Final Project Flipbook PDF

Final Project

42 downloads 112 Views 38MB Size

Recommend Stories


PROJECT
ANEJO I ’R[M LDFO II INSTRUCCIONES PARA LA CONTABILIZACION Y CONTROL DE LAS APORTACIONES FEDERALES EN EL SISTEMA PRIFAS AGENCIAS QUE NO UTILIZAN EL M

JAVIER EDUARCO AGUILAR VILLANUEVA ID UM3631SIS8619 FINAL PROJECT I
JAVIER EDUARCO AGUILAR VILLANUEVA ID UM3631SIS8619 FINAL PROJECT I CREATIVE INTELLIGENCE: Discovering the Innovative Potential in Ourselves and Other

Story Transcript

AUSTRALIA SWITZERLAND SWEDEN ENGLAND UKRAINE QATAR JAPAN ITALI

PERFACE นิตยสารดิจิทัลเลมนี้เปนสวนหนึ่งของวิชา Global Alliance and Emerging Issues ทําขึ้นเพื่อศึกษาหาความรูเกี่ยบกับประเทศตางๆที่ไดคัดเลือกมาจัดทํา เชน ประเทศออสเตรเลีย, ประ เทศสวิตเซอรแลนด, ประเทศสวีเดน, ประเทศอังกฤษ, ประเทศยูเครน, ประเทศกาตาร, ประเทศญี่ปุน และประเทศอิตาลี ผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวานิตยสารดิจิทัลเลมนี้จะมีประเทศโยชนตอผูอานและศึกษาตอไป ทั้งนี้หากมีขอผิดพลาดประการใด จึงขออภัยไว ณ ที้นี้

คณะผูจัดทํา

CONTENTS คํา นํา

A

สารบัญ

B

AUSTRIA

01

SWIZER

05

SWEDEN

09

ENGLAND

12

UKRAINE

15

QATAR

18

ITALY

23

JAPAN

31

บรรณานุ ก รม

40

1

AUSTRIA

ภูมิหลัง ประวัติศาสตรออสเตรเลีย ประวัติศาสตรของดินแดน และประชากรที่อาศัยอยูในเครือรัฐออสเตรเลีย รวมถึงชน พื้นเมืองที่อยูมากอน และชาวอาณานิคมที่อพยพเขามาใน ภายหลัง ผูคนที่เขามาอาศัยเปนกลุมแรก เชื่อกันวาเปน ชนพื้นเมืองดั้งเดิมที่อพยพขึ้นมาอาศัยอยูในแผนดินทวีป ออสเตรเลีย ขามทะเลมาจากหมูเกาะในภูมิภาคเอเชียตะวัน ออกเฉียงใตเมื่อประมาณ 40,000 ถึง 70,000 ปที่แลว ธรรมเนียมและประเพณีเชิงศิลป, ดนตรี และศาสนาที่พวก เขาสถาปนาขึ้นเปนหนึ่งในประเพณีที่เกาแกที่สุดใน ประวัติศาสตรมนุษยชาติ ที่ยังสืบทอดมาจนนับบัดนี้

วรรณวลี ตรีธัญญา

2

ลักษณะภูมิประเทศ ออสเตรเลียมีลักษณะภูมิประเทศรอยละ 65 เปนที่ราบสูง และตั้งอยูทางทิศ ตะวันตก

พื้นที่สวนใหญเปนทะเลทรายที่แหงแลงและทุรกันดาร

และมีขนาดทะเล

ทรายรวมกันใหญเปนอันดับ 2 ของโลก รองจากทะเลทรายสะฮารา (Sahara) ใน ทวีปแอฟริกา

ชาวออสเตรเลียเรียกดินแดนที่แหงแลงและทุรกันดารนี้วา

“เอาต

แบ็ก” (Outback)

ลักษณะประชากร ประเทศออสเตรเลียมีประชากรประมาน22ลานคน และเปนสังคมที่มีความ หลากหลายมากที่สุดสังคมหนึ่งของโลก ชาวพื้นเมืองของออสเตรเลีย มีประชากรนับเปนรอยละ 2.5 ของจํานวนประชากรทั้งหมด คนที่ตั้งถิ่นฐานอยูในออสเตรเลียหนึ่งในสี่เปนผูที่เกิดในตางประเทศ

ภาษา ชาวออสเตรเลียใชภาษาอังกฤษ เพราะไมมีภาษาราชการ ศาสนา ออสเตรเลียไมมีศาสนาประจําชาติอยางเปนทางการและผูคนในออสเตรเลียมี อิสระที่จะปฏิบัติตามศาสนาใด ๆ ก็ตามที่ตนเลือก รัฐบาลปฏิบัติตอประชาชนทุกคน อยางเทาเทียมกัน

วรรณวลี ตรีธัญญา

3 วัฒนธรรม วัฒนธรรมออสเตรเลียมีพื้นฐานอยูบนเรื่องราวของนักตอสู เจาหนาที่ดูแลปา และทหารผูกลา เรื่องราวของวีรบุรุษนักกีฬา วีรบุรุษนักทํางาน และนักอพยพผู กลา ทั้งหมดลวนเปนเรื่องของความเสมอภาค ชีวิตกลางแจงอันวิเศษ และการมี นํ้าใจตอผูถูกเยยหยัน ปจจุบัน ออสเตรเลียยังนิยามตัวเองวาเปนมรดกของชา วอะบอริจิน การผสมผสานทางวัฒนธรรมอันมีสีสัน นวัตกรรมทางความคิด และ แหลงศิลปะอันรุงเรือง

เศรษฐกิจ ออสเตรเลีย เปนประเทศที่คนไทยไปอยูเยอะ ทั้งไปเที่ยว ไปเรียนตอ ไปทํางาน ถาพูดถึงออสเตรเลีย ก็ เปนประเทศหนึ่งที่มีระบบเศรษกิจที่ดี

ประเทศออสเตรเลีย

เปนประเทศที่มีแกะมากที่สุดในโลก

ทําให

ออสเตรเลียเปนประเทศที่สงออกขนแกะมากที่สุดในโลก ออสเตรเลียมีประชากรโคประมาณ 2 เทาของ จํานวนประชากร สวนใหญเปนโคเนื้อมากกวาโคนม นอกจากนี้ยังมีสินคาสงออกอีกมากมาย เชน ขาว สาลี แรธาตุ เหล็ก ทองแดง สินคาอุสาหกรรมตางๆ ประเทศที่รับซื้อสินคาจากออสเตรเลีย ไดแก สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน จีน เกาหลี สหภาพยุโรปที่ออสเตรเลียยังมีการทํางานอุตสาหกรรม อุตสาหกรรม สวนใหญของออสเตรเลียเปนอุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร

เชน

สิ่งทอจากฝายและขน

สัตว นํ้าตาล แปง นมเนย อาหารกระปอง เครื่องมือทางการเกษตร การเมือง การปกครอง ออสเตรเลียเปนสหพันธรัฐซึ่งปกครองดวยระบอบรา ชาธิปไตยภายใตรัฐธรรมนูญ ประกอบไปดวย 6 รัฐ และ 10 ดินแดนสหพันธ และยังเปนหนึ่งในประเทศที่ ประกอบไปดวยผูพลัดถิ่นจํานวนมาก

โดยคิดเปน

อัตราสวนสูงถึงรอยละ 30 ของประชากรทั้งหมดและ กวาครึ่งหนึ่งของพลเมืองออสเตรเลียกําเนิดจากบิดา หรือมารดาซึ่งกําเนิดในตางประเทศ

ทวีปออสเตรเลีย

เปนทวีปที่เกาแกที่สุด มีลักษณะแบนราบที่สุดและเปน ทวีปที่แหงแลงที่สุดที่มีผูคนอาศัยอยูโดยมีปริมาณของ ดินอุดมสมบูรณในระดับตํ่า

และออสเตรเลียยังเปน

ประเทศที่มีลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศที่แตกตาง กันมากที่สุดแหงหนึ่งของโลก โดยมีทะเลทรายอยูตรง กลาง มีปาฝนเขตรอนทางตะวันออกเฉียงเหนือ และ ทิวเขาทางตะวันออกเฉียงใต

บริเวณทั้งหมดของ

ประเทศยังเปนหนึ่งในดินแดนที่มีความหลากหลายทาง ชีวภาพสูง

วรรณวลี ตรีธัญญา

4

สถานที่ทองเที่ยว

1. Uluru

2. The Whitsundays

5. Byron Bay

6. Great Barrier Reef

3. Sydney

7. Margaret River

4. Tasmania

8. Great Ocean Road

10. South Australian

9. Melbourne

Wine Regions

11. Pinnacles Desert

12. Ningaloo Reef

บุคคลที่สรางประวัติศาสตรหรือความโดดเดน สมเด็จพระเจาชาลสที่3 เดวิด เฮอรลีย แอนโทนี แอลบานีส

วรรณวลี ตรีธัญญา

5

SWIZER สวิตเซอรแลนดประเทศที่พรั่งพรอมไปดวยภูมิประเทศอันสวยงาม ยอดเขาสูงและทะเลสาบ จน นักทองเที่ยวหลายๆคน ใฝฝนที่จะไปเยือนดินแดนแหงนี้ใหไดสักครั้งในชีวิต แตถาจะใหเขาถึงประ เทศสวิตเซอรแลนดอยางถองแทแลว คงตองเริ่มตั้งแตการถือกําเนิดเกิดมาประเทศสวิตเซอรแลนด กันเลย ซึ่งตามหลักฐานทางประวัติศาสตรกลาวไววา บริเวณที่เปนประเทศสวิตเซอรแลนดนี้เคย เปนที่อยูของชนเผากลุมเรรอนมาตั้งแตสมัย 10000 ปกอนคริสตกาล จนกระทั่งเมื่อเขาสูยุค โรมัน ชนเผาชาวโรมันก็ยายเขามาตั้งรกรากอยู และเมื่ออาณาจักรโรมันอันศักดิ์สิทธิ์เจริญอํานาจ ขึ้นมา ผินดินที่เปนสวิตเซอรแลนดในปจจุบันก็ตกอยูภายใตการปกครองของอาณาจักนี้ ตอมาก็ได มีการรวบรวมแควนตางๆ

เขาดวยกัน

เพื่อตอตานความกดดันจากราชวงศฮับสบวรกสซึ่งเปน

ราชวงศที่ยิ่งใหญในสมัยนั้น จนกระทั่งไดเริ่มมีการกอรางสรางตัวเปนประเทศสวิตเซอรแลนดในป 1291 หลังจากนั้นก็ยังมีสงครามระหวางชนเผาตางๆ ที่อาศัยอยูในประเทศสวิตเซอรแลนดหลาย ครั้ง จนกระทั่งไดกลายมาเปนประเทศที่ถือไดวาเปนประเทศที่สงบ

ลักษณะภูมิประเทศ ประเทศสวิตเซอรแลนดเปนประเทศที่มี ขนาดคอนขางเล็กและไมมีทางออกสูทะเล เนื่องจากประเทศสวิตเซอรตั้งอยูใจกลาง ของทวีปยุโรป พรอมกับมีพรมแดนติด กับหลายประเทศดวยกัน นอกจากนั้น ประเทศสวิตเซอรแลนดยังเปนประเทศที่ ใหการรวมมือระหวางประเทศอยางตอ เนื่องพราะวาประเทศแหงนี้มีการกอตั้ง องคกรระหวางประเทศอยูมากมาย

วรรณวลี ตรีธัญญา

6

ลักษณะประชากร ประเทศสวิตเซอรแลนดเปนประเทศหนึ่งที่มีจํานวนประชากรคอนขางนอย

โดยอางอิงจากการ

สํารวจประชากรเมื่อป 2549 พบวามีประชากร 7.5 ลานคน โดยแบงแยกออกเปนตามลักษณะดังตอ ไปนี้ ชาวสวิตเชื้อสายเยอรมันรอยละ 65%, ชาวสวิตเชื้อสายฝรั่งเศส 18%, ชาวสวิตเซอรแลนดเชื้อ สายอิตาลี 10% ภาษา ในดานการใชภาษาก็จะแบงออกไปเปนตาม เชื้อสายดวยแบงออกเปนลักษณะดังนี้ ภาษาเยอรมัน 63.7% , ภาษาฝรั่งเศส 20.4% และ ภาษาอิตาลี 6.5% เปนตน จากขอมูลสถิติดานบนจึงพอสรุปไดวาประ เทศสวิตเซอรแลนดมีประชากรสวนใหญใช ภาษาเยอรมันเปนหลัก แตอยางไรก็ตามหาก ใครที่เดินทางไปทองเที่ยวหรือเดินทางไป เรียนตอสวิต ก็สามารถที่จะใชภาษาอังกฤษ ไดดวย

เพราะยังมีคนจํานวนไมนอยที่ใช

ภาษาอังกฤษสื่อสาร แตตองเปนเฉพาะเมือง ใหญ ๆ หรือแหลงทองเที่ยวเทานั้น

วรรณวลี ตรีธัญญา

7 ศาสนา ประชาชนรอยละ 48 ของที่นี่สวนใหญนับถือศาสนาคริสต ขณะเดียวกันยังมี การนับถือศาสนาคริสตนิกายโรมันคาทอลิกรอยละ 44 และนิกายโปรเตสแตนท รอยละ 8 ในดานศาสนาอื่น ๆ นั้นก็ประกอบไปดวย ศาสนาคริสตนิกายออโทดอกซ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสตนิกายอื่นๆ รวมไปจนถึงคนที่ไมนับถือศาสนาใด ๆ เลย

วัฒนธรรม เนื่องจากประเทศ สวิตเซอรแลนด(Switzerland) เปนประเทศหนึ่งที่มีความหลากหลาย ในดานเชื้อชาติและศาสนา และเหตุนี้เองจึงทําใหประเทศนี้มีเสนหในดานวัฒนธรรมทองถิ่น ที่มากมาย และเต็มเปยมไปดวยความมีชีวิตชีวาตามลักษณะนิสัยของชาวสวิตที่ชอบงาน ดาน ศิลปะ เชน งานฝมือ งานแกะสลัก การเตนรําและการรองเพลงเปนตน แตอยางไร ก็ตามวัฒนธรรมที่มีความโดดเดนที่สุดในประเทศที่อยูกลางหุบเขาแหงนี้คือ Schuplatter ซึ่งเปนการเตนรําพื้นเมืองดั้งเดิมอันยอดนิยมในเทือกเขาแอลป

เศรษฐกิจ “เศรษฐกิจสวิตเซอรแลนด”

ยังคงเปนหนึ่งในประเทศที่ไดชื่อวามีเศรษฐกิจแข็งแกรงที่สุดประเทศหนึ่ง

ของโลก ดวยการรั้งอันดับ 2 ของประเทศที่มี GDP Per capita เทากับ 83,717 ดอลลารสหรัฐฯ ในป 2019 การเมือง การปกครอง ประชาธิปไตยแบบสมาพันธรัฐ (confederation) ประกอบดวย มณฑล(Canton) 26 มณฑล ใน จํานวนนี้ 3 มณฑลถูกแบงออกเปนกึ่งมณฑล (half-canton) 6 แหง ซึ่งมีอํานาจบริหารภายในของ แตละ มณฑล สวนอํานาจบริหารสวนกลางจะอยูที่คณะมนตรีแหงสมาพันธ (Federal Council) ซึ่ง เทียบเทากับคณะรัฐมนตรี ประกอบดวยสมาชิกที่เรียกวามนตรีแหงสมาพันธ (Federal Councillor) 7 คน มีวาระในตําแหนงคราวละ 4 ป และใน 7 คน จะผลัดกันเปน ประธานาธิบดีคนละ 1 ป

วรรณวลี ตรีธัญญา

8

สถานที่ทองเที่ยว

1. Lauterbrunnen

5. Geneva

9. Lucerne

2. Fribourg

3. Zermatt

6. Lausanne

7. Bern

10. Thun

11. Gruyeres

4. Interlaken

8. Montreux

บุคคลที่สรางประวัติศาสตรหรือมีความโดดเดน วัลเตอร ทรูนเฮอร

วรรณวลี ตรีธัญญา

9

SWEDEN สวีเดน เปนประเทศนอรดิกในยุโรปเหนือ มีพรมแดนติดกับนอรเวยทางทิศตะวันตกและทิศเหนือฟนแลนด ไปทางทิศตะวันออกและเชื่อมตอกับเดนมารกทางตะวันตกเฉียงใตดวยสะพานอุโมงคขามชองแคบเออเร ซุนด ที่ 450,295 ตารางกิโลเมตร (173,860 ตารางไมล) สวีเดนเปนประเทศที่ใหญที่สุดในยุโรปเหนือ ซึ่งเปนประเทศที่ใหญเปนอันดับสามในสหภาพยุโรปและเปนประเทศที่ใหญเปนอันดับหาในยุโรปตามพื้นที่ เมืองหลวงคือสตอกโฮลม

ภูมิหลัง กลุมชนเจอรเมนิกเขามาตั้งรกรากในสวีเดนตั้งแตยุคกอน ประวัติศาสตรและดํารงชีพดวยการทําประมงกอนจะรวมตัว กันเปนชาวทะเลที่รูจักกันในชื่อ

ชาวนอรส

รัฐอิสระของ

สวีเดนเกิดขึ้นในชวงตนศตวรรษที่ 12 หลังจากการระบาด ทั่วของกาฬโรคครั้งใหญในกลางศตวรรษที่ 14 ซึ่งคราชีวิต ชาวสแกนดิเนเวียไปกวาหนึ่งในสาม

การครอบงําของสันนิ

บาตฮันเซอในยุโรปเหนือไดคุกคามชาวสแกนดิเนเวียทั้งใน ดานเศรษฐกิจและการเมือง หลังสิ้นสุดยุคไวกิงสวีเดนกลายเปนสวนหนึ่งของ สหภาพคัลมารใน ค.ศ. 1397 รวมกับเดนมารกและนอรเวย แตไดออกจากสหภาพในชวงตนศตวรรษที่ 16 ในสงคราม สามสิบปและไดรบกับประเทศเพื่อนบานโดยเฉพาะรัสเซีย เดนมารกและนอรเวยซึ่งไมยอมรับการที่สวีเดนออกจาก สหภาพ

ในศตวรรษที่ 17 สวีเดนไดขยายอาณาเขตดวยสงครามและกลายเปนหนึ่งชาติมหาอํานาจที่ยิ่งใหญที่สุดในยุโรป กอนจะสูญเสียพื้นที่ราชอาณาจักรรวมถึงฟนแลนดที่เคยเปนสวนหนึ่งของสวีเดน และนับตั้งแตเขารวมสงครามสห ราชอาณาจักรสวีเดนและนอรเวยใน ค.ศ. 1814 สวีเดนอยูในภาวะสันติและปราศจากสงครามระหวางประเทศมา ตลอด โดยมีนโยบายตางประเทศที่ไมฝกใฝฝายใด และเปนกลางในสงครามรวมถึงในสงครามโลกครั้งที่สองและ สงครามเย็น ใน ค.ศ. 2014 สวีเดนไดเฉลิมฉลองสันติภาพประเทศครบ 200 ป ทําลายสถิติของสวิตเซอรแลนด

นุชวรา เชื้อสุวรรณ

10 ลักษณะประชากร สวีเดนมีประชากรทั้งหมด 10.4 ลานคนโดย 2.6 ลานคนมีภูมิหลังตางประเทศ บุคคลที่มีภูมิ หลังตางประเทศหมายถึงบุคคลที่เกิดในตาง ประเทศหรือเกิดในสวีเดนโดยมีบิดามารดาที่ เกิดในตางประเทศ มีความหนาแนนของ ประชากรตํ่า 25 คนตอหนึ่งตารางกิโลเมตร (65 / ตารางไมล) โดยมี 1 437 คนตอตาราง กิโลเมตร 2 ในทองถิ่น ชาวสวีเดน 87% อาศัยอยูในเขตเมืองซึ่งครอบคลุม 1.5% ของ พื้นที่ทั้งหมด ความเขมขนสูงสุดอยูที่ภาคกลาง และภาคใตของประเทศ

ภาษา ภาษาสวีเดน (svenska) เปนภาษาในกลุมภาษาเจอร แมนิกเหนือ มีผูพูดเปนภาษาแมประมาณ 9.6 ลานคน สวนใหญอาศัยอยูในประเทศสวีเดน ภาษาสวีเดนเปน ภาษาราชการของประเทศสวีเดน หนึ่งในภาษาราชการ ของประเทศฟนแลนด ภาษาราชการของหมูเกาะโอลันด และหนึ่งในภาษาราชการของสหภาพยุโรป ภาษาสวีเดนมีความใกลชิดกับภาษาสแกนดิเนเวียภาคพื้นทวีปอัน ไดแกภาษาเดนมารกและภาษานอรเวย โดยผูพูดภาษาเหลานี้สามารถเขาใจภาษาซึ่งกันและกันไดในระดับสูง ภาษาสวีเดนมีมีที่มาจากภาษานอรสโบราณเชนเดียวกับภาษาเดนมารกและนอรเวย

ศาสนา คริสตนิกายลูเธอรัน รอยละ 87 นิกายคาทอลิก และอื่น ๆ รอยละ 13

วัฒนธรรม งานเฉลิมฉลองบางอยางในวัฒนธรรมและประเพณีของสวีเดนมี ความหมายทางศาสนา เชน อีสเตอร วันเซนตลูเซีย คริสตมาส วิต ซันไทด การจุติ ฯลฯ ในเชาวันที่ 13 ธันวาคม แสงเทียนของลูเซีย จะสวางขึ้น ซึ่งเปนประเพณีลาสุดแตไดรับความนิยมอยางมาก . ในชวงเวลาที่มืดมนที่สุดของป พิธีจะประกอบดวยเทียน Lucia พรอมกับ "ราชินีแหงแสง" ที่สวมมงกุฎเทียนที่จุดไฟและชุดสีขาว ซึ่งเปนตัวแทนของดวงอาทิตยที่กลับมา

นุชวรา เชื้อสุวรรณ

11

็จ เด

ะร า

สว ี เด น

สม พร

ธิบ ดีค ารล ที่1

6 กุสตาฟ พระประมุขข

าช องร

อา ณ

ักร าจ

เศรษฐกิจ สวีเดนเปนประเทศที่มีพื้นที่มากที่สุดประเทศหนึ่งในยุโรป แตมีประชากรเพียง 10.2 ลานคน จึงทําใหสวีเดนมี ตลาดภายในขนาดเล็กและมีระบบเศรษฐกิจแบบพึ่งพาการสงออก โดยมากกวารอยละ 80 ของสินคาสงออก เปนสินคาอุตสาหกรรม ไดแก อุตสาหกรรมปาไม กระดาษ เหล็ก อุตสาหกรรมผลิตรถยนต อากาศยาน โทรคมนาคม เทคโนโลยีสารสนเทศ การผลิตอาวุธ/ยุทโธปกรณทางทหาร และการผลิตเวชภัณฑ ในดานนโยบายการเงินและอัตราแลกเปลี่ยน แตเดิมคาเงินโครนสวีเดนถูกกําหนดไวคงที่เมื่อเทียบกับเงินสกุล สําคัญ แตเมื่อป พ.ศ. 2535 ธนาคารแหงชาติของสวีเดนไดยกเลิกระบบดังกลาวและปลอยใหคาเงิน โครนาสวีเดนลอยตัว แตควบคุมอัตราเงินเฟอไวไมใหเกินรอยละ 2 ตอป

การเมือง การปกครอง สวีเดนมีการปกครองระบอบราชาธิปไตยภายใตรัฐธรรมนูญ โดยใชระบอบประชาธิปไตยแบบตัวแทน มีรัฐสภา พระมหากษัตริยสวีเดน เปนประมุขแหงรัฐ ซึ่งองคปจจุบันคือ สมเด็จพระราชาธิบดีคารลที่ 16 กุสตาฟ พระ มหากษัตริยทรงเปนตัวแทนสูงสุดของประเทศ แตไมมีอํานาจทางการเมืองใด ๆ รวมถึงไมจําเปนตองลงพระ ปรมาภิไธยในการตัดสินใจของรัฐสภาดวย

นุชวรา เชื้อสุวรรณ

12

ENGLAND

อังกฤษ หรือในอดีตเรียกวา แควนอังกฤษ เปนประเทศอันเปนสวนหนึ่งของสหราชอาณาจักร[มี พรมแดนทางบกติดตอกับสกอตแลนดทางเหนือ และเวลสทางตะวันตก ทะเลไอรแลนดทางตะวันตก เฉียงเหนือ ทะเลเคลติกทางตะวันตกเฉียงใต ทะเลเหนือทางตะวันออก และชองแคบอังกฤษซึ่งคั่น ระหวางอังกฤษกับยุโรปแผนดินใหญ พื้นที่ประเทศอังกฤษสวนใหญตั้งอยูทางตอนกลางและตอนใต ของเกาะบริเตนใหญในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ประเทศอังกฤษยังรวมถึงเกาะที่เล็กกวาอีกกวา

ภูมิหลัง

100 เกาะ เชน หมูเกาะซิลลีและเกาะไวต

มนุษยโบราณไดเขามาตั้งรกรากบริเวณแควน อังกฤษหลายพันปกอนคริสตกาล จากนั้นถัดมาเปน จูเลียสซีซาร ชาวโรมันยึดครองอังกฤษประมาณ ค. ศ. 43 และปกครองอังกฤษไปจนถึงการลมสลาย ของจักรวรรดิโรมัน อังกฤษยังมีอาณานิคมนับเปนของตนเองอีกนับไมถวน อาณานิคมเหลานี้ตั้งอยูบนชายฝงอเมริกา บริษัทอินเดียตะวันออก (East India Company) รวมทั้งในแคนาดาและออสเตรเลีย อังกฤษ พัฒนาไปสูการเปนศูนยกลางอุตสาหกรรมในศตวรรษที่ 19 เมืองอุตสาหกรรมที่เกิดขึ้นใน Midlands และเปนสวนในการชวยผลักดันการคาระหวางประเทศ สมเด็จพระราชินีวิกตอเรียแหงประเทศอังกฤษมี มหาอํานาจมากที่สุดในโลกในชวงเวลาเวลา ค. ศ. 1837 ถึง 1901

นุชวรา เชื้อสุวรรณ

13 ลักษณะประชากร ประชากรอังกฤษมีอยูราว 51 ลานคน คิดเปน 84% ของ ประชากรสหราชอาณาจักร และสวนใหญอาศัยอยูในกรุง ลอนดอน ภาคตะวันออกเฉียงใตและเขตเมืองขยายในภาคมิด แลนดส ภาคตะวันตกเฉียงเหนือและยอรกเชอร

ภาษา

ประเทศอังกฤษไมมีภาษาราชการ ภาษาที่พูดกันเปนสวน ใหญคือภาษาอังกฤษ ซึ่งเปนภาษากลุมเจอรมานิกตะวัน ตก พัฒนามาจากภาษาอังกฤษโบราณ ภาษาทองถิ่นอื่นๆ ไดแกภาษาสกอต และภาษากลุมแกลิกและบริทโทนิก (เปนกลุมภาษายอยของกลุมภาษาเคลติก) เชนภาษาเวลส ภาษาคอรนิช ภาษาไอริช และภาษาสกอตติชแกลิก ภาษา อังกฤษไดแพรกระจายไปทั่วโลก า

ศาสนา คนสวนใหญนับถือศาสนาคริสต ศาสนาอื่นไดแก ศาสนาพุทธ ฮินดู ยิว อิสลามและซิกข ประมาณ 23% ของประชากรไมมี การยึดถือ ศาสนาใดๆเปนหลัก ศาสนาหลักคือ ศาสนาคริสต แตอยางไรก็ตาม สหราชอาณาจักรยังมีสังคมที่มีความหลาก หลายทางดานความเชื่อ เปนสังคมที่เปดกวางและยอมรับ

วัฒนธรรม

ศาสนาอื่นๆ ดวย

อังกฤษมีมรดกทางกีฬาที่แข็งแกรง กีฬาที่มีตนกําเนิดในอังกฤษ ไดแก ฟุตบอล, คริกเก็ต, รักบี้, เทนนิส, มวย, แบดมินตัน, สควอช, ฮอกกี้, สนุกเกอร, บิลเลียด, ปาเปา, เทเบิลเทนนิส, โบลิ่ง, เน็ตบอล, การแขงมา พันธุดี การแขงสุนัขเกรยฮาวด และการลาสุนัขจิ้งจอก มันชวยพัฒนากอลฟ เรือใบ และรถสูตรหนึ่ง

นุชวรา เชื้อสุวรรณ

14

สมเด็จพระเจาชาลสที่ 3 แหงสหราชอาณาจักร และ ฤษิ สุนัก นายกรัฐมนตรีคนปจจุบันของสหราชอาณาจักร

เศรษฐกิจ

เศรษฐกิจของอังกฤษเปนเศรษฐกิจที่ใหญที่สุดแหงหนึ่งและมีพลวัตมากที่สุดในโลกโดย มีจีดีพีเฉลี่ยตอหัวอยูที่ 28,100 ปอนดหรือ 36,000 ดอลลาร กระทรวงการคลัง มีหนาที่รับผิดชอบในการพัฒนาและดําเนินการตามนโยบายการเงินสาธารณะและ นโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาล มักถูกมองวาเปนเศรษฐกิจแบบตลาดผสม โดยไดนํา หลักการตลาดเสรีมาใชหลายอยางแตยังคงรักษาโครงสรางพื้นฐานดานสวัสดิการ สังคมขั้นสูงไวได สกุลเงินอยางเปนทางการในอังกฤษคือปอนดสเตอรลิง การเมือง การปกครอง

สหราชอาณาจักรมีพระมหากษัตริยเปนประมุขและสัญลักษณของประเทศ ประเทศ อังกฤษ เปนแมแบบของการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตย แบบ รัฐสภา และที่ สําคัญอยางยิ่ง คือ การมีรัฐธรรมนูญที่ไมเปนลายลักษณอักษร

นุชวรา เชื้อสุวรรณ

15

UKRAINE ภูมิหลัง ในภาคตะวันออกและภาคใตของยูเครนใชภาษา รัสเซียเปนภาษาหลักแมกระทั่งในหมูชาวยูเครนเองอัน เปนผลมาจากทั้งการทําใหกลายเปนรัสเซียและการตั้ง รกรากของกลุมชาติพันธุรัสเซียนับตั้งแตในสมัย จักรวรรดิรัสเซีย ประชากรในพื้นที่เปนชาวไครเมียซึ่ง เปนกลุมชาติพันธุรัสเซียที่ตั้งรกรากในพื้นที่นับตั้งแต การขับไลชาวตาตารไครเมียโดยโจเซฟ สตาลิน ผูนํา โซเวียต หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง ลักษณะ ตาง ๆ เหลานี้แตกตางสุดขั้วกับภาคตะวันตกและภาค กลางซึ่งในประวัติศาสตรเคยอยูภายใตปกครองของ จักรวรรดิตาง ๆ ทั้งเครือจักรภพโปแลนด–ลิทัวเนีย และจักรวรรดิออสเตรีย

ลักษณะภูมิประเทศ แบบภาคพื้นทวีปอบอุน มี 4 ฤดู ยกเวนบริเวณชายฝงทะเลแถบแหลมไครเมียทางตอนใต ซึ่งมีอากาศแบบเมดิเตอรเรเนียน ในฤดูหนาวพื้นที่ บริเวณภายในประเทศ จะมีอากาศหนาวเย็นกวาพื้นที่ บริเวณชายฝงทะเลดํา
 ลักษณะประชากร 47 ลานคน (2554) ชาวยูเครน 77.8% ชาวรัสเซีย 17.3% อื่นๆ 4.9 % (2544) ภาษา ที่ใชภาษายูเครน หรือ Little Russian (ตระกูล ภาษาสลาฟ) เปนภาษาราชการ และมีการใชภาษารัสเซีย อยางกวางขวาง ศาสนา ศาสนาคริสตนิกาย Ukrainian Orthodox เปนศาสนาประจําชาติ นับถือกวา รอยละ 85

จิราพร ภาพยนต

16 วัฒนธรรม เปนงานแสดงผลงานศิลปะโดยฝมือของ ศิลปนทองถิ่นมีความสามารถเปนที่รูจัก ในกาตาร จัดขึ้นในเดือนธันวาคมของทุกๆป ที่หอศิลปและพิพิธภัณฑทั่วประเทศ ถือเปนการจัดนิทรรศการเพื่อแสดงความ สามารถทางศิลปะอันหลากหลายของศิลปน ในทองถิ่น ตลอดจนศิลปนรับเชิญจาก ประเทศในกลุมอาหรับดวยกัน เชน สหรัฐอาหรับเอมิเรตสและซาอุดีอาระเบียเตรีย เศรษฐกิจของยูเครน เศรษฐกิจของประเทศยูเครนในป2562ที่ผา่นมามีแนวโนมเติบโตในทิศทางที่ดีขึนหลัง ประเทศยเครน ตองประสบปญหาวิกฤตเศรษฐกิจและการเมือง ตั้งแตป 2558-2559 โดย State Statistics Service ไดเ้ปดเผยวาอตัราการขยายตวั ของ GDP ในป 2562 รอยละ 4 ซึ่งถือวามีอัตราการขยายตัวสูงที่สุดในรอบ 8 ป ประกอบ กับคาเงิน Hryvnia ไดปรับตัวสูงขึ้น การเมือง การปกครอง การเมืองการปกครองปจจัยตาง ๆ ทั้งทางสังคม วัฒนธรรม ชาติพันธุ และภาษาลวนมี ผลใหเกิดการกอการกําเริบในภาคใตและภาคตะวันออกของยูเครนซึ่งตอมาปะทุเปนสงคราม รัสเซีย-ยูเครน ในฐานะผลสืบเนื่องจากการปฏิวัติแหงศักดิ์ศรี (Revolution of Dignity) ที่เกิดขึ้นกอนหนา นับตั้งแตยูเครนไดรับเอกราชจากสหภาพโซเวียตในป 1991 ความ แตกแยกทั้งทางประวัติศาสตรและวัฒนธรรม ประกอบกับโครงสรางของรัฐที่ออนแอ ลวน เปนผลใหการสรางอัตลักษณรวมของชาติยูเครนไมเกิดขึ้น[1] ในภาคตะวันออกและภาคใต ของยูเครนใชภาษารัสเซียเปนภาษาหลักแมกระทั่งในหมูชาวยูเครนเองอันเปนผลมาจากทั้ง การทําใหกลายเปนรัสเซียและการตั้งรกรากของกลุมชาติพันธุรัสเซียนับตั้งแตในสมัย จักรวรรดิรัสเซีย ประชากรในพื้นที่เปนชาวไครเมียซึ่งเปนกลุมชาติพันธุรัสเซียที่ตั้งรกรากใน พื้นที่นับตั้งแตการขับไลชาวตาตารไครเมียโดยโจเซฟ สตาลิน ผูนําโซเวียต หลังสิ้นสุด สงครามโลกครั้งที่สอง ลักษณะตาง ๆ เหลานี้แตกตางสุดขั้วกับภาคตะวันตกและภาคกลางซึ่ง ในประวัติศาสตรเคยอยูภายใตปกครองของจักรวรรดิตาง ๆ ทั้งเครือจักรภพโปแลนด–ลิทัว เนียและจักรวรรดิออสเตรีย[2] ในพื้นที่นี้ อัตลักษณทางชาติพันธุ ภาษา และความเปนชาติ อยางยูเครนลวนคงอยูอยางเหนียวแนน

จิราพร ภาพยนต

17

สถานที่ทองเที่ยว 1. กรุงเคียฟ (Kiev) 2. เมืองลวีฟ (Lviv) 3. เมืองเคลเวน (Klevan) 4. เมืองโอเดสซา (Odessa) 5. เชอรโนบิล (Chernobyl)

บุลคลที่ที่สรางประวัติศาสตรหรือมีความโดดเดนในชวงตนสมัยโซเวียต เกษตรกรยูเครนไดรับผลกระทบจากโครงการรวมที่นาสําหรับพืชผลทางการ เกษตร นโยบายรวมที่นาเปนสวนหนึ่งของแผนหาปฉบับที่หนึ่งโดยมีกองกําลัง ประจําการและหนวยตํารวจลับที่รูจักกันในชื่อเชการเปนผูบังคับใช ผูที่ตอตาน จะถูกจับกุมและถูกเนรเทศไปยังคายกูลักและคายแรงงาน เนื่องจากในบางครั้ง เกษตรกรนารวมจะไมไดรับอนุญาตใหรับเมล็ดพืชใด ๆ จนกวาจะผลิตไดถึง โควตาที่เปนไปไดยาก ประชากรหลายลานคนจึงตองอดอยากจนเสียชีวิตใน ทุพภิกขภัยที่รูจักกันในชื่อ "ฮอลอดอมอร" หรือ "ทุพภิกขภัยครั้งใหญ" ซึ่ง บางประเทศไดรับรองวาเปนพันธุฆาตที่โจเซฟ สตาลิน และบุคคลสําคัญคนอื่น ๆ ของสหภาพโซเวียตกอขึ้นกลุมเดียวกันนี้สวนใหญยังมีสวนรับผิดชอบใน ปฏิบัติการสังหารหมูในชวงสงครามกลางเมือง การรวมที่นา และการกวาดลาง ใหญ

จิราพร ภาพยนต

18

QATAR ภูมิหลังทางประวัติศาสตร จักรวรรดิออตโตมันขยายตัวในภาค ตะวันออกอารเบียในป 1871 หลัง จากการสรางตัวเองใน Al-Hasaชายฝงพวกเขากาวไปสูกา ตาร ในไมชาอัลบิดดาก็เขามาทํา หนาที่เปนฐานปฏิบัติการของชาวเบ ดูอินที่คุกคามพวกออตโตมานทาง ตอนใตและอับดุลลาหที่

ถูกสงไปยังเมืองเพื่อรักษาความปลอดภัยใน การขึ้นฝงของกองทหารออตโตมัน เขานําธง ออตโตมันสี่ผืนมาดวยสําหรับบุคคลที่มีอิทธิพล มากที่สุดในกาตาร โมฮัมเหม็ดบินธานีรับและ ยอมรับธงผืนใดผืนหนึ่ง แตเขาสงใหอัลวาเราะ หและยกธงทองถิ่นขึ้นเหนือบานของเขาตอไป จัสซิมบินโมฮัมเหม็ดยอมรับธงและบินขึ้นเหนือ บานของเขาธงที่สามใหกับอาลีบินอับดุลอาซิซผู ปกครองของอัลคอร

จิราพร ภาพยนต

19 ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศแบบทะเล ทราย ชวงฤดูหนาวอุณหภูมิประมาณ 10 องศาเซลเซียส ฤดูรอนอุณหภูมิประมาณ 50 องศาเซลเซียส เกิด พายุทรายไดตลอดป โดย เฉพาะในชวงเดือนเมษายน มิถุนายน

ลักษณะประชากรเปนชาวกาตาร เชื้อสาย เบดูอิน ประมาณ ๒๗๐,๐๐๐ คน ที่เหลือเปนแรงงานจากตาง ประเทศชาวอินเดีย เนปาล ฟลิปปนส ปากีสถาน บังคลาเทศ

ภาษาที่ใชคือ ภาษาอาหรับ

จิราพร ภาพยนต

20 ศาสนาที่ใช อิสลามนิกายสุหนี่

วัฒนธรรม เทศกาลวัฒนธรรมโดฮา (Doha Cultural Festival) เปนงานเทศกาลที่จัดขึ้นในชวงเดือนมีนาคมของทุกปซึ่งในเมืองโดฮาซึ่งถือไดวาเปนเมืองหลวง และศูนยกลางดานวัฒนธรรมของประเทศที่สามารถ ดึงดูดนักทองเที่ยวใหมารวมงานเปนประจํา ทุกป โดยจะมีการแสดงผลงานที่มีความเปนเอกลักษณทางวัฒนธรรมของทองถิ่น เชน การ แสดงดนตรี เตนรํา เครื่องแตงกายและอาหาร ตลอดการจัดงานเทศกาลศิลปะแหงกาตาร (Art Festival of Qatar) เศรษฐกิจ กาตารมีการเจริญเติบโตของ GDP สูงขึ้นมาก ในไตรมาสที่ 2 ของป 2554 มีอัตราการ เจริญเติบโตของ GDP อยูที่รอยละ 41.8 โดยมีมูลคาประมาณ 153.73 พันลานกาตารริยาล (1 กาตารริยาลเทากับประมาณ 8.49 บาท : อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ 10 ตุลาคม 2554) อันเปนผลมาจากราคาผลผลิตดานพลังงานที่เพิ่มขึ้น ขณะเดียวกัน สถาบัน Standard & Poors (S&P) ไดจัดอันดับความนาเชื่อถือของกาตารอยูที่ระดับ AA และระดับเสถียรภาพอยูที่ ระดับ AA+ อันเปนผลมาจากความเขมแข็งของงบประมาณ การเมืองการปกครอง ปจจุบัน กาตารมีการปกครองในระบอบราชาธิปไตยโดยมีเจาผูครองรัฐ (Emir) จากราชวงศ Al-Thani เปนประมุขภายใตรัฐธรรมนูญ โดยเจาผูครองรัฐมีอํานาจสูงสุดในดานบริหาร ทรง คัดเลือกและแตงตั้งนายกรัฐมนตรี กาตารไมมีระบบพรรคการเมืองหรือพรรคฝายคาน กาตาร ไดประกาศใชรัฐธรรมนูญฉบับถาวรฉบับแรกเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2547 โดยรัฐธรรมนูญ ฉบับนี้กําหนดอํานาจนิติบัญญัติแกสภาที่ปรึกษา (Advisory Council) ซึ่งมีสมาชิกทั้งหมด 45 คน สมาชิกจํานวน 2 ใน 3 มาจากการเลือกตั้ง สมาชิกสวนที่เหลือนั้นไดรับการแตงตั้งจาก เจาผูครองรัฐกาตาร

จิราพร ภาพยนต

21

สถานที่ทองเที่ยว The Museum of Islamic Katara Cultural Villag Al Zubara Fort Souq Waqif Sheikh Faisal Bin Qassim Al Thani Imam Muhammad ibn Abd Al Wahhab Mosque Richard Serra’s “East- West/ West- East” Installation

จิราพร ภาพยนต

22

บุลคลที่ที่สรางประวัติศาสตร บิน อัษษานี ลงนามในสนธิสัญญากับอังกฤษใน ค.ศ. 1868 ภายหลังการปกครอง ของตุรกีโดยจักรวรรดิออตโตมัน

กาตารอยูภายใตความคุมครองอังกฤษในชวงตน

ศตวรรษที่ 20 จนกระทั่งไดรับเอกราชใน ค.ศ. 1971 ประมุขของกาตารเปนผูสืบเชื้อ สายมาจากการปกครองระบอบเผด็จการ (ปจจุบันคือตะมีม บิน ฮะมัด อัษษานี) และมี อํานาจบริหารและนิติบัญญัติทั้งหมด รวมทั้งควบคุมระบบตุลาการ เขายังทําการแตง ตั้งนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีดวยตนเอง

การเลือกตั้งและสิทธิทางการเมือง

รวมถึงเสรีภาพของสื่อภายในประเทศยังถูกจํากัดสิทธิ์

จิราพร ภาพยนต

23

ITALY

พิธุณิศรา งอกงาม

ITALY

24 ภู มิ ห ลั ง อิ ต าลี ก อ นประวั ติ ศ าตร ในสมั ย ก อ นประวั ติ ศ าสตร คาบสมุ ท รอิ ต าลี ค อ นข า ง แตกต า งจากที่ เ ป น อยู ใ น ป จ จุ บั น ตั ว อย า งเช น ในช ว ง ธารนํ้า แข็ ง ระดั บ นํ้า ทะเลตํ่า ลง และเกาะเอลบาและซิ ซิ ลี เ ชื่ อ ม ต อ กั บ แผ น ดิ น ใหญ แ ละสิ่ ง ที่ ตอนนี้ เ ป น พื้ น ผิ ว ของมั น ถึ ง เวนิ ส เป น ธรรมดาที่ อุ ด ม สมบู ร ณ ด ว ยสภาพภู มิ อ ากาศ ชื้ น

พิธุณิศรา งอกงาม

25 ภู มิ ป ระเทศ เป น คาบสมุ ท รยื่ น ออกไปใน ทะเลเมดิ เ ตอร เ รเนี ย น พื้ น ที่ ร อ ยละ 75 เป น ภู เ ขา และที่ ร าบสู ง ประชาชนที่ อ ยู ใ น ประเทศอิ ต าลี เ รี ย กว า ชาวอิ ต าเลี ย น ซึ่ ง สื บ เชื้ อ สาย มาจากคนในสมั ย โรมั น

ประชาชนส ว นใหญ นั บ ถื อ ศาสนาคริ ส ต จํา นวนประชากร ของประเทศอิ ต าลี มี ป ระมาณ 60 ล า น คน โดยประมาณ 3 ล า นคนอาศั ย อยู ใ นกรุ ง โรม

พิธุณิศรา งอกงาม

26

ลั ก ษณะประชากร คนอิ ต าลี ตั ว ไม ใ หญ ม ากเมื่ อ เที ย บกั บ คนยุ โ รป ประชากรมี ป ระมาณ 60 ล า นคน เชื้ อ ชาติ ส ว นใหญ คื อ อิ ต าเลี ย น และมี ช นกลุ ม น อ ยเชื้ อ ชาติ อื่ น ๆคื อ เยอรมั น ฝรั่ ง เศส สโลเวเนี ย และแอลเบเนี ย ภาษา ราชการคื อ อิ ต าเลี ย นและใช ภาษาเยอรมั น เป น ภาษารอง ศาสนาส ว นใหญ ผู ค นในอิ ต าลี นั บ ถื อ ศาสนาคริ ส ต นิ ก ายโร มั น คาธอลิ ก

พิธุณิศรา งอกงาม

27 ภาษา คื อ อิ ต าเลี ย นและ ใช ภ าษาเยอรมั น เป น ภาษารอง ศาสนา ส ว นใหญ ผู ค นในอิ ต าลี นั บ ถื อ ศาสนาคริ ส ต นิ ก าย โรมั น คาธอลิ ก อิ ต าลี มี วั ฒ นธรรมคล า ยคนเอเชี ย โดยให ค วามเคารพนั บ ถื อ ผู สู ง อายุ การแสดงความเคารพและให เ กี ย รติ ผู สู ง อายุ ถื อ เป น มารยาทที่ ช าวอิ ต าเลี ย น ชื่ น ชมมาก การมอบดอกไม ที่ เ ป น การแสดงความยิ น ดี ห รื อ ขอบคุ ณ เมื่ อ ได รั บ เชิ ญ เป น แขกควรให เ ป น ช อ ที่ จํา นวนเป น เลขคู ใ นการทั ก ทายกั บ ชาวอิ ต าเลี ย น ที่ ยั ง ไม คุ น เคยควรให คํา “Signore” นํา หน า ชื่ อ สกุ ล ผู ช ายและ “Signora” นํา หน า ชื่ อ สกุ ล ผู ห ญิ ง เศรษฐกิ จ อิ ต าลี ไ ด เ ริ่ ม พั ฒ นาภาคอุ ต สาหกรรมจนกระทั่ ง ป จ จุ บั น มี ป ระชากรเพี ย งร อ ยละ 7 อยู ใ นภาค การเกษตร ซึ่ ง ส ว นใหญ อ าศั ย อยู ท างภาคใต และมี ฐ านะยากจนกว า ทางภาคเหนื อ และกลาง พื ช หลั ก ที่ เ พาะปลู ก ได แ ก ต น บี ต ข า วสาลี ข า วโพด มั น เทศและองุ น อิ ต าลี ใ ช อ งุ น ทํา ไวน และเป น ผู ผ ลิ ต รายใหญ ข องโลกด ว ย พิธุณิศรา งอกงาม

28

การเมื อ งการปกครอง ประชาธิ ป ไตยแบบสาธารณรั ฐ มี ป ระธานาธิ บ ดี ดํา รงตํา แหน ง ประมุ ข ของประเทศมี น ายกรั ฐ มนตรี ทํา หน า ที่ หั ว หน า ฝ า ยบริ ห าร และมี ฝ า ยตุ ล าการแยกเป น อิ ส ระ ประธานาธิ บ ดี นายแซร โ จ มั ต ตาเรลลา (Sergio Mattarella) เป น ประธานาธิ บ ดี คนที่ 12 เมื่ อ วั น ที่ 3 กุ ม ภาพั น ธ พ.ศ. 2558 นายกรั ฐ มนตรี นายมั ต เตโอ เรนซี่ (Matteo Renzi) เป น นายกรั ฐ มนตรี ค นที่ 56

พิธุณิศรา งอกงาม

29

สถานที่ ท อ งเที่ ย ว ประเทศอิ ต าลี ( Italy)เป น ประเทศที่ มี ส ถานที่ ท อ งเที่ ย ว มากมายที่ มี ชื่ อ เสี ย งโด ง ดั ง หลากหลายรู ป แบบทั้ ง ความ โรแมนติ ก แฟชั่ น และประวั ติ ศ าสตร

Colosseum พิธุณิศรา งอกงาม

30

บุ ค คลที่ ส ร า งประวั ติ ศ าสตร

LEONARDO DA VINCI พิธุณิศรา งอกงาม

31

JAPAN

พิธุณิศรา งอกงาม

JAPAN

32 ภู มิ ห ลั ง ช ว งก อ นประวั ติ ศ าสตร ร าว 30,000 ป ก อ นคริ ส ต ศั ก ราช ยุ ค โจมง ซึ่ ง ตั้ ง ชื่ อ ตาม เครื่ อ งป น ดิ น เผาลายเชื อ กทาบ ที่ ถื อ กํา เนิ ด ในยุ ค ดั ง กล า ว ตามด ว ยยุ ค ยาโยอิ ใ นช ว ง 1,000 ป ก อ นคริ ส ต ศั ก ราช แรก ในยุ ค นี้ มี ก ารรั บ สิ่ ง ประ ดิ ษ ฐ ใ หม ๆ จากประเทศใน เอเชี ย มาใช และปรากฏบั น ทึ ก ที่ ก ล า วถึ ง ประเทศญี่ ปุ น เป น ครั้ ง แรกใน หนั ง สื อ ฮั่ น ในคริ ส ต ศ ตวรรษแรก

พิธุณิศรา งอกงาม

33 ภู มิ ป ระเทศ มี ลั ก ษณะเป น ภู เ ขา พื้ น ที่ 2 ใน 3 ของประเทศถู ก ปกคลุ ม ไปด ว ยป า พื้ น ที่ ส ว นใหญ มี ส ภาพภู มิ อ ากาศแบบ อบอุ น แบ ง ออกเป น 4 ฤดู ก าล อย า ง ชั ด เจน ในขณะที่ โ อกิ น าวา ซึ่ ง อยู ท างใต ข องประเทศมี ภู มิ อ ากาศ แบบกึ่ ง เขตร อ นและฮอกไกโด ซึ่ ง อยู ท างเหนื อ ของประเทศ มี ภู มิ อ ากาศแบบกึ่ ง ขั้ ว โลก

ประชากร เป น กลุ ม ชาติ พั น ธุ ที่ อ าศั ย อยู ใ นหมู เกาะญี่ ปุ น และประเทศญี่ ปุ น ในป จ จุ บั น ซึ่ ง เป น ประชากรร อ ยละ 98.1 ของ ประเทศ ส ว นทั่ ว โลกมี ผู มี เ ชื้ อ สาย ญี่ ปุ น ประมาณ 129 ล า นคน ใน จํา นวนนี้ ประมาณ 125 ล า นคนเป น พลเมื อ งญี่ ปุ น

พิธุณิศรา งอกงาม

34

ภาษาญี่ ปุ น เป น ภาษาราชการของประเทศญี่ ปุ น โดย พฤติ นั ย ป จ จุ บั น มี ผู ใ ช เ ป น ภาษาแม ทั่ ว โลก ประมาณ 125 ล า นคนโดยเป น ผู อ าศั ย อยู ในประเทศญี่ ปุ น ประมาณ 124 ล า นคน และมี ผู ใ ช เ ป น ภาษาที่ ส องประมาณ 120,000 คน นอกจากนี้ รั ฐ อาเงาร สาธารณรั ฐ ปาเลา ยั ง ได กํา หนดให ภ าษา ญี่ ปุ น เป น หนึ่ ง ในภาษาราชการร ว มกั บ ภาษา ปาเลาและภาษาอั ง กฤษ ศาสนา ประเทศญี่ ปุ น ส ว นใหญ นั บ ถื อ ลั ท ธิ ชิ น โตกั บ ศาสนาพุ ท ธ ประมาณ 80% สั ก การะ บรรพบุ รุ ษ และคามิ ที่ แ ท น บู ช าประจํา บ า นกั บ ศาลเจ า ชิ น โต ซึ่ ง มี จํา นวนมากพอ ๆ กั บ ศาสนาพุ ท ธ การผสานระหว า งทั้ ง สอง เรี ย กโดยทั่ ว ไปว า ชิ น บุ ต สึ - ชู โ ง ก อ นที่ จ ะมี รั ฐ ชิ น โตในศตวรรษที่ 19 ในขณะที่ ประชากรส ว นใหญ นั บ ถื อ ชิ น โต มี แ ค 3% เพราะเข า ใจว า บ ง บอกถึ ง ลั ท ธิ ชิ น โต ประมาณสองในสามระบุ เ ป น "ไม มี ศ าสนา" ( , มู ชู เ กี ย ว) และไม ถื อ เป น ไม มี ศาสนา เพราะ มู ชู เ กี ย ว กล า วถึ ง ศาสนาที่ ดู ปกติ "ธรรมดา" ในขณะที่ ป ฏิ เ สธการเข า ร ว มกั บ ขบวนการที่ ถู ก กล า วเป น พวกต า ง ชาติ ห รื อ หั ว รุ น แรง พิธุณิศรา งอกงาม

35

วั ฒ นธรรมญี่ ปุ น เป น หนึ่ ง ในประเทศที่ มี ชื่ อ เสี ย ง อย า งมากในเรื่ อ งของศิ ล ปะ วั ฒ นธรรมอั น งดงาม จริ ง อยู ว า ขนบธรรมเนี ย มหลายๆอย า งก็ จํา เป น ต อ งปรั บ ให เ ข า กั บ ยุ ค สมั ย ที่ เ ปลี่ ย นแปลง การเป ด รั บ สิ่ ง ใหม ๆ จากนานาประเทศให เ ข า มา มี บ ทบาทในสั ง คม อาจทํา ให เ กิ ด การผสมผสานระหว า ง วั ฒ นธรรมอั น หลากหลายเพิ่ ม มากขึ้ น เรื่ อ ยๆ เศรษฐกิ จ ของประเทศญี่ ปุ น ป จ จุ บั น เป น ประเทศที่ มี ข นาดเศรษฐกิ จ ใหญ เป น อั น ดั บ 3 ของโลก รองจาก สหรั ฐ อเมริ ก า และ ประเทศจี น ถื อ ว า ใหญ เ ป น อั น ดั บ 2 ในกลุ ม ประเทศพั ฒ นาแล ว

พิธุณิศรา งอกงาม

36

การเมื อ งการปกครอง มี รู ป แบบรั ฐ เป น ราชาธิ ป ไตยภายใต รั ฐ ธรรมนู ญ โดยที่ จั ก รพรรดิ มี พ ระ ราชอํา นาจจํา กั ด เป น ประมุ ข ในทาง พิ ธี ก าร ซึ่ ง รั ฐ ธรรมนู ญ บั ญ ญั ติ ว า เป น "สั ญ ลั ก ษณ แ ห ง รั ฐ และความ สามั ค คี ข องประชาชน" นายก รั ฐ มนตรี แ ละคณะรั ฐ มนตรี เ ป น ผู ใ ช อํา นาจบริ ห าร ส ว นอํา นาจอธิ ป ไตย เป น ของชาวญี่ ปุ น จั ก รพรรดิ พระองค ป จ จุ บั น คื อ สมเด็ จ พระ จั ก รพรรดิ น ารู ฮิ โ ตะ และ นายกรั ฐ มนตรี ค นป จ จุ บั น คื อ ฟู มิ โ อะ คิ ชิ ด ะ

พิธุณิศรา งอกงาม

37

สถานที่ ท อ งเที่ ย ว

พิธุณิศรา งอกงาม

38

Kyoto

Osaka

Ueda Castle Nagano

Sapporp Hokkaido พิธุณิศรา งอกงาม

39

บุ ค คลสํา คั ญ ในประวั ติ ศ าสตร

Kido Takayoshi คิ โ ดะ ทากาโยชิ ; เป น รั ฐ บุ รุ ษ ของ ญี่ ปุ น ในช ว งยุ ค บากู มั ต สึ แ ละยุ ค เมจิ ในช ว งที่ เขาทํา งานต อ ต า นรั ฐ บาลโชกุ น โทกู ง าวะเขาใช ชื่ อ ปลอมว า "นี โ บริ มั ต สึ ซู เ กะ" พิธุณิศรา งอกงาม

40

บรรณานุ ก รม ประเทศออสเตรเลี ย https://thebest-edu.com/study-abroad/australia/australia-information/ https://www.wonderfulpackage.com/article/v/366/ https://th.m.wikipedia.org/wiki/ประเทศออสเตรเลี ย https://immi.homeaffairs.gov.au/support-subsite/files/life-in-australia/life-in-australia-Thai.pdf

ประเทศสวิ ต เซอร แ ลนด https://sites.google.com/site/switzerland456/prawati-khxng-pra-thes-s-wit-sexr-laend https://th.m.wikipedia.org/wiki/ประเทศสวิ ต เซอร แ ลนด https://www.ekthana.com/blog/โรแมนติ ก ที่ สุ ด ที่ ส วิ / https://www.moneybuffalo.in.th/business/เศรษฐกิ จ สวิ ต เซอร แ ลนด https://www.mfa.go.th/th/content/5d5bcc2115e39c306000a1c4? cate=5d5bcb4e15e39c3060006870 https://travel.trueid.net/detail/QN1GJDLOEVv

ประเทศสวี เ ดน sweden info https://thaiembassy.se/th/%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E 0%B8%A5%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8 %81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%AA%E0%B8%A7%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%94 %E0%B8%99/ https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97 %E0%B8%A8%E0%B8%AA%E0%B8%A7%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%99 https://www.yoair.com/th/blog/culture-and-tradition-of-sweden-history-meets-modernism/

ประเทศอั ง กฤษ https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97 %E0%B8%A8%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A4%E0%B8%A9

41

บรรณานุ ก รม ประเทศยู เ ครน https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97 %E0%B8%A8%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%99

ประเทศกาตาร https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97 %E0%B8%A8%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8C

ประเทศอิ ต าลี https://www.oecglobal.com/other/Italy_country_info.html https://www.mfa.go.th/th/content/5d5bcc2215e39c306000a22a? cate=5d5bcb4e15e39c3060006870

ประเทศญี่ ปุ น https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8% B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E 0%B9%8C%E0%B8%8D%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%9B%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8 %99

พิ ธุ ณิ ศ รา งอกงาม นุ ช วรา เชื้ อ สุ ว รรณ จิ ร าพร ภาพยนต วรรณวลี ตรี ธั ญ ญา

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.