is อดวันสุดท้ายรายงาน00000 Flipbook PDF


7 downloads 123 Views 447KB Size

Story Transcript

โครงงาน เรื่อง แชมพูว่านหางจระเข้กับมะกรูด จัดทำโดย นาย กรพจน์ อินทรแสง นาย ณัฐกิตติ์ ภู่สวรรค์ นาย ณัฐพัชร์ นิลดับแก้ว นาย มนิมนา มาศภมร นางสาว พิมพ์มตาดา จีรชัยปรีชากุล

เลขที่ 1 เลขที่ 2 เลขที่ 3 เลขที่ 4 เลขที่ 20

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/6 เสนอ ครู อารยา บัววัฒน์ รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา การสื่อสารและการนำเสนอ (IS) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา



กิตติกรรมประกาศ โครงงานวิจัยฉบับนี้สำเร็จอย่างสมบูรณ์ได้ด้วยความชาวยเหลืออย่างยิ่งจากคุณครูอารยา บัววัฒน์ คุณครูที่ปรึกษา ที่ได้ให้คำแนะนำปรึกษาและให้ข้อมูลต่างๆขอกราบขอบพระคุณอย่างสูง ณ โอกาสนี้ขอ ขอบพรคุณคุณครู โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา ๒ ที่ได้ให้คำแนะนำตลอดจนตรวจสอบเครื่องมือ ที่ใช้ในงานวิจัยอนึ่งผู้วิจัยหวังว่า งานวิจัยฉบับนี้จะมีประโยชน์อยู่ไม่น้อยจึงขอมอบส่วนดีทั้งหมดนีใ้ ห้แก่เหล่าอาจารย์ที่ได้ ประสิทธิ์ประสาทวิชาจนทำให้ผลงานวิจัยเป็นประโยชน์ต่อผู้เกี่ยวข้องและขอมอบความกตัญญูกตเวทีตา คุณแด่บิดา มารดา และผู้มีพระคุณทุกท่าน ตลอดจนเพื่อนๆที่คอยให้ความช่วยเหลือและกำลังใจตลอด มา



บทคัดย่อ โครงงานเรื่อง แชมพูว่านหางจระเข้ผสมมะกรูด มีจุดประสงค์เพื่อ (1.)นำไปใช้ในอนาคตเพื่อต่อ ยอดโครงงานของตนเองให้ดีขึ้นและมีประสิทธิภาพสูงสุด (2.) ได้ฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์และเกี่ยวกับ ความลึกสึกของยาสระผม (3.) เกิดประโยชน์หรือเป็นผลิตภัณฑ์ส่งออกไปในท้องถิ่น ในการทำผลิตภัณฑ์แชมพูว่านหางจระเข้ผสมมะกรูด คณะผู้จัดทำได้ใช้อุปกรณ์การทำโดย ประกอบด้วย (1.)ว่านหางจระเข้ (2.)มะกรูด (3.)หัวเชื่อแชมพู (4.)ผงปรับข้น (5.)กลีเซอรีน (6.)ผงฟอง (7.)Mercuat 550 8.หัวเชื้อน้ำหอม 9. สีผสม โดยวิธีการทำ (1) นำว่านหางจระเข้มาขุดเอาเนื้อใสๆ (2) นำมะกรูดมาตัดเป็นซีกๆ (3)นำไปใส่หม้อที1่ แล้วเติมย้ำลงไปรอให้เดือด (4)หม้อที2่ ผสม mercuat 500 หัวเชื้อแชมพู หัวเชื่อปรับข้นฟอง กลีเซอรีน ผงฟอง หัวเชื่อน้ำหอม คมให้เข้ากันประมาณ 10 นาที (5)นำว่านหางจระเข้กับมะกรูดที่ต้มไว้ในหม้อที่1จนเดือดไปปั่นให้ละเอียด (6)จากนั้นเอาที่ปั่นแล้วไปใส่ ในหม้อที2่ จากนั้นคนประมาณ 10 นาที (7)เติมกลิ่นสารกันเสียเข้าไป (8)จากนั้นนำมาใส่บรรจุภัณฑ์ที่ เตรียมไว้ จากการศึกษารวบรวมข้อมูล อุปกรณ์และวิธีการต่างๆ ผลลัพธ์แชมพูว่านหางจจระเข้กับมะกรูด สามารถใช้ได้ดีและมีคุณภาพที่ดีในการใช้งาน





สารบัญ หน้า บทคัดย่อ



กิตติกรรมประกาศ



สารบัญสาร



สารบัญตาราง



สารบัญภาพ



บทที่1 บทนำ

1-2

ที่มาและความสำคัญ

1

วัตถุประสงค์ของการศึกษา

1

ขอบเขตของการศึกษา

1

สมมติฐานของการศึกษา

2

ตัวแปรที่ศึกษาค้นคว้า

2

บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง

3-6

บทที่3 วิธีการดำเนินการ

7-12

บทที่4 การวิเคราะห์ข้อมูล

13-15

บทที่5 การอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 16-17 บรรณานุกรม 18 ภาคผนวก



สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามของผลิตภัณฑ์แชมพูว่านหางจระเข้

13

ตารางที่ 2 การวิเคราะห์ผลความพึงพอใจต่อผลิตภัณฑ์แชมพูว่านหางจระเข้

14





สารบัญภาพ หน้า ภาพที่ 1 แสดงขั้นตอนการทำขั้นที่ 1

20

ภาพที่ 2 แสดงขั้นตอนการทำขั้นที่ 2

20

ภาพที่ 3 แสดงขั้นตอนการทำขั้นที่ 3

21

ภาพที่ 4 แสดงขั้นตอนการทำขั้นที่ 4

21

ภาพที่ 5 แสดงขั้นตอนการทำขั้นที่ 5

21

ภาพที่ 6 แสดงขั้นตอนการทำขั้นที่ 6

21

ภาพที่ 7 แสดงแบบสอบถามความพอใจ

22

1

บทที่ 1 บทนำ 1.1 ที่มาและความสำคัญของโครงงาน หากท่านที่กำลังมีปัญหาผมบาง ผมหวียาก หวีไม่ลื่น อีกทั้งผมยังพันกัน และผมไม่เงางาม วันน เรามีสูตรการทำแชมพูง่ายๆมาฝากโดยทำจากว่านหางจระเข้ ที่พ่ออินผ่อง แก้วดำ เกษตรกรผู้ทำ การเกษตรผสมผสาน ศูนย์เรียนรู้ฯ ต.บ้านแซว อ.เชียงแสน จ.เชียงราย ได้ยินดีให้สูตรวิธีการทำง่ายๆ กับทีม FARMER INFO.จ.เชียงราย และสูตรนี้เหมาะสำหรับการนำไปใช้เอง ทั้งลดต้นทุนและได้ผลดี โดยมีวิธีทำง่ายๆ ในปัจจุบันพบว่าสรรพคุณของว่านหางจระเข้มีมากมายหลากหลายอย่าง เป็นยาฆ่าเชื้อ ฝาด สมานแผล ห้ามเลือด ในขณะเดียวกันก็เป็นตัวกระตุ้นเซลล์เนื้อเยื่อให้เจริญเติบโต ทำให้แผลหายเร็ว ขึ้น และมีสรรพคุณที่ทำให้ผลนุ่มขึ้นด้วยและมีการนำว่านหางจระเข้ในหลายอย่างที่ทุกคนสามารถทำ ได้ส่าวนมะกรูดก็มีสรรพคุณหลากหลายเช่นกันเป็นยาฟอกเลือดในสตรี เป็นยาขับลมในลำไส้ ขับระดู แก้ลมจุกเสียด แก้โรคลักปิดลักเปิดดีมากและสามารถนำกลิ่นของมันมาทำเป็นกลิ่นที่หอมได้ด้วย

1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1.2.1 สามารถนำไปในต่อยอดในอนาคตเพื่อต่อยอดโครงงานของตนเองให้ดีขึ้นและมีประสิทธิภาพ สูงสุด 1.2.2 ได้ฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์ 1.2.3. เกิดประโยชน์หรือเป็นผลิตภัณฑ์ส่งออกไปในท้องถิ่น 1.2.4. เพื่อนำวัตถุดิบธรรมชาติมาใช้ในโครงงาน

1.3 ขอบเขตการศึกษา 1.3.1 นำวัตถุดิบธรรมชาติที่หาได้ทั่วไปมาใช้ 1.3.2 ประหยัดต้นทุนในการผลิตยาสระผม 1.3.3 ความนุ่มของแชมพูหลังจากใช้ผลิตภัณฑ์ 1.3.4 ความพึงใจต่อกลิ่นของผลิตภัณฑ์

1.4 สมมติฐานของการศึกษา

2

1.4.1 ว่านหางจระเข้ สามารถนำมาใช้เพื่อเพิ่มความนุ่มชื่นได้ 1.4.2 มะกรูดมีกลิ่นที่หอมและมีประสิทธิเพิ่มกลิ่นของมะกรูดได้อย่างลงตัว 1.4.3 คาดว่ายะสระผมว่านหางจระเข้กับมะกรูดสามารถใช้ได้ทุกเพศทุกวัย

1.5 ตัวแปรทีศ่ กึ ษาค้นคว้า 1.5.1 ตัวแปรต้น - ว่านหางจะเข้กับมะกรูด 1.5.2 ตัวแปรตาม - ประสิทธิภาพในการใช้งานของแชมพูว่านหางจระเข้กับมะกรูด 1.5.3 ตัวแปรควบคุม - ปริมาณว่านหางจระเข้ที่ใช้และปริมาณของมะกรูดที่ใช้ - รูปร่างและปริมาตรของบรรจุภัณฑ์ - ชนิดของส่วนผสมที่ทำแชมพู - ปริมาณของตัวสารเข้มข้นแชมพู

3

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ในปัจจุบันยแชมพูว่านหางจระเข้มีความสำคัญหลากหลายแบบที่ใช้ในการสระผมหรือเป็นครีม เส้นผม เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภค ใช้วัสดุจากธรรมชาติที่หาได้สะดวกในตามพื้นที่ และมีการใช้งานที่หลายหลากแบบแต่อาจจะไม่สะอาดหรือสกปรกได้และไม่มีอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและ สิ่งแวดล้อม คณะผู้จัดทำจึงได้ศึกษาเกีย่ วกับแชมพูว่านหางจระเข้กับมะกรูดใช้วัสดุจากธรรมชาติที่หาได้ สะดวกและสะอาดที่สุด โดยผู้จัดทำได้ศึกษาเอกสารและงานที่เกี่ยวกับพื้นฐานและสนับสนุนแนวคิดใน การทำโครงงานดังนี้ หัวข้อที่ศึกษามีดังนี้ 1. ว่านหางจระเข้ 2. มะกรูด 3. แชมพู ว่านหางจระเข้ https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A7%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0% B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%88%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80% E0%B8%82%E0%B9%89 ว่านหางจระเข้ เป็นต้นพืชที่มีเนื้ออิ่มอวบ จัดอยู่ในตระกูลลิเลียม (Lilium) แหล่งกำเนิดดั้งเดิมอยู่ ในคาบสมุทรอาหรับ สายพันธุ์ของว่านหางจระเข้มีมากกว่า 300 สายพันธุ์ ซึ่งมีทั้งพันธุ์ที่มีขนาดใหญ่ มากจนไปถึงพันธุ์ที่มีขนาดเล็กกว่า 10 เซนติเมตร ลักษณะพิเศษของว่านหางจระเข้ก็คือ มีใบแหลม คล้ายกับเข็ม เนื้อหนา และเนื้อในมีน้ำเมือกเหนียว ว่านหางจระเข้ผลิดอกในช่วงฤดูหนาว ดอกจะมีสี แตกต่างกัน เช่น เหลือง ขาว และแดง เป็นต้นคำว่า "อะโล" (Aloe) เป็นภาษากรีกโบราณ หมายถึงว่าน หางจระเข้ ซึ่งแผลงมาจากคำว่า "Allal" มีความหมายว่า ฝาดหรือขมในภาษายิว ฉะนั้นเมื่อผู้คนได้ยิน ชื่อนี้ ก็จะทำให้นึกถึงว่านหางจระเข้ ว่านหางจระเข้เดิมเป็นพืชที่ขึ้นในเขตร้อนต่อมาได้ถูกนำไปแพร่ พันธุ์ในยุโรปและเอเชีย โดยปลูกเพื่อใช้ในการเกษตรและการแพทย์[1] รวมถึงสำหรับการตกแต่งและ ปลูกเป็นต้นไม้กระถาง

4

สมุนไพรรักษาเบาหวาน สูตรโบราณขนานเอก ผู้แต่ง ภาณุทรรศน์ บริษทั ไพลินบุ๊คเน็ต จำกัด กรุงเทพมหานคร 2546 เมื่อเกิดหัวขึ้นมา ไม่ว่าจะเป็นปวดหัวข้างเดียวหรือ 2 ข้างก็ตาม ตัดเอาใบส่านหางจระเข้มาล้าง ให้สะอาด ตัดตรงใบให้เป็นแว่นหนาพอสมควรประมาณสัก 2-3 มิลลิเมตร เอาปูนแดงทาข้างหนึ่งแล้ว เอาด้านที่ทาปูนแดงแปะเข้าไปตรงขมับที่ปวดหัวตุบๆ อยู่นั้น ไม่ช้าไม่นานก็จะหายจากอาการปวดหัวได้ โดยที่ไม่ต้องกินยาบรรเทาปวดขนานใดๆเลย ไม่ว่าจะเป็นแอสไพรินหรือพาราเซตามอลก็ตาม หนังสือสวยด้วยสมุนไพรจากเส้นผมจรดปลายเท้า พิมพ์ที่ บริษัท ออปเซ็ท ครีเอชั่น จำกัด พิมพ์ครั้งแรก ธันวาคม 2552 สรรพคุณ-ชาวอินเดียแดงเรียกว่านหางจระเข้ว่า ไม้เท้ากายสิทธิ์จากสวรรค์ เพราะว่านหาง จระเข้มีประโยชน์มากมาย ใช้รักษาโรคได้ทุกส่วนของร่างกาย วุ้นในสใบว่านหางจระเข้ที่แก่มีสาร Aloeemodin,Aloesin,Aloin ช่วยรักษาแผลไฟไหม้น้าร้อนลวก แผลเรือ้ รัง และ ช่วยรักษาแผลใน กระเพาะอาหารแต่ถ้านำมาใช้กับเส้นผมจะทําให้ผมลื่นหวีง่าย นุ่มสลวย รักษาแผลบนหนังศีรษะและ ต่อต้านเชื้อแบคทีเรียได้ดี มะกรูด ผู้เขียน พิมครัง้ ที่ 1 พ.ศ. 2537 พิมพ์ที่ : บรัทวีพริ้น( 1991)จำกัด สถานที่พิมพ์ : กรุงเทพ ตามแบบ โบราณมะกรูดกับสัมป่อยเป็นของคู่กัน เมื่อพระเจ้าแผ่นดินทรงพระเครื่องใหญ่ ( ตัดผม) เจ้าพนักงานก็ จะต้องเตรียมเมล็ดส้มป่อยและผลมะกรูดไว้ ผลมะกรูดจะปอกผิวออกให้หมด แล้วฝานแว่นๆ ของสอง อย่างนี้ใช้ทำความสะอาดพระเกศาการใช้มะกรูดสระผมเป็นวิธีของคนโบราณใช้กันมาช้านานแล้วในสมัย กรุงศรีอยุธยาก็ใช้กันทั้งเจ้าและชาวบ้านตามความเชื่อของคนโบราณท่านให้ปลูกต้นมะกรูดและต้น ส้มป่อยไว้ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ เพราะต้นไม้ทั้งสองอย่างนี้ถ้าปลูกในทิศดังกล่าวจะมีความขลังเมื่อ เอามาใช้สระผมก็ไม่ต้องเสกไม่ต้องว่าคาถาอะไรทั้งนั้น มีความศักดิ์สิทธิ์อยู่ในตัว https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A1%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0% B8%B9%E0%B8%94 มะกรูดเป็นพืชในสกุลส้ม(Citrus) มีถิ่นกำเนิดในประเทศลาว อินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย ใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้นิยมใช้ใบมะกรูดและผิวมะกรูดเป็นส่วนหนึ่งของเครื่องปรุงอาหารหลายชนิด นอกจากในประเทศไทยและลาวแล้วยังมีความนิยมในกัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย และอินโดนีเซีย

5

(โดยเฉพาะบาหลี) เป็นยาบำรุงหัวใจ ขับลมในลำไส้ แก้แน่นท้องจุกเสียด กระทุ้งพิษ แก้ฝีภายในและแก้ เสมหะเป็นพิษ ช่วยบำรุงผมให้เงางามแก้อาการผมร่วง https://health.kapook.com/view97811.html ประโยชน์และสรรพคุณมะกรูด 1. ช่วยในการต้อต้านอนุมูลอิสระสูง ช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้ร่างกายแข็งแรง 2. กระทุ้งพิษ แก้ฝีภายในและแก้เสมหะเป็นพิษ 3. มีน้ำมันหอมระเหยผ่อนคลายความเครียด คลายความกังวล 4. เป็นยาบำรุงหัวใจ 5. แก้ลม หน้ามืด วิงเวียนศีรษะ 6. แก้อาการไอ ขับเสมหะ 7. ช่วยฟอกโลหิต 8. แก้อาการเลือดออกตามไรฟัน 9. ช่วยขับลมในลำไส้ แก้อาการจุกเสียด ท้องอึด แน่นท้อง 10. ช่วยขับระดู ขับลม 11. ช่วยบำรุงหนังศีรษะและบำรุงเส้นผมให้แข็งแรง 12. แก้ปัญหากลิ่นเท้าเหม็น มีกลิ่นอับเชื้อรา แชมพู https://www.pharmacy.cmu.ac.th/makok.php?id=196 แชมพู เป็นเครือ่ งสำอางทำความสะอาด ชำระล้างคราบไข ฝุ่นละออง เหงื่อไคล ออกจากเส้นผม โดยไม่เป็นอันตรายต่อเส้นผมและหนังศีรษะได้ ในอดีต นิยมใช้แชมพูผง ซึ่งสะดวกในการนำติดตัวหรือ เพื่อความสะดวกในการใช้ ในบางประเทศ นิยมใช้แชมพู ในลักษณะอเนกประสงค์ นั่น คือใช้อาบน้ำ สระผม และ ล้างมือ เรียกว่า ประโยชน์ สามในหนึ่ง นอกจากนี้ ยังมีการผลิตแชมพูก้อน เพื่อพัฒนา สูตรให้สามารถใช้สารจากธรรมชาติ พร้อมกับการใช้สมุนไพร นัยเพื่อผู้ที่แพ้สารเคมี โดยวิธีการประยุกต์ จากการทำสบู่ ซึ่งได้จากขบวนการผลิตจากน้ำมันพืช หรือสัตว์ และ โซเดียมไฮดรอกไซด์ โดยต้อง คำนวณให้ปฏิกิริยาสมดุลระหว่างน้ำมันและโซดาไฟ ภายหลังการเกิดสบู่ สารโซเดียมไฮดรอกไซด์ หรือ โซดาไฟ จะถูกเปลี่ยนแปลง เป็นเนื้อสบู่ และ สมุนไพรจะช่วยลดการระคายเคืองจากความเป็นด่างของ สบู่

6

https://www.bangkokhealth.com/articles/%E0%B9%81%E0%B8%8A%E0%B8%A1%E0% B8%9E%E0%B8%B9%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9C%E0%B8%A1/ สารประกอบหลักของแชมพูเป็นสารลดแรงตึงผิวและทำให้เกิดฟอง ที่มีคุณสมบัติสามารถชะล้าง หรือทำความสะอาดเส้นผมได้ โดยปกติเส้นผมของคนเรานั้น ส่วนโครงสร้างภายในเส้นผมมีประจุลบแต่ ภายนอกโครงสร้างดังกล่าวจะมีประจุบวกในสมัยก่อน นิยมใช้สบู่ แต่การใช้สบู่สระผมมีข้อเสียที่เป็น อันตรายต่อเส้นผมและผิวหนัง เนื่องจากสบู่ทำปฏิกิริยากับน้ำเกิดเป็นด่าง และในกรณีที่ใช้น้ำกระด้าง สระผม สบู่จะทำปฏิกิริยากับน้ำกระด้างทำให้แคลเซียมตกตะกอน และเกาะเส้นผม ผลที่เกิดขึ้นคือเส้น ผมไร้เงามัน เปราะและหวียากต่อมาจึงเลิกใช้สบู่ มาใช้สารลดแรงตึงผิวและทำให้เกิดฟองชนิดประจุลบ แทน สารกลุ่มนี้มีคุณสมบัติละลายน้ำแล้วให้ประจุลบ ให้ฟองมาก ไม่เป็นอันตรายต่อตา และมีราคาไม่ แพง แต่ทั้งนี้ทงั้ นั้นราคาก็แปรตามสภาพของสาร ชนิดที่ดีกว่าราคาจะแพงกว่าแชมพูตามท้องตลาด มากมายหลายชนิดจะมีสารสารลดแรงตึงผิวและทำให้เกิดฟองชนิดประจุลบผสมอยูใ่ นสัดส่วนค่อนข้าง สูง ข้อดีของสารสารลดแรงตึงผิวและทำให้เกิดฟองชนิดประจุลบ คือ ล้างสะอาด ฟองมาก ข้อเสียคือ มี ความเป็นด่างค่อนข้างมาก และตกตะกอนเมื่อทำปฏิกิริยากับแคลเซียม ตะกอนที่เกาะตามผมเหล่านี้จะ ทำให้ผมด้าน ข้อเสียอีกอย่างหนึ่งคือ ทำให้ผมฟูเนื่องจากมีประจุลบผลักดันระหว่างประจุลบในเส้นผม กับประจุลบจากสารเกิดฟอง ตัวอย่างสารสารลดแรงตึงผิวและทำให้เกิดฟองชนิดประจุลบที่นิยมใช้ใน การผลิต ได้แก่ alkyl sulfate salt, arylsulfonate และ sarcosideสารลดแรงตึงผิวและทำให้เกิดฟอง ชนิดประจุบวก เป็นสารที่มีคณ ุ สมบัติละลายน้ำแล้วได้ประจุบวกทำให้ผมนิ่ม หวีง่าย ลดอาการกระเซิง ของเส้นผม อาจแก้เส้นผมที่เสียได้บ้าง https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%8A%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B9

จุดประสงค์ของการใช้แชมพูคือล้างสิ่งแปลกปลอมที่ไม่ต้องการบนเส้นผมโดยไม่ทำให้ไขผิวหนัง หลุดลอกจนทำให้ผมไม่เป็นทรง แชมพูโดยทั่วไปทำจากการผสมสารลดแรงตึงผิว มักจะเป็นโซเดียมล อริลซัลเฟต หรือโซเดียมลอเรทซัลเฟต เข้ากับสารช่วยลดแรงตึงผิว ปกติจะเป็นสารโคคามิโดโพรพิลเบ ทาอีนในน้ำ

7

บทที่ 3 วิธีดำเนินการทดลอง การศึกษาค้นคว้าเรื่องการศึกษาประสิทธิภาพของแชมพูว่านหางจระเข้กับมะกรูด เป็นการศึกษา ค้นคว้าที่มุ่งศึกษาเกี่ยวกับประสิทธิภาพของแชมพูว่านหางจระเข้กับมะกรูด 10 ด้านดังนี้ 1.) ประสิทธิภาพของสินค้า 2.)ความเหมาะสมของปริมาณสินค้า 3.)สามารถนำไปต่อยอดในอนาคต 4.)ได้ แนวคิดทางวิทยาศาสตร์ 5.)สามารถวางจำหน่ายotop 6.) ความน่าใช้ของบรรจุภัณฑ์ 7.) ไม่เกิดการละ คายเคือง 8.) ความเหมาะสมราคา 9.)ความพอใจหลังใช้งาน 10.) คุณภาพโดยรวมของผลิตภัณฑ์โดย การเก็บรวบรวมข้อมูลการปประเมินความพึงพอใจจากความคิดเห็นของนักเรียนและบุคลากรการ การศึกษาโรงเรียนนวมิทราชินูทิศสตรีวิยา๒สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต2 ทางแก้ไขปรับปรุงพัฒนาในจุดบกพร่องของว่านหางจระเข้และมะกรูดเพื่อให้แชมพุว่านหางจระเข้กับ มะกรูดที่จัดทำมีคุณภาพมากที่สุดทำการศึกษาค้นคว้าโดยมีวิธีการและขั้นตอนตามลำดับดังนี้ 1.ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2.เครือ่ งมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า 3.การเก็บรวบรวมข้อมูล 4.การวิเคราะห์ข้อมูล 5.สถิตทิ ี่ใช้ในการวิเคราะห์ 6.วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือ 1.ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าได้แก่ นักเรียนและบุคลากรการศึกษาโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา๒ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 กรุงเทพมหานคร จำนวน 75 คน 2. เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการศึกษาค้นคว้า วิธีการสร้างเครื่องมือในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ผู้ศึกษาได้ใช้แบบสอบถามที่ผู้ศึกษาจัดทำขึ้นเป็น เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลซึ่งผูศ้ ึกษาได้สร้างแบบสอบถามให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์องค์การ ศึกษาและขอบเขตของการศึกษาซึ่งประกอบด้วยคำถาม 2 ดังนี้ส่วนที่ 1 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับ ข้อมูลปัจจัยด้านบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามมีนัยยะแบบสอบถามปลายปิด(Close Ended Respmonse Question) ส่วนที่ 2 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับคุณภาพของแชมพูว่านหางจระเข้กับ

8

มะกรูดตาใความเห็นของได้แก่นักเรียนและบุคลากรททางการศึกษาโรงเรียนนวมินทราชินูทิศสตรีวิทยา 2 มีลักษณะคำถามเป็นคำถามมาตราส่วนประมาณค่า(Rating Scale) 5 ระดับตามวิธีของลิเคิร์ท (Likert) คือน้อยที่สุดน้อยปานกลางมากและมากที่สุดโดยมีเกณฑ์การให้คะแนนและ เกณฑ์การระดับ ดังนี้ ระดับความคิดเห็น ค่าน้ำหนักคะแนนของตัวเลือกตอบ น้อยที่สุด กำหนดค่าเท่ากับ 1 คะแนน น้อย กำหนดค่าเท่ากับ 2 คะแนน ปานกลาง กำหนดค่าเท่ากับ 3 คะแนน มาก กำหนดค่าเท่ากับ 4 คะแนน มากทีส่ ุด กำหนดค่าเท่ากับ 5 คะแนน เกณฑ์ในการแปลความหมายค่าร้อยละของคะแนนระดับความเห็นเพื่อจัดระดับคะแนน การศึกษาสภาพการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ กำหนดเป็นช่วงคะแนนดังต่อไปนี้ ช่วงคะแนนร้อยละ 80 คะแนนขึ้นไป = ดีมาก ช่วงคะแนนร้อยละ 70-79 คะแนน = ดี ช่วงคะแนนร้อยละ 60-69 คะแนน = ปานกลาง ช่วงคะแนนร้อยละ 50-59 คะแนน = พอใช้ ช่วงคะแนนร้อยละ 40-49 คะแนน = ปรับปรุง 3. เก็บรวบรวมข้อมูล ในการดำเนินการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลในครัง้ นี้ผู้ศึกษาได้ดำเนินการตามลำดับขั้นตอน ดังนี้ ขอความร่วมมือจากนักเรียนและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนนวมินทราชินูทิศสตรีวิทยา ๒ สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 กรุงเทพมหานคร ในการทำแบบสอบถามเพื่อ การ จัดเก็บรวบรวมข้อมูลจากบุคลากรทางสถานศึกษาโรงเรียนในสังกัด ผู้ศึกษานำแบบสอบถามที่ทำขึ้นจาก Google Form นำไปแปลงเป็นคิวอาร์โค้ดเพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย ตอบแบบสอบถามในระหว่างวันที่ 31 ตุลาคม 2565 – 4 พฤศจิกายน 2565 ถึงกำหนดวันนัดหมายผู้ ศึกษาได้ปิดการรับคำตอบพร้อมตรวจสอบถูกต้องความเรียบร้อยความสมบูรณ์ของข้อมูลในการตอบ แบบสอบถามในแต่ละชุดและจำนวนข้อมูลที่ได้รับจำนวน 75 คำตอบ ผู้ศึกษานำแบบสอบถามหรือข้อมูลที่เก็บรวบรวมในแต่ละสถานศึกษาเพื่อนำไปวิเคราะห์และ แปลผลข้อมูล 4. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์

9

การวิเคราะห์ข้อมูลผู้ศึกษาค้นคว้าได้วิเคราะห์และประมวลผลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปด้วย ระบบคอมพิวเตอร์สถิติที่ใช้ คือ สถิติพรรณนาการหาค่าความถี่ค่าร้อยละค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานการหา ค่าความถี่ โดยวิธีนับคำนวณ สูตรการหาค่าร้อยละ =

X × 100 N

6.วัสดุอุปกรณ์และเครือ่ งมือ 6.1.1 อุปกรณ์และเครื่องมือหลักที่ต้องใช้ ชนิดอุปกรณ์ 1.หม้อ 2.เตา 1 เตา 3.มีด 2 เล่ม 4.ทัพพี 1 อัน 5.ที่คนไข่ 1 อัน 6.ครก 1 ครก 7.บรรจุภัณฑ์ 1 ขวด

จำนวน 2 ใบ

6.1.2 วัสดุอและอุปกรณ์ที่ต้องจัดหา ชนิดอุปกรณ์ 1.ว่านหางจระเข้ 2.มะกรูด 10 3.หัวเชื่อแชมพู 4.ผงปรับข้น 5.กลีเซอรีน 1 6.ผงฟอง 1 7.Mercuat 1 8.หัวเชื่อน้ำหอม 9.สีผสม 1

จำนวน 10 1 1

1

10

วิธกี ารทดลอง 1.นำว่านหางจระเข้มาขุดเอาเนื้อใสๆ

2. นำมะกรูดหัน่ ตามขวางและอีกส่วนมาหั่นเป็นซีกๆให้ได้ผิวมะกรูด

3. นำไปใส่หม้อที่1แล้วเติมย้ำลงไปรอให้เดือด

11

4.หม้อที่2 ผสมmercuat 500 หัวเชื้อแชมพู หัวเชื่อปรับข้นฟอง กลีเซอรีน ผงฟอง หัวเชื่อน้ำหอม คม ให้เข้ากันประมาณ 10 นาที

5.นำว่านหางจระเข้กับมะกรูดที่ต้มไว้ในหม้อที่1จนเดือดไปปั่นให้ละเอียด

6.จากนั้นเอาที่ปั่นแล้วไปใส่ในหม้อที่2จากนั้นคนประมาณ 10 นาทีและผสมสี

7.จากนั้นนำมาใส่บรรจุภัณฑ์ที่เตรียมไว้เป็นอันเสร็จ

12

บทที่ 4 ผลการทดลอง การศึกษาค้นคว้าการแชมพูว่านหางจระเข้กับมะกรูด ซึ่งเป็นพืชที่ทุกคนมองข้ามและไม่เห็น คุณค่าคณะผู้จดั ทำจึงนำมาแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าและเพิ่มรายได้ให้แก่คนในชุมชน การศึกษาค้นคว้าครั้ง นีเ้ ป็นการศึกษาและรวบรวมข้อมมูลเพือ่ นำมาจัดทำเป็นโครงงานประเภทสิง่ ประดิษฐ์ โดยภายหลังจาก ที่ทำผลิตภัณฑ์เสร็จสมบูรณ์แล้ว ทำงคณะผู้จัดทำจึงได้นำผลิตภัณฑ์มาให้นักเรียนในโรงเรียนนวมินท ราชินูทิศ สตรีวิทยา ๒ ได้ทดลองใช้ และทำแบบประเมิณความพึงพอใจต่อคุณภาพของผลิตภัณฑ์และ ร่วมกันเสนอข้อเสนอแนะ ซึ่งประชากรในการค้นคว้าครั้งนี้มีนักเรียนจำนวน 75 คน รวมทั้งหมด 75 คน ได้รับแบบประเมิณกลับคืนมาจำนวน 75 ชุด คิดเป็นร้อยละ 100 ในการสรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูล มี หัวข้อดังต่อไปนี้ 4.1 วิเคราะห์ขอ้ มูลทั่วไปของนักเรียนและบุคลากรภายในโรงเรียนนวมินทรำชินูทิศสตรีวิทยา ๒ 4.2 วิเคราะห์คะแนนความพึงพอใจต่อลูกอมดอกเข็มของนักเรียนในโรงเรียนนวมินทรำชินูทิศ สตรีวิทยา ๒ 4.1 วิเคราะห์ข้อมูลทัว่ ไปของนักเรียนและบุคลากรภายในโรงเรียนนวมินทราชินทู ศิ สตรีวิทยา๒ ตารางที่ 4.1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม รายการ เพศ

ข้อมูลส่วนตัว ชาย หญิง รวมทั้งสิ้น

จำนวน 56 44 75

ร้อยละ 74.67 58.67 100

จากตารางที่ 1 พบว่าข้อมูลพื้นฐานของนักเรียนและบุคลากรภายในโรงเรียน มีดังนี้ 1.เพศ ผู้ทำแบบสอบถามส่วนมากเป็นเพศชาย ร้อยละ 74.67 รองลงมาคือ เพศหญิง ร้อยละ 58.67

13

4.2 วิเคราะห์คะแนนความพึงพอใจต่อลูกอมจากดอกเข็มของนักเรียนและบุคลากรภายใน โรงเรียนนวมินทราชินทู ศิ สตรีวทิ ยา 2

ตารางที่ 4.2 การวิเคราะห์ผลความพึงพอใจต่อผลิตภัณฑ์แชมพูว่านหางจระเข้ ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ความคิดเห็น

ระดับความพึงพอใจ 5 4 3 2 1 ประสิทธิภาพของสินค้า 45 20 10 0 0 ความเหมาะสมของ ปริมาณสินค้า สามารถนำไปต่อยอด ในอนาคต ได้แนวคิดทาง วิทยาศาสตร์ สามารถวางจำหน่าย otop ความน่าใช้ของบรรจุ ภัณฑ์ ไม่เกิดการละคายเคือง ความเหมาะสมราคา ความพอใจหลังใช้งาน คุณภาพโดยรวมของ ผลิตภัณฑ์โดยการเก็บ รวบรวม รวม

ร้อยละ

แปลค่า

89.33

มาก

26

23

26

0

0

80

มาก

24

33

17

1

0

81

มาก

22

32

20

1

0

80

มากที่สุด

28

27

18

2

0

81.6

มาก

24

26

23

2

0

79.2

มากที่สุด

30 30 28 31

28 24 28 25

15 19 18 18

2 2 1 1

0 0 0 0

82.93 81.87 82.13 82.93

มากที่สุด มาก มาก มากที่สุด

288 266 184 12

0

82.09

มาก

14

เกณฑ์การให้คะแนน ช่วงคะแนนร้อยละ 80 คะแนนขึ้นไป = ดีมาก ช่วงคะแนนร้อยละ 70-79 คะแนน = ดี ช่วงคะแนนร้อยละ 60-69 คะแนน = ปานกลาง ช่วงคะแนนร้อยละ 50-59 คะแนน = พอใช้ ช่วงคะแนนร้อยละ 40-49 คะแนน = ปรับปรุง จากตารางการวิเคราะห์ผลความพึงพอใจต่อลูกอมจากดอกเข็มทั้ง 10 ข้อ พบว่าภาพรวมของ ผลิตภัณฑ์อยู่ในเกณฑ์ดีมาก โดยด้านที่มีคะแนนมากที่สุด คือ ด้านความน่าสนใจความแปลกใหม่ มีค่ำ ร้อยละ 84.22 รองลงมาคือ ด้านกลิ่นและเนื้อสัมผัสของลูกอม มีค่ำร้อยละ 81.11 และด้ำนที่เหลือมี ระดับคะแนนอยู่ในเกณฑ์มากถึงมากที่สุด ข้อเสนอแนะ ความคิดเห็นส่วนใหญ่แนะนำให้ปรับปรุงด้านความเหมาะสมของราคา และปรับปรุงความ สวยงามของผลิตภัณฑ์ เพื่อสามารถเพิ่มมูลค่าและยอดขายของผลิตภัณฑ์

15

บทที่ 5 สรุปผล อภิปราย และข้อเสนอแนะ การศึกษาการทำแชมพูว่านหางจระเข้กับมะกรูด มีวัตถุประสงค์ 3 ข้อ (1.)นำไปใช้ในอนาคต เพื่อต่อยอดโครงงานของตนเองให้ดีขึ้นและมีประสิทธิภาพสูงสุด (2.) ได้ฝึกทักษะทางวิทยาศาสตร์และ เกี่ยวกับความลึกสึกของยาสระผม (3.) เกิดประโยชน์หรือเป็นผลิตภัณฑ์ส่งออกไปในท้องถิ่น กลุ่มเป้าหมายที่เราใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นนักเรียนโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา๒และ บุคลากรภายในโรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ แบบสอบถำมความคิดเห็นความพึงพอใจใน การ ใช้แชมพูว่านหางจระเข้กับมะกรูดแบบสอบถำมคือ Google Formซึ่งเรานั้นให้สแกน QR Code โดยมี คำถมมสำรวจจำนวน 10ข้อ การวิเคราะห์ข้อมูลผู้ศึกษาได้วิเคราะห์ ข้อมูล โดยใช้สถิติทใี่ ช้ในการศึกษา ครั้งนี้คือการหารร้อยละ ค่ำเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สรุปผลการศึกษาทดลอง จากการศึกษาทอลองการทำแชมพูว่านหางจระเข้กับมะกรูดสามารถสรุได้ว่าว่านหางกับมะ กร฿ดมีเนื้อที่นมุ่ เนียนสวย ซึ่งการใช้แชมพูว่านห่างจระเข้ใช้ในการสระผมหรือใช้เป็นครีมนวลผมก็ได้ เช่นกันและมีความเรียบเนียนอีกด้วย แต่อย่าใช้ปริมาณมากเกินอาจทำได้เกิดการละคายเคืองได้ อภิปราย จากการศึกษาค้นคว้ารื่องการทำแชมพูว่านหางจระเข้กับมะกรูดตามความคิดเห็นจากนักเรียน และบุคลากรภายในโรงเรียนนวมินทราชินูทิศสตรีวิทยา ๒ สามารถอภิปรายได้ดังนี้ จากการสอบถามความคิดเห็นความพึงพอใจของนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนนวมินทราชินู ทิศ สตรีวิทยา ๒ ในเรื่องการทำแชมพูว่านหางจระเข้กับมะกรูดพบว่าอยู่ในระดับปานกลาง ข้อเสนอแนะ

16

จากการศึกษาข้อมูลและวิเคราะห์จากผลการสำรวจมีขอ้ เสนอแนะดัฃนี้ 1.ควรปรับปรุงเรื่องกลิ่น 2.เรื่องบรรจุภัณฑ์ 3.ปริมาณกับราคา

17

บรรณนุกรม ภาณุทรรศน์.(2546).สมุนไพรรักษาเบาหวาน.กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ ไพลินบุ๊คเน็ต จำกัด อังคณา ทองพลู.(2552).สมุนไพรจากเส้นผมจรดปลายเท้า.กรุงเทพมหานคร สำนักพิมพ์ ออปเซ็ท ครีเอชั่น จำกัด คังสาสุวัตณ์ ทิบเพชร.(2537). สมุนไพรที่ตอ่ ชีวิต.กรุงเทพมหานคร สำนักพิมพ์ บรัทวีพริ้น ว่านหางจระเข้ความเป็นมา/สีบค้น 7 กรกฎาคม จาก https://th.wikipedia.org/wiki .มะกรูดทีม่ า/สืบค้น 10 กรกฎาคม จาก https://th.wikipedia.org/wiki/ ประโยชน์และสรรพคุณของมะกรูด/สืบค้น 10 กรกฎาคม จาก https://health.kapook.com/view97811.html แชมพูสระผม/สืบค้น 12 กรกฎาคม จาก https://www.bangkokhealth.com/articles/แชมพูสระ ผม

18

ภาพผนวช ภาพที่ 1 นำนำว่านหางจระเข้มาขุดเอาเนื้อใสๆนำมะกรูดหั่นตามขวางและอีกส่วนมาหั่นเป็น ซีกๆให้ได้ผิวมะกรูด

ภาพที่ 2 นำว่านหางจระเข้กับมะกรูดที่หั่นแล้วไปต้มให้เดือดในหม้อที่1

ภาพที่ 3 นำส่วนผสมแชมพูที่เตรียมไว้ใส่ลงไปในหม้อที่2

19

ภาพที่ 4 นำว่านหางจระเข้กับมะกรูดที่ต้มไว้ในหม้อที1่ จนเดือดไปปั่นให้ละเอียด

ภาพที่ 5 นำว่านหางจระเข้ที่ปั่นละเอียดแล้วผสมกับหม้อที่2 ภาพที่ 6 (ไม่มีรูป) นำใส่บรรจุภัณฑ์ที่เตรียมไว้

20

ภาพที่ 7 แบบทดสอบถามความพึงพอใจ

21

ประวัติศึกษาค้นคว้า ชื่อ-นามสุกล

นายกรพจน์ อินทรแสง

วันเดือนปีเกิด

1 พฤษภาคม 2549

ที่อยู่ปัจจุบัน

99/14 ซอยนิมิตใหม่ 13 ถนนนิมิตใหม่ แขวงทรายกองดิน กรุงเทพมหานคร 10510

ตำแหน่งหน้าที่การงาน

นักเรียนโรงเรียนนวมินทราชินทู ศิ สตรีวทิ ยา ๒ สำนักงานเขต พื้นทีก่ ารศึกษามัธยมเขต 2

ประวัติการศึกษา ระดับประถมศึกษา

โรงเรียนมีนประสาทวิทยา

ระดับมัธยมศึกษา

โรงเรียนนวมินทราชินูทิศสตรีวิทยา ๒

22

ประวัติศึกษาค้นคว้า ชื่อ-นามสุกล

นายณัฐกิตต์ ภู่สวรรค์

วันเดือนปีเกิด

6 เมษายม 2548

ที่อยู่ปัจจุบัน

42/909 ซอยนิมิตใหม่ 40 ถนนนิมิตใหม่ แขวงสามวา ตะวันออก กรุงเทพมหานคร 10510

ตำแหน่งหน้าที่การงาน

นักเรียนโรงเรียนนวมินทราชินทู ศิ สตรีวทิ ยา ๒ สำนักงานเขต พื้นทีก่ ารศึกษามัธยมเขต 2

ประวัติการศึกษา ระดับประถมศึกษา

โรงเรียนมีนประสาทวิทยา

ระดับมัธยมศึกษา

โรงเรียนนวมินทราชินูทิศสตรีวิทยา ๒

23

ประวัติศึกษาค้นคว้า ชื่อ-นามสุกล

นายณัฐพัชร์ นิลดับแก้ว

วันเดือนปีเกิด

9 กุมภาพันธ์ 2549

ที่อยู่ปัจจุบัน

49/14 ซอยนิมิตใหม่ 34 ถนนนิมิตใหม่ แขวงสามวา ตะวันออก กรุงเทพมหานคร 10510

ตำแหน่งหน้าที่การงาน

นักเรียนโรงเรียนนวมินทราชินทู ศิ สตรีวทิ ยา ๒ สำนักงานเขต พื้นทีก่ ารศึกษามัธยมเขต 2

ประวัติการศึกษา ระดับประถมศึกษา

โรงเรียนสารสาสน์วิเศษนิมิตใหม่

ระดับมัธยมศึกษา

โรงเรียนนวมินทราชินูทิศสตรีวิทยา ๒

24

ประวัติศึกษาค้นคว้า ชื่อ-นามสุกล

นายมนิมนา มาศภมร

วันเดือนปีเกิด

7 ตุลาคม 2548

ที่อยู่ปัจจุบัน

70/302 ซอย6 เฟส1 หมู่บ้านฟ้าปิยรมย์ อำเภอลำลูกกา ปทุมธานี 12150

ตำแหน่งหน้าที่การงาน

นักเรียนโรงเรียนนวมินทราชินทู ศิ สตรีวทิ ยา ๒ สำนักงานเขต พื้นทีก่ ารศึกษามัธยมเขต 2

ประวัติการศึกษา ระดับประถมศึกษา

โรงเรียนเฟื่องฟ้าวิทยา

ระดับมัธยมศึกษา

โรงเรียนนวมินทราชินูทิศสตรีวิทยา ๒

25

ประวัติศึกษาค้นคว้า ชื่อ-นามสุกล

นางสาวพิมพ์มตาดา จีรชัยปรีชากุล

วันเดือนปีเกิด

5 สิงหาคม 2548

ที่อยู่ปัจจุบัน

74/29 ซอยรามอินทรา127 แขวงมีนบุรี กรุงเทพมหานคร 10510

ตำแหน่งหน้าที่การงาน

นักเรียนโรงเรียนนวมินทราชินทู ศิ สตรีวทิ ยา ๒ สำนักงานเขต พื้นทีก่ ารศึกษามัธยมเขต 2

ประวัติการศึกษา ระดับประถมศึกษา

โรงเรียนสารสาสน์วิเศษนิมิตใหม่

ระดับมัธยมศึกษา

โรงเรียนนวมินทราชินูทิศสตรีวิทยา ๒

26

27

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.