว ิทยาลัยสงฆ์ชย ั ภูมิ อาเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ

กิจกรรมทาบุญถวายหลอดไฟส่องสว่าง เพื่อถวายมหาว ิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชว ิทยาลัย ณ ว ิทยาลัยสงฆ์ชย ั ภูมิ อาเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ

86

Annual Report 2022 |

กิจกรรมจิตอาสาพระราชทาน สานักงานสหกรณ์จงั หวัดชัยภูมิ จัดกิจกรรมจิตอาสา ทาความสะอาดบร ิเวณวัดสว่างอารมณ์ ตาบลในเมือง อาเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ

กิจกรรมสาธารณประโยชน์

สานักงานสหกรณ์จงั หวัดชัยภูมิ

ให้การสนับสนุนกองทุนผ้าป่า ATK เพื่อชาวชัยภูมิ ร่วมบร ิจาค ชุดตรวจหาเชือ ้ ไวรัสโคโรน่า 2019 จานวน 175 ชุด

87

Annual Report 2022 |

2) การจัดงาน/กิจกรรมต่าง ๆ ในวันสหกรณ์แห่งชาติ

วางพานพุ่มเพื่อถวายสักการะและน้อมราลึกถึงพระกรุณาธิคุณ ของพระราชวรวงศ์เธอกรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ "พระบิดาแห่งการสหกรณ์ไทย" เนื่องในวันสหกรณ์แห่งชาติ ประจาปี 2565 (26 กุมภาพันธ์ ของทุกปี)

ณ บร ิเวณลานหน้าพระรูปพระราชวรวงศ์เธอกรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ สานักงานสหกรณ์จงั หวัดชัยภูมิ

88

Annual Report 2022 |

89

3) ภาพกิจกรรมของหน่วยงานร่วมกับจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

โดยมีนายไกรสร กองฉลาด ผู้ว่าราชการจังหวัดชัยภูมิ เป็นประธานในพิธฯี ณ หน้าศาลากลางจังหวัดชัยภูมิ (หลังเก่า)

โดยร่วมกันกับข้าราชการทุกภาคส่วน พัฒนารักษาความสะอาดวัด ณ วัดมัชฌิมาวาส ตาบลบ้านเขว้า อาเภอบ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ

Annual Report 2022 |

ร่วมกิจกรรมรณรงค์การฉีดวัคซีนเข็มกระตุ้น และทาความสะอาด/กาจัดแหล่งเพาะพันธุล ์ ูกน้ายุงลาย ณ บ้านส้มกบ หมู่ที่ 5 และ 10 ตาบลสระโพนทอง อาเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ

ณ บร ิเวณถนนเฉลิมพระเกียรติ ตาบลนาฝาย อาเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ

90

Annual Report 2022 |

เข้าร่วมอบรมการตรวจหาเชือ ้ โคว ิด-19ด้วยตนเอง โดยชุดตรวจคัดกรอง Antigen Test Kit (ATK) เพื่อดาเนินการตรวจคัดกรอง ให้กับเจ้าหน้าที่ พนักงาน ลูกจ้าง ของสานักงานสหกรณ์จงั หวัดชัยภูมิ ตามนโยบายของจังหวัดชัยภูมิ โดยตรวจหาเชือ ้ เป็นประจาอย่างน้อยทุก 7 วัน ณ ห้องประชุมเตชะธัมโม สานักงานสาธารณสุขจังหวัดชัยภูมิ

91

Annual Report 2022 |

4) ภาพกิจกรรมของหน่วยงานร่วมกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยสันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทย ณ วัดธาตุเจดีย์ ตาบลสามสวน อาเภอบ้านแท่น จังหวัดชัยภูมิ

สานักงานสหกรณ์จงั หวัดชัยภูมิ ร่วมกับขบวนการสหกรณ์จงั หวัดชัยภูมิ ร่วมขบวนแห่บายศร ี งานประเพณีบุญเดือนหก ประจาปี 2565 เพือ ่ แสดงออกถึงความกตัญญูกตเวทิตาคุณ

ต่อพระยาภักดีชุมพล หร ือเจ้าพ่อพญาแล ผู้ก่อตั้งเมืองชัยภูมิ และอนุรก ั ษ์ สืบสานขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมอันดีงาม เสร ิมสร้างความรักความสามัคคีของชาวชัยภูมิ

92

Annual Report 2022 |

เพื่อเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิร ิกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เนื่องในโอกาสมงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 90 พรรษา 12 สิงหาคม 2565 และปลูกหญ้าแฝก โดยสานักงานสหกรณ์จงั หวัดชัยภูมิ ร่วมกับหน่วยงานสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

พร้อมด้วยเคร ือข่ายสหกรณ์ออมทรัพย์จงั หวัดชัยภูมิ ณ สถานีพัฒนาที่ดินชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ

สานักงานสหกรณ์จงั หวัดชัยภูมิ ร่วมกับขบวนการสหกรณ์จงั หวัดชัยภูมิ ร่วมขบวนแห่บายศร ี งานประเพณีบุญเดือนหก ประจาปี 2565 เพือ ่ แสดงออกถึงความกตัญญูกตเวทิตาคุณ ต่อพระยาภักดีชุมพล หร ือเจ้าพ่อพญาแล ผู้ก่อตั้งเมืองชัยภูมิ และอนุรก ั ษ์ สืบสาน

ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมอันดีงาม เสร ิมสร้างความรักความสามัคคีของชาวชัยภูมิ

93

Annual Report 2022 |

สานักงานสหกรณ์จงั หวัดชัยภูมิ ร่วมกับเคร ือข่ายสหกรณ์ในจังหวัดชัยภูมิ จัดกิจกรรม สหกรณ์ไทย ร่วมใจทาดี เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิร ิกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพน ั ปีหลวง เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนพรรษา 90 พรรษา 12 สิงหาคม 2565

กิจกรรม “จิตอาสา ปันน้าใจให้น้อง” โดยมีการมอบอุปกรณ์การเร ียน อุปกรณ์การกีฬา พร้อมทั้งมอบทุนการศึกษา จานวน 20 ทุน และเลี้ยงอาหารกลางวันแก่นักเร ียน โรงเร ียนบ้านหนอง ไผ่ลอ ้ ม ตาบลหนองบัวใหญ่ อาเภอจัตุรส ั จังหวัดชัยภูมิ

94

Annual Report 2022 |

เนื่องในวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร วันชาติและวันพ่อแห่งชาติ 5 ธันวาคม 2564 โดยมีนายไกรสร กองฉลาด ผู้ว่าราชการจังหวัดชัยภูมิ เป็นประธานในพิธฯี ณ บร ิเวณหน้าศาลากลางจังหวัดชัยภูมิ (หลังเก่า)

ร่วมพิธวี างพานพุ่มเพื่อถวายพระราชสักการะแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช "พระบิดาแห่งมาตรฐานการช่างไทย" และวันมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ประจาปี 2565 โดยมีนายชาญชัย ศรศร ีว ิชัย รองผู้ว่าราชการจังหวัดชัยภูมิเป็นประธานในพิธ ี ณ ห้องประชุมโรงเร ียนเมืองพญาแลว ิทยา อาเภอเมืองชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ

95

Annual Report 2022 |

96

Annual Report 2022 |

ส่วนที่ 4 รายงานข้อมูลงบการเงิน (ณ วันที่ 30 กันยายน 2565)

97

Annual Report 2022 |

98

สานักงานสหกรณ์จงั หวัดชัยภูมิ งบแสดงฐานะการเง ิน

ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 หมายเหตุ

ปี 2565 (บาท)

ปี 2564 (บาท)

สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเว ียน เง ินฝากคลัง

เง ินฝากธนาคาร

41,250.00

54,480.00

-

5,200.00

ลูกหนี้เง ินยืมในงบประมาณ

27,540.00 -

203,722.00

รวมสินทรัพย์หมุนเว ียน

68,790.00

271,142.00

4,686,444.68

5,676,854.86

4,686,444.68

5,676,854.86

4,755,234.68

5,947,996.86

-

109,700.00

เง ินประกันอื่น

41,250.00

54,480.00

ค่าใช้จา่ ยค้างจ่าย

11,940.33

ค้างรับจาก บก.

สินทรัพย์ไม่หมุนเว ียน

อาคาร อุปกรณ์ (สุทธิ) รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเว ียน

รวมสินทรัพย์

2

4,740.00

หนี้สินและทุนของสานักงาน หนี้สินหมุนเว ียน

ใบสาคัญค้างจ่าย เจ้าหนี้การค้าภายนอก รวมหนี้สินหมุนเว ียน

-

100,000.00

53,190.33

279,023.87

6,641,738.78

6,641,738.78

972,765.79

790,256.27

11,843.87

ทุนของสานักงาน ทุน รายได้สูงต่าค่าใช้จา่ ยสะสม

รายได้/ขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้น

(966,928.64)

(1,763,022.06)

รวมทุน

4,702,044.35

5,668,972.99

รวมหนี้สินและทุนของหน่วยงาน

4,755,234.68

5,947,996.86

หมายเหตุ ประกอบงบการเง ินเป็นส่วนหนึ่งของงบการเง ิน

Annual Report 2022 |

99

สานักงานสหกรณ์จงั หวัดชัยภูมิ

งบแสดงผลการดาเนินงานทางการเง ิน ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 หมายเหตุ รายได้จากการดาเนินงาน รายได้ดอกเบี้ยอื่น รายได้เหลือจ่าย

ปี 2565 (บาท)

ปี 2564 (บาท)

47,684.79

426,880.81

-

17,300.00

37,634.97

รายรับจากขายครุภัณฑ์ รายได้จากการบร ิจาค

รายได้ระหว่างกันในกรม รายได้ไม่ใช่ภาษีอื่น

-

20,630.00

23,804.70

-

5,124,038.86

4,771,682.90

781,600.00

125,400.00

4,600.00

TR-รับงบบุคลากร TR-รับงบลงทุน

TR-รับงบดาเนินงาน TR-รับงบอุดหนุน TR-รับงบกลาง

TR-ส่วนราชการรับเง ินนอก TR-ปรับเง ินฝากคลัง

-

4,815,535.00

5,620,347.19

2,921,568.14

3,975,193.74

-

3,191,700.00

88,360.00

54,878.00

300,354.70

TR-รับเง ินกู้

5,000.00

177,698.09

76,730.00

57,480.00

14,221,911.16

18,444,190.73

ค่าใช้จา่ ยงบกลาง

3

4

6,099,540.28

6,162,783.90

ค่าใช้จา่ ยงบดาเนินงาน ค่าสาธารณูปโภค

5

6

2,890,391.82

3,475,485.32

ค่าเสื่อมราคา

7

1,747,081.55

1,841,642.50

9

2,921,568.14

7,166,893.74

499,105.28

299,283.00

89,919.76

449,180.81

15,188,839.80

20,207,212.79

(966,928.64)

(1,763,022.06)

รวมรายได้จากการดาเนินงาน ค่าใช้จา่ ยจากการดาเนินงาน ค่าใช้จา่ ยงบบุคลากร

ค่าใช้จา่ ยอื่น อุดหนุน

T/E เบิกเกินส่งคืน

T/E โอนเง ินให้ส่วนราชการ T/E โอนรายได้แผ่นดินให้ บก. T/E ปรับเง ินฝากคลัง

รวมค่าใช้จา่ ยจากการดาเนินงาน รายได้สูง (ต่า) กว่าค่าใช้จา่ ยจากการดาเนินงาน

8

284,274.70

362,200.86 129,667.41

76730.00

88,360.00

177,698.09

380,637.90 141,249.53

57,480.00 54,878.00

Annual Report 2022 |

สานักงานสหกรณ์จงั หวัดชัยภูมิ หมายเหตุประกอบงบการเง ิน

สาหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2565 หมายเหตุที่ 1 - สรุปนโยบายการบัญชีทส ี่ าคัญ 1.1 หลักเกณฑ์ในการจัดทางบการเง ิน

งบการเง ินนี้จด ั ทาขึ้นตามเกณฑ์คงค้าง ซึง่ เป็นไปตามข้อกาหนดในหลักการและนโยบายบัญชี สาหรับ

หน่วยงานภาครัฐ ฉบับที่ 2 ตามประกาศกระทรวงการคลัง เมื่อวันที่ 6 มกราคม 2546 การจัดประเภทและการ แสดงรายการในงบการเง ินถือปฏิบัติตามหนังสือกรมบัญชีกลาง เรอื่ งรูปแบบรายงานการเง ินของหน่วยงานภาครัฐ สาหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2549

1.2 ขอบเขตของข้อมูลในรายงาน รายการที่ปรากฏในงบการเง ิน รวมถึ งสิ นทรัพย์ หนี้ สิ น รายได้ และค่ า ใช้จ่าย ซึ่งเป็นของรัฐบาลใน

ภาพรวม แต่ให้หน่วยงานเป็นผู้รบ ั ผิดชอบในการดูแลรักษาและบร ิหารจัดการให้แก่รฐั บาลภายใต้อานาจหน้าที่ตาม กฎหมาย และรวมถึ ง สิ น ทรัพ ย์ หนี้ สิ น รายได้ และค่ า ใช้จ่า ย ซึ่ง เป็ น ของหน่ ว ยงานที่ ใ ช้เ พื่ อ ประโยชน์ ใ นการ

ด าเนิ น งานของหน่ ว ยงานเอง ไม่ ว่ า รายการดั ง กล่ า วจะเป็ น รายการที่ เ กิ ด จากเง น ิ ในงบประมาณหร ือเง น ิ นอก งบประมาณ ซึง่ เป็นรายการที่เกิดขึ้นของสานักงานสหกรณ์จงั หวัดชัยภูมิ 1.3 การรับรูร้ ายได้

1) รายได้จากเง ินงบประมาณรับรูเ้ มื่อได้รบ ั อนุมัติคาขอเบิกเง ินจากกรมบัญชีกลาง 2) รายได้เง ินนอกงบประมาณรับรูเ้ มื่อเกิดรายได้ 3) รายได้แผ่นดินรับรูเ้ มื่อได้รบ ั เง ิน

1.4 วัสดุคงเหลือ

แสดงในราคาทุน และตีราคาวัสดุคงเหลือโดยว ิธีเข้าก่อนออกก่อน

1.5 เง ินลงทุนระยะสั้น

แสดงในราคาทุน ส่วนใหญ่เป็นเง ินฝากประจาที่มีระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี

1.6 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์

1) ที่ดิน แสดงในราคาประเมิน ส่วนใหญ่เป็นที่ดินราชพัสดุที่อยู่ในความดูแลของกรมธนารักษ์ 2) อาคาร แสดงในราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสม เป็นอาคารที่หน่วยงานมีกรรมสิทธิ์ 3) อุปกรณ์ แสดงในราคาทุนหักค่าเสื่อมราคาสะสม

1.7 ค่าเสื่อมราคา

ค่าเสื่อมราคา คานวณจากราคาทุนของอาคารและอุปกรณ์โดยว ิธีเส้นตรงตามอายุการใช้งานโดยประมาณ

ของสินทรัพย์ ดังนี้

1) อาคารและสิ่งปลูกสร้าง 2) อุปกรณ์

15 - 40 ปี 2 - 12 ปี

100

Annual Report 2022 |

101

หมายเหตุที่ 2 อาคาร และอุปกรณ์ (สุทธิ) ปี 2565 (บาท)

อาคารพักอาศัย

482,600.00

หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม อาคารพักอาศัย (สุทธิ) อาคารสานักงาน

หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม อาคารสานักงาน (สุทธิ) อาคารเพื่อประโยชน์อื่น หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม

ปี 2564 (บาท)

-

(14,779.74)

-

467,820.26

-

3,285,503.85

3,285,503.85

(3,285,502.85)

(3,285,502.85)

1.00

1.00

7,838,193.06

7,838,193.06

(7,707,895.68)

(7,185,274.24)

130,297.38

652,918.82

547,200.00

547,200.00

หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม

(547,198.00)

(544,272.79)

สิ่งปลูกสร้าง (สุทธิ)

2.00

2,927.21

อาคารเพื่อประโยชน์อื่น (สุทธิ) สิ่งปลูกสร้าง

ครุภัณฑ์สานักงาน

1,729,303.48

1,698,903.48

หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม

(1,251,013.96)

(1,039,719.28)

478,289.52

659,184.20

11,782,375.00

11,782,375.00

ครุภัณฑ์สานักงาน (สุทธิ) ครุภัณฑ์ยานพาหนะ

หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ครุภัณฑ์ยานพาหนะ (สุทธิ) ครุภัณฑ์ไฟฟ้า&ว ิทยุ หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ครุภัณฑ์ไฟฟ้า&ว ิทยุ (สุทธิ) ครุภัณฑ์โฆษณา หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ครุภัณฑ์โฆษณา (สุทธิ)

(8,561,555.65)

(7,698,201.34)

3,220,819.35

4,084,173.66

278,200.00

278,200.00

(270,650.24)

(270,509.72)

5,549.76

7,690.28

623,140.00

623,140.00

(579,707.65)

(545,446.65)

43,432.35

77,693.35

ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์

1,386,030.50

1,201,430.50

หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม

(1,145,565.27)

(1,049,860.62)

240,465.23

151,569.88

(31,497.00)

(31,497.00)

3.00

3.00

132,000.00

48,000.00

99,764.83

40,693.46

4,686,444.68

5,676,854.86

ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ (สุทธิ)

ครุภัณฑ์บ้านครัว

หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม ครุภัณฑ์บ้านครัว (สุทธิ) โปรแกรมคอมพิวเตอร์

หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (สุทธิ) รวมที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ (สุทธิ)

31,500.00

(32,235.17)

31,500.00

(7,306.54)

Annual Report 2022 |

หมายเหตุที่ 3 ค่าใช้จา่ ยงบบุคลากร ค่าตอบแทนพนักงานราชการ เง ินค่าครองชีพ

เง ินสมทบกองทุนประกันสังคม เง ินสมทบกองทุนเง ินทดแทน ค่าเช่าบ้าน

ปี 2565 (บาท)

102

ปี 2564 (บาท)

4,720,771.28

4,758,032.90

118,242.00

107,116.00

1,237,114.00

1,275,466.00

6,099,540.28

6,162,783.90

15,010.00 8,403.00

13,650.00 8,519.00

หมายเหตุที่ 4 ค่าใช้จา่ ยงบกลาง เง ินช่วยการศึกษาบุตร เง ินช่วยการศึกษาบุตร ค่ารักษา-นอก-รพ.รัฐ

ค่ารักษาบานาญนอก-รัฐ เง ินช่วยพิเศษ-กรณีตาย

ปี 2565 (บาท)

141,629.10

26,000.00 35,040.00

ปี 2564 (บาท)

89,886.00 -

11,111.50

2,540.00

12,010.00

79,065.60

64,690.59

284,274.70

177,698.09

หมายเหตุที่ 5 ค่าใช้จา่ ยงบดาเนินงาน ค่าใช้จา่ ยในการอบรมในประเทศ ค่าใช้จา่ ยในการอบรม-ภายนอก

ปี 2565 (บาท)

170,980.00

ปี 2564 (บาท)

135,165.94

206,665.00

186,075.00

ค่าที่พัก

2,940.00

44,660.00

330,096.00

ค่าใช้จา่ ยเดินทางภายในประเทศ

66,755.00

97,715.00

ค่าเบี้ยเลี้ยง

ค่าวัสดุ

256,861.82

36,510.00

350,217.98

ค่าซ่อมแซม&บารุงรักษา

132,656.00

296,822.90

ค่าเชือ ้ เพลิง

265,760.00

245,840.00

ค่าจ้างเหมาบร ิการ-ภายนอก ค่าใช้จา่ ยในการประชุม ค่าเช่าอสังหา-นอก

หมายเหตุที่ 6 ค่าสาธารณูปโภค ค่าไฟฟ้า

ค่าประปา&น้าบาดาล ค่าโทรศัพท์

ค่าสื่อสาร&โทรคมนาคม ค่าไปรษณีย์โทรเลข

1,193,337.00

1,212,872.50

369,777.00

404,170.00

180,000.00

180,000.00

2,890,391.82

3,475,485.32

ปี 2565 (บาท)

ปี 2564 (บาท)

179,608.58

204,965.40

44,917.57

41,781.84

53,862.75 42,722.96

49,638.72

38,755.94

41,089.00

45,496.00

362,200.86

380,637.90

Annual Report 2022 |

103

หมายเหตุที่ 7 ค่าเสื่อมราคา ค่าเสื่อมราคา-อาคาร

ค่าเสื่อมราคา-อาคารอื่น ค่าเสื่อมราคา-สิ่งปลูกสร้าง

ปี 2565 (บาท)

14,779.74

ปี 2564 (บาท)

-

522,621.44

522,621.44

2,925.21

28,866.67

ค่าเสื่อมราคา-ครุภัณฑ์สานักงาน

211,294.68

212,697.69

ค่าเสื่อมราคา-ครุภัณฑ์ยานพาหนะ

863,354.31

930,062.49

ค่าเสื่อมราคา-ครุภัณฑ์โฆษณา

34,261.00

38,959.65

ค่าเสื่อมราคา-ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์

95,704.35

91,464.01

1,747,081.25

1,841,642.55

ค่าเสื่อมราคา-ครุภัณฑ์ไฟฟ้า

ค่าเสื่อมราคา-ครุภัณฑ์บ้านครัว

หมายเหตุที่ 8 ค่าใช้จา่ ยอื่น ค่าธรรมเนียมทางกม.

2,140.52

-

ปี 2565 (บาท)

11,985.30

4,985.30

ปี 2564 (บาท)

18,700.00

17,100.00

ค่าเบี้ยประกันภัย

7,634.24

1,290.42

ค่าประชาสัมพันธ์

46,361.54

44,979.26

24,928.63

4,840.96

-

61,030.00

จาหน่ายครุภัณฑ์สนง.

-

2.00

จาหน่ายครุภัณฑ์เกษตร

-

ค่าธรรมเนียม

ค่าใช้สอยอื่นๆ

ตัดจาหน่าย-software จัดหาสินทรัพย์ต่ากว่าเกณฑ์

ค่าใช้จา่ ยผลัดส่งรายได้/แผ่นดิน

-

15,963.00

16,080.00

จาหน่ายครุภัณฑ์โฆษณา

1,570.00

5,180.00

-

-

5,234.89

-

2.00

129,667.41

141,249.53

จาหน่ายคอมฯ

20.00

หมายเหตุที่ 9 งบอุดหนุน อุดหนุนดาเนินงาน อุดหนุนดาเนินงานธุรกิจอื่น คชจ.ตามมาตรการของรัฐ อุดหนุนลงทุนอื่น

ปี 2565 (บาท)

2,721,568.14

ปี 2564 (บาท)

3,775,193.74

-

3,191,700.00

200,000.00

-

-

2,921,568.14

200,000.00

7,166,893.74

Annual Report 2022 |

104

สานักงานสหกรณ์จงั หวัดชัยภูมิ ได้จด ั ทารายงานทางการเง ินแบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่ 1. งบการเง น ิ ประกอบด้ ว ย งบแสดงฐานะการเง น ิ งบแสดงผลการด าเนิ น งาน และหมายเหตุ ประกอบ งบการเง ินเปร ียบเทียบระหว่างปี พ.ศ.2564 และ พ.ศ.2565 ซึง่ สรุปสาระสาคัญได้ดังนี้

ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 สานักงานสหกรณ์จงั หวัดชัยภูมิ มีสินทรัพย์รวม ณ วันที่ 30 กันยายน

2565 จานวน 4,755,234.68 บาท แบ่งเป็นสินทรัพย์หมุนเว ียน 68,790.00 บาท และสินทรัพย์ไม่หมุนเว ียน จานวน 4,686,444.68 บาท มีหนี้สินรวม 53,190.33 บาท ทุนของสานักงาน 4,702,044.35 บาท โดยมี

รายได้ จ ากงบประมาณที่ ไ ด้ ร บ ั จัด สรรและรายได้ จ ากแหล่ ง อื่ น รวม 14,221,911.16 บาท และมี ค่ า ใช้จ่า ย ดาเนินงาน 15,188,839.80 บาท ทาให้มีรายได้ต่ากว่าค่าใช้จา่ ยในการดาเนินงาน 966,928.64 บาท 2. การว ิเคราะห์งบการเง ิน

2.1 งบแสดงฐานะการเง ิน 1) สั ด ส่ ว นเง น ิ ฝากคลั ง ปี พ.ศ.2565 ลดลงจากปี พ.ศ.2564 จ านวน 24.28 % เง น ิ ฝาก

ธนาคารลดลง 100% ลูกหนี้ เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 481% ในส่วนรายการค้างรับ บก. ลดลง 100%

2) สัดส่วนอาคาร อุปกรณ์ (สุทธิ) ต่อสินทรัพย์สุทธิของปี พ.ศ.2565 ลดลงจากปี พ.ศ.2564

จานวน 990,410.18 บาท คิดเป็น 17.45%

3) สั ด ส่ ว นของสิ น ทรัพ ย์ ร วม ปี พ.ศ.2565 จะเห็ น ได้ ว่ า สิ น ทรัพ ย์ ข องส านั ก งานสหกรณ์

จังหวัดชัยภูมิ

ส่วนใหญ่อยู่ในรูปของอาคารและอุปกรณ์ จานวน 98.55% ของสินทรัพย์รวมทั้งหมด 4) สั ด ส่ ว นหนี้ สิ น รวมปี พ.ศ.2565 ลดลงจากปี ก่ อ น จ านวน 225,833.54 บาท คิ ด เป็น

80.94% เนื่องจากปี พ.ศ.2565 มีการลดลงที่สาคัญของใบสาคัญค้างจ่าย จานวน 109,700 บาท และเจ้าหนี้ การค้าภายนอก จานวน 100,000 บาท

แผนภูมิแสดงฐานะทางการเง ิน 7,000,000 6,000,000

5,947,996.86

5,676,854.86

5,000,000

4,686,444.68

5,668,972.99 4,705,044.35

4,755,234.68

4,000,000 3,000,000 2,000,000 1,000,000 271,142.00

-

279,023.87 53,190.33

68,790.00

สินทรัพย์หมุนเว ียน

สินทรัพย์ไม่หมุนเว ียน

ปี 2564

รวมสินทรัพย์

ปี 2565

หนี้สินหมุนเว ียน

ทุนของสานักงาน

Annual Report 2022 |

105

2.2 งบแสดงผลการดาเนินงานทางการเง ิน 1) สั ด ส่ ว นของรายได้ จากงบประมาณต่ อรายได้ รวมปี พ.ศ.2565 ลดลงจากปี พ.ศ.2564 จานวน 4,222,279.57 บาท คิดเป็น 22.89% โดยมีรายได้ดอกเบี้ยอื่นลดลง จานวน 379,196.02 บาท

2) สั ด ส่ ว นค่ าใช้จ่ายจากการด าเนิ นงานต่ อรายได้ รวมของปี พ.ศ.2565 ลดลงจากปี พ.ศ.

2564 จ านวน 5,018,372.99 บาท คิ ด เป็ น 24.83% เนื่ อ งจากค่ า ใช้จ่า ยงบด าเนิ น งานลดลง จ านวน 585,093.50 บาท อีกทั้งได้รบ ั เง ินอุดหนุนลดลง จานวน 4,245,325.60 บาท

แผนภูมิงบแสดงผลการดาเนินงานทางการเง ิน ......................................... 25,000,000 20,000,000 15,000,000

18,444,190.73

20,207,212.79

15,188,839.80

14,221,911.16

10,000,000 5,000,000 0

รวมรายได้จากดาเนินงาน

รวมค่าใช้จา่ ยจากการดาเนินงาน

รายได้สูง(ต่า)กว่าใช้จา่ ยจากการดาเนินงาน (1,763,022.06) (966,928.64)

-5,000,000 ปี 2564

ปี 2565

Annual Report 2022 |

ส่วนที่ 5 ภาคผนวก สรุปผลสาเร็จตามตัวชี้วัดหลัก (เชิงปริมาณและคุณภาพ) ของงาน/โครงการตามแผนปฏิบัติงานและงบประมาณรายจ่าย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 - 2565

106

Annual Report 2022 |

107

Annual Report 2022 |

108

Annual Report 2022 |

109

Annual Report 2022 |

110

Annual Report 2022 |

111

Annual Report 2022 |

112

Annual Report 2022 |

113

Annual Report 2022 |

114

Annual Report 2022 |

ส่วนที่ 6 บรรณานุกรม

115

Annual Report 2022 |

ภาคผนวก  รายงานสรุปผลการจัดระดับชัน ้ สหกรณ์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กองแผนงาน กรมส่งเสร ิมสหกรณ์  รายงานสรุปผลการจัดระดับชัน ้ กลุ่มเกษตรกร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

กองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสร ิมสหกรณ์

 ประกาศผลการจัดระดับมาตรฐานสหกรณ์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเง ินและร้านค้า กรมส่งเสร ิมสหกรณ์

 รายงานประจาปีของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ปี 2564 - 2565 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดชัยภูมิ

 รายงานผลการรวบรวมน้านมดิบจากสมาชิกและผลการจาหน่ายน้านมดิบ สหกรณ์โคนมเทพสถิต จากัด ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2565

116

สำนักงานสหกรณ์จังหวัดชัยภูมิ

เลขที่ 106 หมู่ 4 ถ.โนนม่วง ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ชัยภูมิ 36000 โทรศัพท์ 0 4482 2218 โทรสาร 0 4481 6813 https://web.cpd.go.th/chaiyaphum E-mail : [email protected]

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.