Best Practice อักษรวดี มณีพรหม Flipbook PDF

Best Practice อักษรวดี มณีพรหม

96 downloads 114 Views 5MB Size

Recommend Stories


Evidence Based Practice Information Sheets for Health Professionals. Este Best Practice Information Sheet abarca: Antecedentes
BestPractice Reproducido del Best Practice 2003;7(1):1-7 ISSN 1329-1874 Actualizado: 10-04-07 Evidence Based Practice Information Sheets for Health

Grammar Practice in Spanish
Grammar and Composition Grammar Practice in Spanish Grade 6 To the Teacher A thorough knowledge of the rules of grammar is essential to success in

Story Transcript

รายงานผลงานนวัต วั กรรม/วิธีวิปธี ฏิบัฏิติ บั ที่ติเ ที่ป็น ป็ เลิศลิ (BESTPRACTICE) การยกระดับดัผลสัมสัฤทธิ์กธิ์ารทดสอบทางการศึกศึษาระดับดัชาติขั้ตินขั้พื้นพื้ฐาน (O-NET) กลุ่มลุ่สาระการเรียรีนรู้วิรู้ทวิยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ชั้นชั้มัธมัยมศึกศึษาปีที่ปี ที่3 โรงเรียรีนตะกั่วกั่ทุ่งทุ่งานทวีวิวีทวิยาคม ด้วด้ยเทคนิคนิ STAD (STUDENT TEAMS ACHIEVEMENT DIVISIONS) โดย นางสาวอักอัษรวดี มณีพณีรหม ตำ แหน่งน่ครูคศ.1 กลุ่มลุ่สาระการเรียรีนรู้วิรู้ทวิยาศาสตร์แร์ละเทคโนโลยี โรงเรียรีนตะกั่วกั่ทุ่งทุ่งานทวีวิวีทวิยาคมจังจัหวัดวัพังพังา สังสักัดกัสำ นักนังานเขตพื้นพื้ที่ก ที่ ารศึกศึษามัธมัยมศึกศึษาพังพังาภูเภูก็ตก็ระนอง สำ นักนังานคณะกรรมการการศึกศึษาขั้นขั้พื้นพื้ฐาน กระทรวงศึกศึษาธิกธิาร


รายงานผลงานนวัตกรรม/วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) เรื่อง การยกระดับผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนตะกั่วทุ่งงานทวีวิทยาคม ด้วยเทคนิค STAD (Student Teams Achievement Divisions) โดย นางสาวอักษรวดี มณีพรหม ต าแหน่ง ครูคศ.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนตะกั่วทุ่งงานทวีวิทยาคม จังหวัดพังงา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพังงา ภูเก็ต ระนอง ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ


ค าน า เอกสารแบบรายงานผลงานนวัตกรรม/วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) เล่มนี้ ผู้รายงานได้จัดท าขึ้น เพื่อน าเสนอผลงานเรื่องการยกระดับผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนตะกั่วทุ่งงานทวีวิทยาคมด้วย เทคนิค STAD (Student Teams Achievement Divisions) สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพังงา ภูเก็ต ระนอง โดยมีรายละเอียดการน าเสนอผลงานดังนี้ ความส าคัญของนวัตกรรม/วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการด าเนินงาน ขั้นตอนการด าเนินงาน ผลการด าเนินงาน/ประโยชน์ที่ได้รับ ปัจจัยความส าเร็จ บทเรียนที่ได้รับ การเผยแพร่ ขอขอบคุณ ผู้อ านวยการโรงเรียนตะกั่วทุ่งงานทวีวิทยาคม คณะครู ที่มีส่วนร่วมในการด าเนินกิจกรรม ต่างๆ จนส าเร็จ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นประโยชน์กับผู้ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนผู้สนใจ ได้น าไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ต่อไป อักษรวดี มณีพรหม ผู้รายงาน ก


สารบัญ หน้า ค าน า ก สารบัญ ข ความส าคัญของนวัตกรรม/วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ 1 วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการด าเนินงาน 2 ขั้นตอนการด าเนินงาน 3 ผลการด าเนินงาน/ประโยชน์ที่ได้รับ 5 ปัจจัยความส าเร็จ 7 บทเรียนที่ได้รับ 7 การเผยแพร่ 8 ภาคผนวก 9 ข


1 รายงานผลงานนวัตกรรม/วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การยกระดับผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนตะกั่วทุ่งงานทวีวิทยาคม ด้วยเทคนิค STAD (Student Teams Achievement Divisions) การน าเสนอนวัตกรรม/วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพังงา ภูเก็ต ระนอง ชื่อนวัตกรรม/วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) : การยกระดับผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนตะกั่วทุ่งงานทวีวิทยาคม ด้วยเทคนิค STAD (Student Teams Achievement Divisions) ประเภทของผู้เข้ารับการคัดเลือกนวัตกรรม/วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) : ครูผู้สอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ประเภทของนวัตกรรม/วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) : วิธีจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ชื่อผู้พัฒนา : นางสาวอักษรวดี มณีพรหม โรงเรียน : ตะกั่วทุ่งงานทวีวิทยาคม จังหวัดพังงา สังกัด : ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพังงา ภูเก็ต ระนอง โทรศัพท์มือถือ : 088-4437900 E-mail : [email protected] .................................................................................................................................................................................................. ๑) ความส าคัญของนวัตกรรม/วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ แนวทางการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งมุ่ง พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สมรรถนะส าคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยมีหลักการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ การจัดการเรียนรู้ที่ค านึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล การจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับการพัฒนาการทางสมอง และการจัดการเรียนรู้ที่เน้นคุณธรรมจริยธรรม ในการจัดการเรียนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ครูผู้สอนต้องจัดกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อให้ผู้เรียนเกิด ความเรียนรู้บรรลุตามเป้าหมายของหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ที่จ าเป็นส าหรับผู้เรียนให้เตรียมการเข้าสู่โลก อนาคต (ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน : 2553) และในการจัดการศึกษาในประเทศไทยยังคงขาด คุณภาพและมาตรฐานในทุกระดับ คุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ของคนไทยยังอยู่ในระดับค่อนข้างต่ า คนไทย ได้รับโอกาสทางการศึกษาสูงขึ้น โดยมีจ านวนปีการศึกษาเฉลี่ยของประชากรวัยแรงงานเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่เมื่อพิจารณาคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) พบว่า มีค่าเฉลี่ยต่ าในทุกกลุ่ม สาระและผลคะแนนจากการทดสอบโครงการประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ (PISA) อยู่ในระดับต่ ากว่าอีก หลายประเทศที่มีระดับการพัฒนาใกล้เคียงกัน ปัญหาเหล่านี้เกิดจากข้อจ ากัดเรื่องหลักสูตรและระบบการเรียนการ สอน ที่เน้นการสอนเนื้อหาสาระและความจ ามากกว่าการพัฒนาทักษะและสมรรถนะ ส่งผลให้ผู้เรียนขาดความคิด สร้างสรรค์ ปัจจัยสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนและครูที่มีคุณภาพยังกระจายไม่ทั่วถึง โดยเฉพาะในพื้นที่ ห่างไกล ขณะที่ในระดับอาชีวศึกษายังมีเด็กที่สนใจเรียนต่อสายอาชีพในสัดส่วนที่น้อย ส่วนระดับอุดมศึกษา พบว่า


2 รายงานผลงานนวัตกรรม/วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การยกระดับผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนตะกั่วทุ่งงานทวีวิทยาคม ด้วยเทคนิค STAD (Student Teams Achievement Divisions) มีการเปิดหลักสูตรโดยไม่ค านึงถึงความต้องการของตลาดงาน บัณฑิตที่ส าเร็จการศึกษาบางส่วนยังมีปัญหา คุณภาพ อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยของไทยในระดับนานาชาติยัง อยู่ในล าดับที่ต่ า ปัจจัยต่าง ๆ เหล่านี้ส่งผลให้การศึกษาไทยในทุกระดับยังมีปัญหาเชิงคุณภาพที่ต้องเร่งแก้ไข (แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ : 69) จากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ท าให้สถานศึกษาไม่สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมี ประสิทธิภาพจึงท าให้กระทรวงศึกษาธิการออกประกาศยกเลิกการใช้ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน (O-NET) เป็นองค์ประกอบหนึ่งในการตัดสินผลการเรียนของผู้เรียนที่จบการศึกษา ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตั้งแต่ปีการศึกษา 2564 เป็นต้นไปเพื่อลดปัญหาความเครียด ของผู้เรียน อย่างไรก็ตามการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ยังคงมีความส าคัญและความ จ าเป็นอย่างยิ่งในการวัดและประเมินคุณภาพผู้เรียนและสถานศึกษา อีกทั้งยังเป็นส่วนส าคัญในการพัฒนา มาตรฐานและคุณภาพของผู้เรียนตลอดจนน าไปสู่ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ในปีการศึกษา 2563 โรงเรียนตะกั่วทุ่งงานทวีวิทยาคมได้จัดให้มีการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ซึ่งผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยร้อยละของผลการทดสอบระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของรายวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ทั้ง 4 สาระการเรียนรู้คะแนนเฉลี่ยต่ ากว่า ระดับประเทศอยู่ 2 สาระการเรียนรู้ที่ต้องมีการเร่งพัฒนา ดังนี้สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชีวภาพมีคะแนนเฉลี่ย ระดับโรงเรียนร้อยละ 33.33 ระดับประเทศร้อยละ 34.59 มีผลต่าง – 1.26 สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศมีคะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียนร้อยละ 25.58 ระดับประเทศร้อยละ 31.01 มีผลต่าง – 5.43 จากสถิติผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่กล่าว มาข้างต้น ของรายวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ของนักเรียนโรงเรียนตะกั่วทุ่งงานทวีวิทยาคม ในปีการศึกษา 2563 ผู้วิจัยจึงได้ศึกษาปัญหาดังกล่าว และหาวิธีโดยการการยกระดับผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียน ตะกั่วทุ่งงานทวีวิทยาคม ด้วยเทคนิค STAD (Student Teams Achievement Divisions) ๒) วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการด าเนินงาน 2.1 วัตถุประสงค์ 2.1.1. เพื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ในปีการศึกษา 2561-2563 2.1.2 เพื่อให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนตะกั่วทุ่งงานทวีวิทยาคม มีผลการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีใน ปีการศึกษา 2564 คะแนนสูงกว่าระดับประเทศด้วยเทคนิค STAD (Student Teams Achievement Divisions)


3 รายงานผลงานนวัตกรรม/วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การยกระดับผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนตะกั่วทุ่งงานทวีวิทยาคม ด้วยเทคนิค STAD (Student Teams Achievement Divisions) 2.2 เป้าหมาย 2.2.1 เชิงปริมาณ (1) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 จ านวน 21 คน 2.2.2 เชิงคุณภาพ (1) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนตะกั่วทุ่งงานทวีวิทยาคม มีผลการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีในปีการศึกษา 2564 คะแนนสูงกว่าระดับประเทศด้วยเทคนิค STAD (Student Teams Achievement Divisions) (2) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนตะกั่วทุ่งงานทวีวิทยาคมมีการพัฒนาทักษะ และสมรรถนะ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ๓) ขั้นตอนการด าเนินงาน ขั้นตอนการด าเนินงาน รายละเอียด 1.ขั้นวางแผน (Plan) 1.1 วิเคราะห์เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในปีการศึกษา 2561-2563 1.2 คุณครูประจ าวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีใช้ Test Blueprint O-NET มาก าหนดตัวชี้วัดในการเรียนการสอนรายวิชาของนักเรียน เนื่องจาก Test Blueprint มีการจ าแนกเนื้อหาตามสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ที่ ครอบคลุมตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน และมีการก าหนด รูปแบบของข้อสอบที่มีความหลากหลาย ส่งผลให้นักเรียนเกิดทักษะ ความรู้ ตรงตามที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานก าหนด 2.ขั้นการน าไปปฏิบัติ (Do) การจัดการเรียนรู้ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ด้วยเทคนิค STAD (Student Teams Achievement Divisions) 2.1 ครูผู้สอนใช้เกม Kahoot หรือ เกม Quizizz ในการทดสอบก่อนเรียน เพื่อกระตุ้นการเรียนรู้ผู้เรียน 2.2 ครูผู้สอนน าเสนอเนื้อหาและสอนเนื้อหารายวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โดยสรุปทั้ง 4 สาระการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนทั้งชั้นโดยรวมก่อน โดยใช้การสอน แบบ Mind mapping มาช่วยในการจัดการเรียนรู้ 2.3 มีการจัดกลุ่มนักเรียนกลุ่มละ 4-5 คน และแบ่งกลุ่มตามความสามารถที่ แตกต่างกันหน้าที่ของกลุ่มคือ เตรียมให้สมาชิกเข้าท าการทดสอบแข่งขัน สมาชิกในกลุ่มจะอภิปรายท าแบบฝึกหัด ถกเถียงปัญหากันและท าความเข้าใจ กับบทเรียน


4 รายงานผลงานนวัตกรรม/วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การยกระดับผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนตะกั่วทุ่งงานทวีวิทยาคม ด้วยเทคนิค STAD (Student Teams Achievement Divisions) ขั้นตอนการด าเนินงาน รายละเอียด 2.ขั้นการน าไปปฏิบัติ (Do) 2.4 ให้สมาชิกภายในกลุ่มช่วยกันศึกษา ทบทวนในเนื้อหาหรือหัวข้อที่ผู้สอน ก าหนดให้ โดยช่วยกันสรุปเนื้อหาทั้งหมด 2.5 ครูผู้สอนท าการทดสอบโดยการแจกแบบทดสอบ O-NET ปีก่อนหน้าให้ ผู้เรียนท าพร้อมอธิบายขั้นตอนการท าในลักษณะกลุ่มร่วมมือ โดย สมาชิกคนที่ 1 อ่านค าถามหรือโจทย์ที่ก าหนดให้แก่สมาชิกในกลุ่มฟัง สมาชิกคนที่ 2 วิเคราะห์หาค าตอบที่ถูกต้อง เหมาะสม สมาชิกคนที่ 3 เขียนค าตอบ สมาชิกคนที่ 4 ตรวจสอบค าตอบ ให้สมาชิกในกลุ่มหมุนเวียนกันท าหน้าที่ต่างๆ ในแต่ละข้อ จนกว่าจะครบข้อ ค าถามที่ก าหนดไว้ พร้อมทั้งช่วยกันสรุปอีกครั้งเพื่อท าความเข้าใจร่วมกันใน กลุ่มผู้เรียนที่อยู่กลุ่มเดียวกัน ทุกกลุ่มแยกท าแบบทดสอบเป็นรายบุคคลเพื่อ ทดสอบความเข้าใจในเนื้อหาที่เรียน 3.ขั้นการประเมินผลติดตาม (Check) 3.1 ครูผู้สอนตรวจสอบความถูกต้องของการท าแบบทดสอบO-NET ปีก่อน หน้า พร้อมทั้งน าคะแนนของแต่ละคนมารวมกันเป็นคะแนนของกลุ่ม แล้วคิด เป็นคะแนนเฉลี่ยของกลุ่ม 3.2 กลุ่มที่ได้คะแนนเฉลี่ยมากกว่าเกณฑ์ที่วางไว้จะได้รับค าชมเชย กลุ่มที่ได้ คะแนนเฉลี่ยสูงสุดจะได้รับรางวัล และให้ก าลังใจกลุ่มคะแนนเฉลี่ยน้อยกว่า เกณฑ์ที่วางไว้ และสร้างบรรยากาศความท้าทายให้กับผู้เรียน 3.3 มีการให้ผู้เรียนจัดท าแบบทดสอบ O-NET ย้อนหลังไปเรื่อยๆเพื่อเพิ่ม ความคุ้นชิน และได้เรียนรู้ด้วยตนเอง 4.ขั้นปรับปรุงแก้ไข (Act) 4.1 น าผลคะแนนที่ต่ ากว่าเกณฑ์ในแต่ละสาระการเรียนรู้มาปรับปรุงแก้ไข ต่อไป


1.64)


0.72 33.01 32.75 20.33 50 32.11 31.54 32.17 28.72 34.64 31.45 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ วิทยาศาสตร์กายภาพ วิทยาศาสตร์โลก และ อวกาศ เทคโนโลยี รวม ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 ระดับโรงเรียน ระดับประเทศ


0.72) 4.2 ประโยชน์ที่ได้รับ 4.2.1 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีในปีการศึกษา 2564 คะแนนสูงกว่าระดับประเทศ 4.2.2 นักเรียนมีความสุขและสนุกกับการเรียนด้วยเทคนิค STAD (Student Teams Achievement Divisions) ๕) ปัจจัยความส าเร็จ 5.1 ผู้บริหาร ให้การสนับสนุน ส่งเสริมให้ก าลังใจ รวมถึงด้านงบประมาณอย่างเต็มที่และให้ค าแนะน า ที่ดีนิเทศก ากับติดตามผลการด าเนินงานอย่างต่อเนื่อง 5.2 ครูผู้สอนให้ความสนใจผู้เรียนอย่างต่อเนื่องและส่งเสริมผู้เรียนสู่การเรียนรู้ที่ประสบความส าเร็จ 5.3 ครูผู้สอนมีความกระตือรือร้นและมีความพร้อมในการจัดเตรียมข้อสอบ (O-NET) 5.4 นักเรียนให้ความร่วมมือ และมีความพร้อมในการร่วมกิจกรรม 5.5 ผู้ปกครอง ชุมชน ชื่นชมยินดีและพึงพอใจ พร้อมให้การสนับสนุนเป็นอย่างดี ๖) บทเรียนที่ได้รับ 6.1 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ทุกคนมีการพัฒนาทักษะและสมรรถนะมากกว่าการจดจ าเนื้อหาสาระ 6.2 ครูผู้สอนสามารถน าประสบการณ์ความรู้ ความเข้าใจมาพัฒนาเทคนิค STAD (Student Teams Achievement Divisions) ให้มีประสิทธิภาพ 6.3 งานวิชาการด าเนินไปด้วยความเรียบร้อยอย่างมีประสิทธิภาพ 6.4 นักเรียนทุกคนมีศักยภาพที่สามารถพัฒนาได้ ถ้าสถานศึกษาออกแบบการจัดกิจกรรมที่เอื้อให้ นักเรียน แสดงศักยภาพของตนเองในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ อย่างเต็มที่ ย่อมท าให้นักเรียนได้มีโอกาสพัฒนา ตนเองเต็มตามศักยภาพที่มีอยู่ ดังนั้นโรงเรียนควรเปิดโอกาสและส่งเสริมให้นักเรียนได้แสดงออกซึ่งความสามารถ ด้านต่าง ๆ 6.5 ความส าเร็จในการใช้นวัตกรรม เกิดจากความร่วมมือของทุกฝ่าย คือ ผู้บริหาร ครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน


8 รายงานผลงานนวัตกรรม/วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การยกระดับผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนตะกั่วทุ่งงานทวีวิทยาคม ด้วยเทคนิค STAD (Student Teams Achievement Divisions) 7) การเผยแพร่ 7.1 ได้น าเทคนิค STAD (Student Teams Achievement Divisions) มาจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ในรายวิชาอื่นที่สอน 7.2 เผยแพร่เอกสารผลการด าเนินงานการยกระดับผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนตะกั่วทุ่งงาน ทวีวิทยาคม ด้วยเทคนิค STAD (Student Teams Achievement Divisions) 7.2.1 ผ่านสื่อออนไลน์ 7.2.2 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ออนไลน์ (e-book online)


9 รายงานผลงานนวัตกรรม/วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การยกระดับผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนตะกั่วทุ่งงานทวีวิทยาคม ด้วยเทคนิค STAD (Student Teams Achievement Divisions) ภาคผนวก


10 รายงานผลงานนวัตกรรม/วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การยกระดับผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนตะกั่วทุ่งงานทวีวิทยาคม ด้วยเทคนิค STAD (Student Teams Achievement Divisions) ภาพกิจกรรม


11 รายงานผลงานนวัตกรรม/วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) การยกระดับผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนตะกั่วทุ่งงานทวีวิทยาคม ด้วยเทคนิค STAD (Student Teams Achievement Divisions) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในปีการศึกษา 2561-2564


โรงเรียรีนตะกั่วกั่ทุ่งทุ่งานทวีวิวีทวิยาคมจังจัหวัดวัพังพังา สังสักัดกัสำ นักนังานเขตพื้นพื้ที่ก ที่ ารศึกศึษามัธมัยมศึกศึษาพังพังาภูเภูก็ตก็ระนอง สำ นักนังานคณะกรรมการการศึกศึษาขั้นขั้พื้นพื้ฐาน กระทรวงศึกศึษาธิกธิาร


Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.