แผนที่ 5 Flipbook PDF

แผนที่ 5

97 downloads 123 Views 6MB Size

Story Transcript

โรงเรียนสื่อการสอนวิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสกลนครเขต๑ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ โรงเรียนสื่อการสอนวิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสกลนครเขต๑ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ โรงเรียนสื่อการสอนวิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสกลนครเขต๑ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ โรงเรียนสื่อการสอนวิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสกลนครเขต๑ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ โรงเรียนสื่อการสอนวิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสกลนครเขต๑ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ


๗๓ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ การแต่งบทร้อยกรอง เวลาสอนทั้งหมด ๑๐ ชั่วโมง เรื่อง เรียงถ้อยร้อยคำ เวลาสอน ๒ ชั่วโมง ใช้สอนวันที่ ๓,๕ เดือน สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ ผู้สอน นางสาวสุพรรณษา รอบรู้ดี ๑. สาระสำคัญ ถ้อยคำเป็นสื่อแห่งความคิด เมื่อนำถ้อยคำที่เลือกสรรดีแล้วมาเรียงกันไว้ในตำแหน่งที่ถูกต้องตาม ระเบียบของภาษา จะทำให้มีความหมาย ๒. มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและ พลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ตัวชี้วัด ม.๑/๕ แต่งบทร้อยกรอง ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านความรู้ ๑. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องกาพย์ยานี ๑๑ ด้านทักษะ ๑. นักเรียนสามารถเรียบเรียงถ้อยคำให้เป็นกาพย์ยานี ๑๑ ได้ ๒. นักเรียนสามารถแต่งกาพย์ยานี ๑๑ จากที่กำหนดได้ ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. มีวินัย รับผิดชอบ ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๓. มุ่งมั่นในการทำงาน ๔. ภาระงาน ๑. ทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน ๒. เรียนรู้ด้วยชุดฝึกทักษะแต่งบทร้อยกรองประเภทกาพย์ยานี ๑๑ ชุดที่ ๕ เรียงถ้อยร้อยคำ ๓. ทำแบบฝึกทักษะย่อยที่ ๑ – ๕ ๔. ภาระงาน ๑. ทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน ๒. เรียนรู้ด้วยชุดฝึกทักษะแต่งบทร้อยกรองประเภทกาพย์ยานี ๑๑ ชุดที่ ๕ เรียงถ้อยร้อยคำ ๓. ทำแบบฝึกทักษะย่อยที่ ๑ – ๕


๗๔ ๕. เนื้อหาสาระ การเรียบเรียงถ้อยคำดีและมีความหมายเป็นกาพย์ยานี ๑๑ ๖. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ( ๕ นาที) ๑. นักเรียนเล่นเกมทายสำนวนสุภาษิตคำพังเพยจากคำประพันธ์ที่อ่านให้ โดยแบ่งนักเรียน ออกเป็นสองกลุ่ม โดยเปลี่ยนกันทายกลุ่มละ ๑ คนละ ๑ คำถามกลุ่มไหนตอบถูกมากที่สุดเป็นฝ่ายชนะ ๒. ครูสนทนาถึงเกมที่นักเรียนเล่นว่าการที่เราสามารถทายสำนวนสุภาษิตได้ถูกนั้น ส่วนหนึ่ง เกิดจากการที่ผู้แต่งเรียบเรียงถ้อยคำเป็นคำประพันธ์ชนิดต่าง ๆ ครูแจ้งว่าวันนี้จะเรียนเรื่องการเรียง ถ้อยร้อยคำ จากนั้นแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑ ขั้นสอน ๑. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนจากชุดฝึกทักษะแต่งบทร้อยกรอง ประเภทกาพย์ยานี ๑๑ ชุดที่ ๕ เรียงถ้อยร้อยคำ จำนวน ๑๐ ข้อ โดยใช้เวลาในการทำแบบทดสอบ ๑๐ นาที ครูให้นักเรียนเปลี่ยนกันตรวจ ๒. ครูอธิบายเรื่องการแต่งบทร้อยกรองประเภทกาพย์ยานี ๑๑ ( ๕ นาที) ๓. นักเรียนทำแบบฝึกทักษะที่ ๑ - ๓ จากชุดฝึกทักษะแต่งบทร้อยกรองประเภท กาพย์ยานี ๑๑ ชุดที่ ๕ เรียงถ้อยร้อยคำ ตามเวลาที่กำหนด ครูคอยให้คำแนะนำ ( ๒๕ นาที) ๔. นักเรียนร่วมกันเสนอแนวคำตอบจากแบบฝึกทักษะที่ ๑ – ๓ และเปลี่ยนกันตรวจ ครูให้ คำแนะนำและอธิบายเพิ่มเติม ( ๑๐ นาที) ขั้นสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเรื่อง เรียงถ้อยร้อยคำ อีกครั้ง ( ๕ นาที) ชั่วโมงที่ ๒ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ( ๕ นาที ) ๑. ครูนำตัวอย่างบทร้อยกรองจากเรื่องกาพย์เรื่องพระไชยสุริยา มาอ่านให้นักเรียนฟัง ขึ้นกกตกทุกข์ยาก แสนลำบากจากเวียงไชย มันเผือกเลือกเผาไฟ กินผลไม้ได้เป็นแรง รอนรอนอ่อนอัสดง พระสุริยงเย็นยอแสง ช่วงดังน้ำครั่งแดง แฝงเมฆเขาเงาเมรุธร กาพย์เรื่องพระไชยสุริยา ๒. ครูสนทนาถึงกาพย์ยานี ๑๑ ที่นำมาอ่านให้นักเรียนฟังนั้น ที่ไพเราะเพราะ ส่วนหนึ่งเกิดจาก การที่ผู้แต่งเรียบเรียงถ้อยคำและใช้คำที่สื่อความหมายดีให้เป็นคำประพันธ์ชนิดต่าง ๆ


๗๕ ขั้นสอน ๑. ให้นักเรียนทำแบบฝึกทักษะที่ ๔ – ๖ จากชุดฝึกทักษะแต่งบทร้อยกรองประเภทกาพย์ ยานี ๑๑ ชุดที่ ๕ เรียงถ้อยร้อยคำ ตามเวลาที่กำหนด ครูคอยให้คำแนะนำ ( ๓๐ นาที ) ๒. นักเรียนร่วมกันเสนอแนวคำตอบจากแบบฝึกทักษะที่ ๔ - ๖ จากชุดฝึกทักษะแต่งบทร้อย กรองประเภทกาพย์ยานี ๑๑ ชุดที่ ๕ เรียงถ้อยร้อยคำ นักเรียนเปลี่ยนกันตรวจ ( ๑๐ นาที) ๓. นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียนจากชุดฝึกทักษะแต่งบทร้อยกรอง ประเภทกาพย์ ยานี ๑๑ ชุดที่ ๕ เรียงถ้อยร้อยคำ จำนวน ๑๐ ข้อ โดยใช้เวลาในการทำแบบทดสอบ ๑๐ นาที นักเรียน เปลี่ยนกันตรวจ ขั้นสรุป นักเรียนร่วมกันสรุปเรื่อง เรียงถ้อยร้อยคำ อีกครั้ง ( ๕ นาที ) ๗. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ ๗.๑ สื่อการเรียน - สำนวนสุภาษิตอะไรเอ๋ย - หนังสือภาษาไทย วรรณคดีวิจักษ์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ - ชุดฝึกทักษะแต่งบทร้อยกรองประเภทกาพย์ยานี ๑๑ ชุดที่ ๕ เรียงถ้อยร้อยคำ - แบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน ๗.๒ แหล่งเรียนรู้ - ห้องสมุด - อินเทอร์เน็ต ๘. การวัดผลประเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบก่อนเรียน ประเมินตามสภาพจริง ตรวจแบบฝึกทักษะที่ ๑, ๒, ๓, ๔, ๕, ๖ ชุดฝึกทักษะแต่งบทร้อยกรอง ประเภทกาพย์ยานี ๑๑ ชุดที่ ๕ เรียงถ้อยร้อยคำ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการทำงาน รายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงาน รายบุคคล ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ สังเกตการใฝ่เรียนรู้ มีความ รับผิดชอบและมุ่งมั่นในการ ทำงาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน แบบทดสอบหลังเรียน นักเรียนทำแบบทดสอบได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐


๗๖ ๙. บันทึกผลหลังการสอน ตารางบันทึกคะแนนการประเมินผลการเรียนรู้รายวิชา ท๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ เรื่องการแต่งบทร้อยกรอง ประเภทกาพย์ยานี ๑๑ จำนวนนักเรียน ( ๓๗ คน ) คะแนนเฉลี่ยผลการประเมิน เกณฑ์การประเมิน ด้าน ความรู้ ด้าน ทักษะฯ ด้าน คุณลักษณะฯ คะแนนเฉลี่ย ระดับคุณภาพ คะแนนเฉลี่ยโดยรวม 1๙๑ – ๑๐๐ ดีมาก ร้อยละเฉลี่ย ๗๓ – ๙๐ ดี ระดับคุณภาพ ๕๔ – ๗๒ พอใช้ ผ่าน ต่ำกว่า ๕๔ ปรับปรุง ไม่ผ่าน เกณฑ์การประเมิน นักเรียนมีผลการประเมินโดยรวมแต่ละด้านในระดับพอใช้ขึ้นไป ผ่าน


๗๗ ๑. ผลการสอน ……………………………………………………………….…………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………….……………………………… ……………………………………………………………….…………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………….……………………………… ……………………………………………………………….…………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………….……………………………… ……………………………………………………………….…………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………….……………………………… ……………………………………………………………….…………………………………………………………………… ๒. ปัญหา/อุปสรรค …………………………………………………………………………………………………….……………………………… ……………………………………………………………….…………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………….……………………………… ……………………………………………………………….…………………………………………………………………… ๓. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………….……………………………… ……………………………………………………………….…………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………….……………………………… ……………………………………………………………….…………………………………………………………………… ลงชื่อ...............................................ครูผู้สอน (นางสาวสุพรรณษา รอบรู้ดี วันที่ ๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ ความคิดเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านนาชุมใต้ …………………………………………………………………………………………………….……………………………… ……………………………………………………………….…………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………….……………………………… ลงชื่อ................................................. ( นายนิยม สุภาษร ) ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านนาชุมใต้ วันที่.......เดือน สิงหาคม พ.ศ.๒๕๖๕


๗๘ คำชี้แจง ครูประเมินพฤติกรรมของนักเรียนแล้วให้คะแนนในช่องว่างที่ตรงกับพฤติกรรมของนักเรียน เลขที่ ชื่อ - สกุล ความตั้งใจในการเรียน ความสนใจและการซักถามเรื่อง การตอบคำถาม ทำงานทันตามกำหนดเวลา มีส่วนร่วมในกิจกรรมหรืองานกลุ่ม รวม สรุปผลการ ประเมิน ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๕ ผ่าน ไม่ผ่าน ๑ เด็กชายอัครเดช ทองปลาย ๓ ๒ ๒ ๓ ๓ ๑๓ ๒ เด็กชายนันทวัฒน์ โนนสูง ๓ ๒ ๒ ๓ ๓ ๑๓ ๓ เด็กชายกิตตินันท์ นาคงาม ๒ ๓ ๒ ๓ ๓ ๑๓ ๔ เด็กชายสรวิชญ์ ชิณโชติ ๓ ๒ ๓ ๓ ๒ ๑๓ ๕ เด็กชายปิยวัฒน์ เคนสินธ์ ๒ ๒ ๓ ๒ ๓ ๑๒ ๖ เด็กชายรัฐศาสตร์ แสนโคตร ๓ ๒ ๒ ๒ ๓ ๑๒ ๗ เด็กชายธนโชติ กันหาบุตร ๓ ๒ ๒ ๒ ๓ ๑๒ ๘ เด็กชายฐิรพงษ์ ยืนนาน ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๑๐ ๙ เด็กชายธนัตถ์ แก้วกลึงกลม ๓ ๓ ๒ ๓ ๒ ๑๓ ๑๐ เด็กหญิงวริศรา คุณพรม ๓ ๒ ๒ ๒ ๓ ๑๒ ๑๑ เด็กหญิงวิมลศิริ โสมเกตรินทร์ ๓ ๒ ๒ ๓ ๓ ๑๓ ๑๒ เด็กหญิงพัสวี บุญคุณ ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๑๐ ๑๓ เด็กหญิงอุบลวรรณ จันทะพักดิ์ ๓ ๓ ๒ ๓ ๓ ๑๔ ๑๔ เด็กหญิงสุพิชชา วงค์คำ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๕ ๑๕ เด็กหญิงพัทธริดา บรรพตาธิ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๕ ๑๖ เด็กหญิงอรสา ขันสิงห์ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๕ เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป (๙ คะแนนขึ้นไป) ๑๓ – ๑๕ คะแนน ระดับ ดี ๙ – ๑๒ คะแนน ระดับ พอใช้ ๐ – ๘ คะแนน ระดับ ปรับปรุง ลงชื่อ ผู้ประเมิน ( นางสาวสุพรรณษา รอบรู้ดี ) แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล


๗๙ รายการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน ๓ ๒ ๑ 1. ความตั้งใจในการเรียน สนใจในการเรียนไม่คุย หรือเล่นกันในขณะ เรียน สนใจในการเรียนคุย กันเล็กน้อยในขณะ เรียน สนใจในการเรียนแต่ คุยกันและเล่นกัน ในขณะเรียนเป็น บางครั้ง 2. ความสนใจและการซักถาม มีการถามในหัวข้อที่ตน ไม่เข้าใจทุกเรื่องและ กล้าแสดงออก มีการถามในหัวข้อที่ ตนไม่เข้าใจเป็น ส่วนมากและกล้า แสดงออก มีการถามในหัวข้อที่ ตนไม่เข้าใจเป็น บางครั้งและไม่ค่อย กล้าแสดงออก 3. การตอบคำถาม ร่วมตอบคำถามในเรื่อง ที่ครูถามทุกครั้งและ ตอบถูกต้องทุกข้อ ร่วมตอบคำถามใน เรื่องที่ครูถามเป็น บางครั้งและส่วนมาก ตอบถูก ไม่ตอบคำถาม 4. ทำงานทันตามกำหนดเวลา ทำงานส่งตามเวลาที่ กำหนดถูกต้องและ ชัดเจน ทำงานส่งตามเวลาที่ กำหนดและส่วนใหญ่ ถูกต้อง ส่งงานช้าและไม่ ค่อยถูกต้องชัดเจน 5. มีส่วนร่วมในกิจกรรมหรือ งานกลุ่ม ร่วมมือและช่วยเหลือ เพื่อนในการทำกิจกรรม ร่วมมือและช่วยเหลือ เพื่อนในการทำ กิจกรรมเป็นบางครั้ง ไม่ให้ความร่วมมือ ในการทำกิจกรรม รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนนการสังเกตพฤติกรรมนักเรียน รายบุคคล


๘๐ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑/๑ .โรงเรียนบ้านนาชุมใต้ ภาคเรียน ๑ .ปีการศึกษา ๒๕๖๕ คำชี้แจง ใส่ผลการประเมินพฤติกรรมสำคัญของนักเรียน ลงในช่องที่ทำการประเมิน เกณฑ์การประเมิน ๓ คะแนน ระดับ ดีเยี่ยม ๒ คะแนน ระดับ ดี ๑ คะแนน ระดับ ผ่าน ๐ คะแนน ระดับ ไม่ผ่าน ลงชื่อ.................... ............................ผู้ประเมิน ( นางสาวสุพรรณษา รอบรู้ดี) ที่ ชื่อ สกุล ตัวชี้วัดที่ ๑ สรุปผลการ ๐ ๑ ๒ ๓ ประเมิน 1 เด็กชายอัครเดช ทองปลาย ดีเยี่ยม 2 เด็กชายนันทวัฒน์ โนนสูง ดีเยี่ยม 3 เด็กชายกิตตินันท์ นาคงาม ดีเยี่ยม 4 เด็กชายสรวิชญ์ ชิณโชติ ดีเยี่ยม 5 เด็กชายปิยวัฒน์ เคนสินธ์ ดีเยี่ยม 6 เด็กชายรัฐศาสตร์ แสนโคตร ดีเยี่ยม 7 เด็กชายธนโชติ กันหาบุตร ดีเยี่ยม 8 เด็กชายฐิรพงษ์ ยืนนาน ดีเยี่ยม 9 เด็กชายธนัตถ์ แก้วกลึงกลม ดีเยี่ยม 10 เด็กหญิงวริศรา คุณพรม ดีเยี่ยม 11 เด็กหญิงวิมลศิริ โสมเกตรินทร์ ดีเยี่ยม 12 เด็กหญิงพัสวี บุญคุณ ดีเยี่ยม 13 เด็กหญิงอุบลวรรณ จันทะพักดิ์ ดีเยี่ยม 14 เด็กหญิงสุพิชชา วงค์คำ ดีเยี่ยม 15 เด็กหญิงพัทธริดา บรรพตาธิ ดีเยี่ยม 16 เด็กหญิงอรสา ขันสิงห์ ดีเยี่ยม แบบบันทึก คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีวินัย


๘๑ ตัวชี้วัด พฤติกรรมบ่งชี้ ๑ ปฏิบัติตาม ข้อตกลง กฎเกณฑ์ระเบียบ ข้อบังคับ ของครอบครัว โรงเรียน และสังคม ๑.๑ ปฏิบัติตน ตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ระเบียบ ข้อบังคับ ของครอบครัวโรงเรียนและสังคม ไม่ ละเมิดสิทธิของผู้อื่น ๑.๒ ตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ใน ชีวิตประจำวัน และรับผิดชอบในการทำงาน ตัวชี้วัดที่ ๑ ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัว โรงเรียนและสังคม พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม (๓) ๑.๑ ปฏิบัติตนตาม ข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของ ครอบครัว โรงเรียนและ สังคม ไม่ละเมิดสิทธิของ ผู้อื่น ๑.๒ ตรงต่อเวลาในการ ปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ใน ชีวิตประจำวัน และ รับผิดชอบในการทำงาน ไม่ปฏิบัติตนตาม ข้อตกลงกฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับ ของครอบครัว และโรงเรียน ปฏิบัติตาม ข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของ ครอบครัวและ โรงเรียนตรงต่อ เวลาในการ ปฏิบัติกิจกรรม ต่าง ๆ ในชีวิต ประจำวัน ปฏิบัติตาม ข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับ ของครอบครัว และโรงเรียน ตรงต่อเวลาใน การปฏิบัติ กิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิต ประจำวัน และรับผิดชอบ ในการทำงาน ปฏิบัติตาม ข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของ ครอบครัว โรงเรียน และ สังคม ไม่ละเมิด สิทธิของผู้อื่น ตรงต่อเวลา ในการปฏิบัติ กิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน และรับผิดชอบใน การทำงาน เกณฑ์การให้คะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค์มีวินัย ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้คุณลักษณะอันพึงประสงค์มีวินัย


๒÷๒ สรุป ผลการ ประเมิน ๐ ๑ ๒ ๓ ๐ ๑ ๒ ๓ 1 เด็กชายอัครเดช ทองปลาย ๓ ดีเยี่ยม 2 เด็กชายนันทวัฒน์ โนนสูง ๓ ดีเยี่ยม 3 เด็กชายกิตตินันท์ นาคงาม ๓ ดีเยี่ยม 4 เด็กชายสรวิชญ์ ชิณโชติ ๓ ดีเยี่ยม 5 เด็กชายปิยวัฒน์ เคนสินธ์ ๓ ดีเยี่ยม 6 เด็กชายรัฐศาสตร์ แสนโคตร ๓ ดีเยี่ยม 7 เด็กชายธนโชติ กันหาบุตร ๓ ดีเยี่ยม 8 เด็กชายฐิรพงษ์ ยืนนาน ๒ ดี 9 เด็กชายธนัตถ์ แก้วกลึงกลม ๓ ดีเยี่ยม 10 เด็กหญิงวริศรา คุณพรม ๓ ดีเยี่ยม 11 เด็กหญิงวิมลศิริ โสมเกตรินทร์ ๓ ดีเยี่ยม 12 เด็กหญิงพัสวี บุญคุณ ๒ ดี 13 เด็กหญิงอุบลวรรณ จันทะพักดิ์ ๓ ดีเยี่ยม 14 เด็กหญิงสุพิชชา วงค์คำ ๓ ดีเยี่ยม 15 เด็กหญิงพัทธริดา บรรพตาธิ ๓ ดีเยี่ยม 16 เด็กหญิงอรสา ขันสิงห์ ๓ ดีเยี่ยม แบบบันทึก คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้


๘๓ ตัวชี้วัด พฤติกรรมบ่งชี้ ๑. ตั้งใจ เพียรพยายาม ในการเรียน และเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ ๑.๑ ตั้งใจเรียน ๑.๒ เอาใจใส่และมีความเพียรพยายามในการเรียนรู้ ๑.๓ สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ๒. แสวงหาความรู้จากทั้งภายใน และ ภายนอกโรงเรียน ด้วยการเลือกใช้สื่ออย่าง เหมาะสม สรุปเป็นองค์ความรู้และสามารถ นำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ๒.๑ ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์สื่อเทคโนโลยีต่าง ๆ แหล่งเรียนรู้ทั้งภายใน และ ภายนอกโรงเรียน และเลือกใช้สื่อได้อย่างเหมาะสม ๒.๒ บันทึกความรู้วิเคราะห์ตรวจสอบ จากสิ่งที่ เรียนรู้สรุปเป็นองค์ความรู้ ๒.๓ แลกเปลี่ยนความรู้ด้วยวิธีการต่าง ๆ และ นำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ตัวชี้วัดที่ ๑ ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรม พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม (๓) ๑.๑ ตั้งใจเรียน ๑.๒ เอาใจใส่และมี ความเพียรพยายาม ในการเรียนรู้ ๑.๓ สนใจเข้าร่วม กิจกรรมการเรียนรู้ ต่าง ๆ ไม่ตั้งใจเรียน เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียน เอาใจ ใส่ในการเรียน มี ส่วนร่วมใน การเรียนรู้และ เข้าร่วมกิจกรรม การเรียนรู้ต่าง ๆ เป็นบางครั้ง เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียน เอาใจ ใส่และมีความ เพียรพยายามใน การเรียนรู้มีส่วน ร่วมในการเรียนรู้ และเข้าร่วม กิจกรรมการ เรียนรู้ต่าง ๆ บ่อยครั้ง เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียน เอาใจ ใส่และมีความ เพียรพยายามใน การเรียนรู้มีส่วน ร่วมในการเรียนรู้ และเข้าร่วม กิจกรรมการ เรียนรู้ต่าง ๆ ทั้ง ภายใน และภาย นอกโรงเรียนเป็น ประจำ ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้คุณลักษณะอันพึงประสงค์ใฝ่เรียนรู้ เกณฑ์การให้คะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ใฝ่เรียนรู้


๘๔ ตัวชี้วัดที่ ๒ แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน ด้วยการเลือกใช้ สื่ออย่างเหมาะสม สรุปเป็นองค์ความรู้และสามารถนำไปใช้ในชีวิต ประจำวันได้ พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม (๓) ๒.๑ ศึกษาค้นคว้าหา ความรู้ จากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยีต่างๆแหล่งเรียนรู้ ทั้ง ภายใน และภายนอก โรงเรียน และ เลือกใช้สื่อ ได้อย่างเหมาะสม ๒.๒ บันทึกความรู้วิเคราะห์ ข้อมูลจากสิ่งที่เรียนรู้สรุปเป็น องค์ความรู้ ๒.๓ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วย วิธีการต่าง ๆและนำไปใช้ใน ชีวิตประจำวัน ไม่ศึกษา ค้นคว้าหา ความรู้ ศึกษาค้นคว้า ความรู้จาก หนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์สื่อ เทคโนโลยี แหล่งเรียนรู้ ทั้งภายในและ ภายนอก โรงเรียนเลือก ใช้สื่อได้อย่าง เหมาะสม และมีการ บันทึกความรู้ ศึกษาค้นคว้าหา ความรู้จาก หนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยี และสารสนเทศ แหล่งเรียนรู้ทั้ง ภายในและ ภายนอก โรงเรียนและ เลือกใช้สื่อได้ อย่างเหมาะสม มีการบันทึก ความรู้ วิเคราะห์ข้อมูล สรุป เป็นองค์ ความรู้และ แลกเปลี่ยน เรียนรู้กับผู้อื่น ได้ ศึกษาค้นคว้าหา ความรู้จาก หนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์สื่อ เทคโนโลยีและ สารสนเทศ แหล่งเรียนรู้ทั้ง ภายใน และ ภายนอก โรงเรียน เลือกใช้สื่อได้ อย่างเหมาะสม มีการบันทึก ความรู้ วิเคราะห์ข้อมูล สรุปเป็นองค์ ความรู้และ แลกเปลี่ยน เรียนรู้ด้วย วิธีการที่หลาก หลาย และ นำไป ใช้ในชีวิต ประจำวันได้ เกณฑ์การให้คะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ใฝ่เรียนรู้


๒÷๒ สรุป ผลการ ประเมิน ๐ ๑ ๒ ๓ ๐ ๑ ๒ ๓ 1 เด็กชายอัครเดช ทองปลาย ๓ ดีเยี่ยม 2 เด็กชายนันทวัฒน์ โนนสูง ๓ ดีเยี่ยม 3 เด็กชายกิตตินันท์ นาคงาม ๓ ดีเยี่ยม 4 เด็กชายสรวิชญ์ ชิณโชติ ๒ ดี 5 เด็กชายปิยวัฒน์ เคนสินธ์ ๒ ดี 6 เด็กชายรัฐศาสตร์ แสนโคตร ๓ ดีเยี่ยม 7 เด็กชายธนโชติ กันหาบุตร ๒ ดี 8 เด็กชายฐิรพงษ์ ยืนนาน ๒ ดี 9 เด็กชายธนัตถ์ แก้วกลึงกลม ๒ ดี 10 เด็กหญิงวริศรา คุณพรม ๒ ดี 11 เด็กหญิงวิมลศิริ โสมเกตรินทร์ ๓ ดีเยี่ยม 12 เด็กหญิงพัสวี บุญคุณ ๒ ดี 13 เด็กหญิงอุบลวรรณ จันทะพักดิ์ ๓ ดีเยี่ยม 14 เด็กหญิงสุพิชชา วงค์คำ ๓ ดีเยี่ยม 15 เด็กหญิงพัทธริดา บรรพตาธิ ๓ ดีเยี่ยม 16 เด็กหญิงอรสา ขันสิงห์ ๓ ดีเยี่ยม แบบบันทึก คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มุ่งมั่นในการทำงาน


๘๖ ตัวชี้วัดที่ ๑ ตั้งใจและรับผิดชอบในหน้าที่การงาน ตัวชี้วัด พฤติกรรมบ่งชี้ ๑ ตั้งใจและรับผิดชอบในหน้าที่การงาน ๑.๑ เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ๑.๒ ตั้งใจและรับผิดชอบในการทำงานให้สำเร็จ ๑.๓ ปรับปรุงและพัฒนาการทำงานด้วยตนเอง ๒ ทำงานด้วย ความเพียรพยายาม และ อดทนเพื่อให้งานสำเร็จตามเป้าหมาย ๒.๑ ทุ่มเททำงาน อดทน ไม่ย่อท้อต่อปัญหาและ อุปสรรคในการทำงาน ๒.๒ พยายามแก้ปัญหาและอุปสรรคในการทำงานให้ สำเร็จ ๒.๓ ชื่นชมผลงานด้วยความภาคภูมิใจ พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม (๓) ๑.๑ เอาใจใส่ต่อการ ปฏิบัติ หน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ๑.๒ ตั้งใจและรับผิดชอบ ในการทำงานให้สำเร็จ ๑.๓ ปรับปรุงและพัฒนาการ ทำงานด้วยตนเอง ไม่ตั้งใจปฏิบัติ หน้าที่การงาน ตั้งใจและ รับผิดชอบ ในการปฏิบัติ หน้าที่ที่ได้รับ มอบหมายให้ สำเร็จ มีการ ปรับปรุงการ ทำงานให้ดีขึ้น ตั้งใจและรับผิด ชอบในการ ปฏิบัติหน้าที่ที่ ได้รับมอบหมาย ให้สำเร็จ มีการ ปรับปรุง และ พัฒนาการ ทำงานให้ดีขึ้น ตั้งใจและ รับผิดชอบใน การปฏิบัติ หน้าที่ที่ได้รับ มอบหมายให้ สำเร็จ มีการ ปรับปรุงและ พัฒนาการ ทำงานให้ดีขึ้น ด้วยตนเอง ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้คุณลักษณะอันพึงประสงค์มุ่งมั่นในการทำงาน เกณฑ์การให้คะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค์มุ่งมั่นในการทำงาน


๘๗ ตัวชี้วัดที่ ๒ ทำงานด้วย ความเพียรพยายาม และ อดทนเพื่อให้งานสำเร็จตามเป้าหมาย พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (๐) ผ่าน (๑) ดี (๒) ดีเยี่ยม (๓) ๒.๑ ทุ่มเททำงานอดทน ไม่ย่อท้อต่อปัญหา และ อุปสรรคในการทำงาน ๒.๒ พยายามแก้ปัญหาและ อุปสรรคในการทำงานให้สำเร็จ ๒.๓ ชื่นชมผลงานด้วย ความภาคภูมิใจ ไม่ขยัน อดทน ในการ ทำงาน ทำงานด้วย ความขยัน อดทน และ พยายาม ให้งานสำเร็จ ตาม เป้าหมาย และชื่นชม ผลงานด้วย ความ ภาคภูมิใจ ทำงานด้วย ความขยัน อดทน และ พยายามให้ งานสำเร็จตาม เป้าหมาย ไม่ ย่อท้อต่อ ปัญหาในการ ทำงาน และ ชื่นชมผลงาน ด้วยความ ภาคภูมิใจ ทำงานด้วย ความขยัน อดทน และ พยายามให้งาน สำเร็จตาม เป้าหมาย ภายในเวลา ที่ กำหนดไม่ย่อท้อ ต่อปัญหา แก้ปัญหา อุปสรรค ในการ ทำงาน และ ชื่น ชมผลงานด้วย ความภาคภูมิใจ เกณฑ์การให้คะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค์มุ่งมั่นในการทำงาน


๘๘ คำชี้แจง ใส่ผลการประเมินพฤติกรรมสำคัญของนักเรียน ลงในช่องที่ทำการประเมิน ลงชื่อ........ ............................................ผู้ประเมิน (นางสาวสุพรรณษา รอบรู้ดี) ที่ ชื่อ สกุล มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นใน การทำงาน รวม สรุป ผลการประเมิน ๓ ๓ ๓ ๓ 1 เด็กชายอัครเดช ทองปลาย ๓ ๓ ๓ ๓ ดีเยี่ยม 2 เด็กชายนันทวัฒน์ โนนสูง ๓ ๓ ๓ ๓ ดีเยี่ยม 3 เด็กชายกิตตินันท์ นาคงาม ๓ ๓ ๓ ๓ ดีเยี่ยม 4 เด็กชายสรวิชญ์ ชิณโชติ ๓ ๓ ๒ ๒.๖ ดีเยี่ยม 5 เด็กชายปิยวัฒน์ เคนสินธ์ ๓ ๓ ๒ ๒.๖ ดีเยี่ยม 6 เด็กชายรัฐศาสตร์ แสนโคตร ๓ ๓ ๓ ๓ ดีเยี่ยม 7 เด็กชายธนโชติ กันหาบุตร ๓ ๓ ๒ ๒.๖ ดีเยี่ยม 8 เด็กชายฐิรพงษ์ ยืนนาน ๓ ๒ ๒ ๒.๓ ดี 9 เด็กชายธนัตถ์ แก้วกลึงกลม ๓ ๓ ๒ ๒.๖ ดีเยี่ยม 10 เด็กหญิงวริศรา คุณพรม ๓ ๓ ๒ ๒.๖ ดีเยี่ยม 11 เด็กหญิงวิมลศิริ โสมเกตรินทร์ ๓ ๓ ๓ ๓ ดีเยี่ยม 12 เด็กหญิงพัสวี บุญคุณ ๓ ๒ ๒ ๒.๓ ดี 13 เด็กหญิงอุบลวรรณ จันทะพักดิ์ ๓ ๓ ๓ ๓ ดีเยี่ยม 14 เด็กหญิงสุพิชชา วงค์คำ ๓ ๓ ๓ ๓ ดีเยี่ยม 15 เด็กหญิงพัทธริดา บรรพตาธิ ๓ ๓ ๓ ๓ ดีเยี่ยม 16 เด็กหญิงอรสา ขันสิงห์ ๓ ๓ ๓ ๓ ดีเยี่ยม แบบสรุป คุณลักษณะอันพึงประสงค์


๘๙ คะแนน ๒.๕ – ๓.๐ ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม (๓) คะแนน ๑.๕ – ๒.๔ ระดับคุณภาพ ดี (๒) คะแนน ๑.๐– ๑.๔ ระดับคุณภาพ ผ่าน (๑) คะแนน ๐– ๐.๙ ระดับคุณภาพ ไม่ผ่าน (๐) ระดับ เกณฑ์การพิจารณา ดีเยี่ยม (๓) ๑. ได้ผลการประเมินระดับดีเยี่ยมทุกตัวชี้วัด ดี (๒) ๑. ได้ผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จำนวน ๑ ตัวชี้วัดและระดับ ดี จำนวน ๑ ตัวชี้วัด หรือ ๒. ได้ผลการประเมินระดับดีทุกตัวชี้วัด ผ่าน (๑) ๑. ได้ผลการประเมินระดับผ่านทุกตัวชี้วัด หรือ ๒. ได้ผลการประเมินตั้งแต่ระดับดีขึ้นไป จำนวน ๑ ตัวชี้วัด และระดับผ่าน จำนวน ๑ ตัวชี้วัด ไม่ผ่าน (๐) ได้ผลการประเมินระดับไม่ผ่าน ตั้งแต่ ๑ ตัวชี้วัด ขึ้นไป ระดับคะแนน ตัดสินระดับคุณภาพตามเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ สรุปผลการประเมิน


Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.