โครงงาน IS การศึกษาห้องสมุด Flipbook PDF


108 downloads 112 Views 6MB Size

Story Transcript

1 การศึกษาความรู้สกึทมี่ีต่อห้องสมุดโรงเรยีนสวนกุหลาบวิทยาลัย ของนักเรยีนระดับชั้นมัธยมศกึษาปีที่1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย จัดท าโดย เด็กชายธีร์ ชอบแสงจันทร์ เลขที่20 ห้อง 102 เด็กชายชัยวริษฐ์ ชัยพัฒน์ธนโชติ เลขที่23 ห้อง 102 เด็กชายฉันท์ชนก ทรงศิลป์ เลขที่28 ห้อง 102 เด็กชายหริัณย์สิทธิศักดิ์เลขที่35 ห้อง 102 รายงานนีเ้ป็นส่วนหนึ่งในรายวิชาการสื่อสารและการน าเสนอ (I21202) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 ปี การศึกษา 2565 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย


2 การศึกษาความรู้สกึทมี่ีต่อห้องสมุดโรงเรยีนสวนกุหลาบวิทยาลัย ของนักเรยีนระดับชั้นมัธยมศกึษาปีที่1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย จัดท าโดย เด็กชายธีร์ ชอบแสงจันทร์ เลขที่20 ห้อง 102 เด็กชายชัยวริษฐ์ ชัยพัฒน์ธนโชติ เลขที่23 ห้อง 102 เด็กชายฉันท์ชนก ทรงศิลป์ เลขที่28 ห้อง 102 เด็กชายหริัณย์สิทธิศักดิ์เลขที่35 ห้อง 102 เสนอ คุณครูจิราภรณ์กลัดป้อม รายงานนีเ้ป็นส่วนหนึ่งในรายวิชาการสื่อสารและการน าเสนอ (I21202) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 ปี การศึกษา 2565 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย


3 ธีร์ ชอบแสงจันทร์ และคณะ. (2565). การศึกษาความรู้สึกที่มีต่อห้องสมุดโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยของ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย, รายงานการศึกษา ค้นคว้า (รายวิชา I21202 รายวิชาการสื่อสารและการน าเสนอ). กรุงเทพฯ : โรงเรียนสวนกุหลาบ วิทยาลัย การศึกษาในครั้งนี้มีจุดหมายเพื่อศึกษาความรู้สึกที่มีต่อห้องสมุดโรงเรียนสวนกุหลาบ วิทยาลัยของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ผู้ใช้บริการ และเพื่อน าข้อมูล มาประมวลผลและใช้ในการพัฒนาความพึงพอใจต่อการใช้ห้องสมุดต่อไป กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าคือนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 130 คน โดยใช้วิธีการสุ่มแบบโควตา จาก 13 ห้อง ห้องละ 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถามตามวัตถุประสงค์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ (ค่าเฉลี่ย) ผลการศึกษาค้นคว้า 1. การกระจายตัวของผู้ตอบแบบสอบถามซึ่งเป็นนักเรียนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ของโรงเรียนสวนกุหลาบ พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามจ านวน 130 คนมี การกระจายตัวเท่ากันทุกห้อง ห้องละ 10 คน หรือร้อยละ 7.69 2. ความถี่ในการเข้าใช้บริการห้องสมุดของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ล าดับ 1 คือ 1-2 วัน/สัปดาห์ หรือร้อยละ 66.15 ล าดับ 2 คือ 2-3 วัน/สัปดาห์หรือร้อยละ 11.54 และล าดับ 3 คือ 3-4 วัน/ สัปดาห์หรือร้อยละ 9.23 3. ระดับความรู้สึกพึงพอใจที่มีต่อห้องสมุดโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย โดยรวมอยู่ในระดับมาก (̅= 3.80) เมื่อพิจารณา เป็นรายข้อ ระดับความพึงพอใจที่มีต่อห้องสมุดมากที่สุด คือ ความสะดวกรวดเร็วในการให้บริการ ยืม-คืน (̅= 4.06) รองลงมาในล าดับที่ 2-3 คือขั้นตอนการให้บริการไม่ซับซ้อน เข้าใจง่าย (̅= 3.98) และความ สะอาดในห้องสมุด (̅= 3.96)อยู่ในระดับมาก


4 กิตติกรรมประกาศ รายงานการศึกษาค้นคว้าเรื่องการศึกษาความรู้สึกที่มีต่อห้องสมุดโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยของ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยฉบับนี้ส าเร็จและสมบูรณ์เป็นรูปเล่ม ได้รับ การสนับสนุน ความกรุณาและเอาใจใส่เป็นอย่างดีจากคุณครูจิราภรณ์ กลัดป้อม ครูประจ าวิชาที่ได้กรุณา ให้ค าปรึกษาและแนะแนวทางในการด าเนินการท ารายงานในครั้งนี้โดยไม่มีข้อบกพร่อง รวมทั้งข้อเสนอแนะ และข้อคิดเห็นต่าง ๆ ตลอดทั้งการตรวจแก้ไขรายงานฉบับนี้ให้ส าเร็จสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ทางคณะผู้จัดท าจึง ขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้ ขอขอบพระคุณคุณครูทุกท่านที่ได้ประสิทธิ์ประสาทวิชา ความรู้และประสบการณ์ตลอดจนอา นวย ความส าเร็จให้บังเกิดขึ้น สุดท้ายนี้ขอขอบคุณผู้ปกครอง คุณพ่อ คุณแม่ที่เป็นก าลังใจ และให้ค าแนะน าในการท ารายงานฉบับนี้ให้ ส าเร็จลุล่วงด้วยดีตลอดมา คณะผู้จัดท า 25 มกราคม 2566


5 รายงานการศึกษาค้นคว้า เรื่อง การศึกษาความรู้สกึทมี่ีต่อห้องสมุดโรงเรยีนสวนกุหลาบวิทยาลัย ของนักเรยีนระดับชั้นมัธยมศกึษาปีที่1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย จัดท าโดย เด็กชายธีร์ ชอบแสงจันทร์ เลขที่20 ห้อง 102 เด็กชายชัยวริษฐ์ ชัยพัฒน์ธนโชติ เลขที่23 ห้อง 102 เด็กชายฉันท์ชนก ทรงศิลป์ เลขที่28 ห้อง 102 เด็กชายหริัณย์สิทธิศักดิ์เลขที่35 ห้อง 102 ............................................ครูประจา รายวิชา (คุณครูจิราภรณ์กลัดป้อม) ............................................ครูประจา ชั้น คนที่1 (คุณครูชนานุช ดอกประทุม) ............................................ครูประจา ชั้น คนที่2 (คุณครูสุกัญญา สมมุติ)


6 สารบัญ บทที่หน้า 1 บทน า……………………………………………………………………. 1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา……………………………….. 1 วัตถุประสงค์………………………………………………………………. 1 ประโยชน์ที่ได้รับ…………………………………………………………. 1 ขอบเขตการศึกษาค้นคว้า……………………………………………….. 2 2 เอกสารและวรรณกรรมทเี่กี่ยวข้อง………………………………….. 3 ประวัติห้องสมุดโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย………………………. ระเบียบและข้อปฏิบัติในห้องสมุด…………………………………… ปัญหาการใช้ห้องสมุด……………………………………………….. มาตรฐานห้องสมุด…………………………………………………... สื่อโสตทัศน์ในห้องสมุด……………………………………………… การจัดหมู่หนังสือในห้องสมุด……………………………………….. 3 4 5 5 6 6 3 วิธีด าเนินการ……………………………………………………………. 8 4 ผลการศึกษาค้นคว้า……………………………………………………. 10 5 สรุปผลการศึกษาค้นคว้า และข้อเสนอแนะ…………………………. 13 บรรณานุกรม ……………………………………………………………………………. 15 ภาคผนวก ……………………………………………………………………………. 16


7 สารบัญตาราง หน้า ตารางที่1 ห้องประจ าชั้นของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย 10 ตารางที่2 ความถี่ในการเข้าใช้บริการห้องสมุด………………………………………………… 11 ตารางที่3 ระดับความรู้สึกพึงพอใจที่มีต่อห้องสมุดโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย……………… 11


1 บทที่1 บทน า ความเป็ นมาและความส าคัญของปัญหา ห้องสมุด คือ แหล่งเก็บรวบรวมเพื่อให้บริการสื่อทรัพยากรสารนิเทศ เช่น หนังสือวารสาร หนังสือพิมพ์ ตลอดจนถึงเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีทางการสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ โดยมี บรรณารักษ์ เป็นผู้ด าเนินงานและบริหารงานต่าง ๆ ในห้องสมุดโดยจัดระบบเป็นหมวดหมู่และระเบียบ เรียบร้อย อีกทั้งยังมีเครื่องมือในการค้นหาและด าเนินการให้บริการสื่อต่างๆ เพื่อให้ผู้ใช้ห้องสมุดมีความ สะดวก สืบค้นได้ง่าย และตรงกับความต้องการและเกิดประโยชน์สูงสุด ส าหรับห้องสมุดโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยให้บริการแก่นักเรียน ครู และบุคลากรของ โรงเรียน ให้บริการยืม-คืน หนังสือที่มีความหลากหลาย เช่น หนังสือความรู้ คู่มือสอบ ซีดีรอม และให้บริการ อินเทอร์เน็ต ระบบสืบค้น สารสนเทศด้วยตนเอง หรือ OPAC เพื่ออ านวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ห้องสมุด ซึ่งถือเป็นแหล่งเรียนรู้ส าคัญของนักเรียน ด้วยเหตุนี้ กลุ่มจึงสนใจหัวข้อวิจัยในการศึกษาและส ารวจความรู้สึกของผู้ใช้บริการ ห้องสมุดที่เป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เพราะเป็นนักเรียนใหม่ ที่เพิ่งเข้ามาปีแรก ว่าจะมีความคิดเห็นอย่างไรกับห้องสมุด มีโอกาสใช้บริการห้องสมุดหรือไม่ เพราะอะไร เมื่อใช้บริการแล้ว มีความรู้สึกอย่างไร เพื่อน าผลส ารวจนั้นมาพัฒนาห้องสมุดต่อไป วัตถุประสงค์ ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ ได้ตั้งความมุ่งหมายไว้ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาความรู้สึกที่มีต่อห้องสมุดโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ผู้ใช้บริการ 2. เพื่อน าข้อมูลมาประมวลผลและใช้ในการพัฒนาความพึงพอใจต่อการใช้ห้องสมุดต่อไป ประโยชนท์ ไี่ด้รับ 1. ได้รับข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการพัฒนาห้องสมุดเพื่อสร้างความพึงพอใจให้แก่ ผู้ใช้บริการรุ่นใหม่ น่าสนใจ เพื่อช่วยกันรักษาส่วนดีไมให้เสื่อมลง 2. พัฒนาห้องสมุดให้ดีขึ้น เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อนักเรียนและผู้ใช้บริการมากขึ้น


2 ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า ประชากรทใี่ช้ในการศึกษาค้นคว้า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 493 คน กลุ่มตัวอย่างทใี่ช้ในการศึกษาค้นคว้า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565จ านวน 13 ห้อง จ านวน 130 คน นิยามศัพท์เฉพาะ 1. สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลต่างๆ ที่ได้ผ่านการเปลี่ยนแปลงหรือมีการประมวลผลหรือ วิเคราะห์สรุปผลด้วยวิธีการต่างๆ แล้ว เก็บรวบรวมไว้ เพื่อน ามาใช้ประโยชน์ตามต้องการ การประมวลเป็น การน าข้อมุลจากแหล่งต่างๆ ที่เก็บ รวบรวมไว้มาผ่านกระบวนการต่างๆ เพื่อแปรสภาพข้อมูลให้เป็นระบบ และอยู่ในรูปแบบที่ต้องการ 2. ห้องสมุด หมายถึง แหล่งเก็บรวบรวมเพื่อให้บริการสื่อทรัพยากรสารนิเทศ เช่น หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ ตลอดจนถึงเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์ โดยมีบรรณารักษ์เป็นผู้ด าเนินงานและ บริหารงานต่างๆ


3 บทที่2 เอกสารและวรรณกรรมทเี่กี่ยวข้อง ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ ผู้ศึกษาค้นคว้าได้ศึกษาเอกสารและวรรณกรรมเกี่ยวข้อง ได้ น าเสนอตามหัวข้อต่อไปนี้ 1. ประวัติห้องสมุดโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย 2. ระเบียบและข้อปฏิบัติในห้องสมุด 3. ปัญหาการใช้ห้องสมุด 4. มาตรฐานห้องสมุด 5. สื่อโสตทัศน์ในห้องสมุด 6. การจัดหมู่หนังสือในห้องสมุด หัวข้อที่1 ประวัติห้องสมุดโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย แต่เดิมตั้งอยู่ที่พระต าหนักสวนกุหลาบ เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2424 โดยพระมหากรุณาธิคุณแห่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และในปีพุทธศักราช 2453 ได้ย้ายมาอยู่ ณ ที่ปัจจุบัน ส าหรับห้องสมุดโรงเรียนนั้น ตั้งขึ้นเมื่อใดไม่ปรากฎหลักฐาน แต่เมื่อย้ายโรงเรียนมาอยู่ ณ ที่ตั้งปัจจุบันในปี พ.ศ.2453 ก็มีห้องสมุดแล้ว ต่อมา มีการปรับปรุงต่างๆ เช่น พ.ศ.2502 ย้ายจากที่ตั้งเดิมที่ ชั้นล่างของอาคารหลังยาวห้อง 113 มาอยู่บนชั้นสามของตึกสามัคคยาจารย์ มีขนาด 5 ห้องเรียน และได้ เริ่มการจัดหนังสือตามระบบสากล จัดสร้างครุภัณฑ์ จัดหาบุคลากร หนังสือ อุปกรณ์ต่าง ๆ โสตทัศนวัสดุ โดยท่านรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (ม.ล.ปิ่น มาลากุล) ได้เป็นประธานในพิธีเปิด เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2504 ซึ่งทางโรงเรียนได้เคยถือวันนี้เป็นวันห้องสมุด ต่อมาในปี พ.ศ. 2521 ได้จัดงานสัปดาห์ ห้องสมุดขึ้นเป็นปีแรก และจัดให้มีโครงการที่น่าสนใจต่างๆ เช่น Toy Library ห้องสมุดเสียง Sound Library ธนาคารหนังสือ และในปี พ.ศ.2528 ห้องสมุดได้รับรางวัล ห้องสมุดดีเด่น จากสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศ ไทย ในปีพ.ศ. 2534 ห้องสมุดได้มาเปิดด าเนินการที่ชั้นล่างของอาคารศาลาพระเสด็จ ใช้ชื่อว่า “ห้องสมุดพลเอกสุนทร คงสมพงษ์” แบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ ห้องสมุดโรงเรียน ห้องสมุดสมาคมศิษย์เก่า สวนกุหลาบวิทยาลัย ห้องสมุดเสียงและวีดิทัศน์ และห้องประชุม และพัฒนาต่อเนื่อง เช่น จัดให้มีห้องสมุด ครู จัดตั้งชุมนุมห้องสมุด บริการสืบค้นข้อมูลระบบ INTERNET และ Suankularb Bulletin Board System : SKBBS และในปี พ.ศ. 2551 ได้น าระบบโปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติ Openbiblio ซึ่งเป็น Open Source Software มาใช้ในระบบยืมคืน และระบบสืบค้น OPAC (โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย, ม.ป.ป. : ออนไลน์)


4 ห้วข้อที่2 ระเบียบและข้อปฏิบัติในห้องสมุด เวลาท าการ เปิดท าการ วันจันทร์-วันศุกร์ เปิดบริการเวลา 07.00 -18.00 น. วันเสาร์ เปิดท าการเวลา 07.00 -14.00 น. (เฉพาะวันที่เปิดสอนเสริมวันเสาร์) ผู้มีสิทธิเข้าใช้ห้องสมุด ครู-อาจารย์ นักเรียนปัจจุบัน ศิษย์เก่า และผู้ปกครองนักเรียน ระเบียบการยืม-คืน หนังสือ วีดิทัศน์ และเทปบันทึกเสียงครู-อาจารย์ ยืม 10 เล่ม/สัปดาห์ นักเรียนมัธยมปลาย ยืม 5 เล่ม/สัปดาห์ นักเรียนมัธยมต้น ยืม 5 เล่ม/สัปดาห์ หนังสือส่งคืนช้ากว่าก าหนด ปรับวันละ 1 บาท/เล่ม วีดิทัศน์ส่งคืนช้ากว่าก าหนด ปรับวันละ 2 บาท/ม้วน หนังสือสูญหายหรือช ารุด ต้องชดใช้ตามราคาที่ห้องสมุดก าหนด วีดิทัศน์หาย ต้องชดใช้เป็นเงินค่าปรับจ านวน 200 บาท/ม้วน นักเรียนที่ไม่คืนหนังสือก่อนสิ้นภาคเรียน จะงดแจ้งผลการสอบ ข้อปฏิบัติในการใช้ห้องสมุด 1. นักเรียนต้องแต่งกายเครื่องแบบนักเรียน หรือแต่งกายสุภาพ 2. ห้ามน าถุง กระเป๋ า แฟ้มเข้าห้องสมุด ให้ฝากในตู้เก็บของหน้าห้องสมุด 3. ห้ามน าอาหารและเครื่องดื่มเช้ามาในห้องสมุด 4. หนังสืออ่านเสร็จแล้ว น าไปเก็บที่รถเข็นที่จัดไว้ 5. วารสารและหนังสือพิมพ์ อ่านแล้วเก็บเข้าที่ให้เรียบร้อย 6. ใช้วัสดุสิ่งพิมพ์ด้วยความระมัดระวัง ไม่ตัด ฉีก ท าลาย 7. ไม่เล่นหรือส่งเสียงดังในห้องสมุด 8. ห้ามคุยโทรศัพท์ในห้องสมุด 9. ให้เจ้าหน้าที่ ตรวจหนังสือหรือสิ่งของทุกครั้งที่ออกจากห้องสมุด (โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย, ม.ป.ป. : ออนไลน์)


5 หัวข้อที่3 ปัญหาการใช้ห้องสมุด 1. ชั้นหนังสือเต็มจนหนังสือไม่มีที่เก็บ 2. สื่อประเภทซีดีมีมากมาย แต่ไม่มีที่จัดเก็บ 3. ไม่มีคอมพิวเตอร์เพื่อการสืบค้น เวลาผู้ใช้ต้องการหาหนังสือ จะเดินมาถาม บรรณารักษ์ หรือเดินหาตามชั้นเอาเอง 4. บุคคลากรในห้องสมุด ไม่เคยถูกส่งไปเข้าร่วมงานสัมมนา อบรม ประชุมวิชาการ 5. บุคลากรในห้องสมุดมักถูกขอให้ไปช่วยงานอื่นๆ 6. นักเรียนเอาโน้ตบุคมาใช้ แต่ไม่สามารถต่ออินเตอร์เน็ตได้ 7. เวลาจัดงานต่างๆ จะมายืมครุภัณฑ์จากห้องสมุดเป็นหลัก เช่น โต๊ะ เก้าอี้ ท าให้ ห้องสมุดไม่มีที่นั่งให้ผู้ใช้บริการ (ปัญหามากมายที่รอการแก้ไขจากห้องสมุดแห่งหนึ่ง, 2010 : ออนไลน์) หัวข้อที่4 มาตรฐานห้องสมุด มาตรฐานห้องสมุด พ.ศ. 2549 จัดท าเพื่อให้สอดคล้องกับหลักการจัดการศึกษา เพื่อ พัฒนาสังคมไทย ให้เป็นสังคมแห่งความรู้และการเรียนรู้ ซึ่งมีเกณฑ์และแนวทางการบริหารจัดการห้องสมุด สู่มาตรฐานสากล ดังนี้ หมวด 1 วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย และยุทธศาสตร์ ห้องสมุดเป็นพลังขับเคลื่อนสังคมไปสู่สังคมแห่งความรู้และการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดย ให้บริการห้องสมุดอย่างทั่วถึง ผู้รับบริการพึงพอใจ จัดกิจกรรม บริการและส่งเสริมการอ่านอย่างเป็น รูปธรรม หมวด 2 การบริหารจัดการทรัพยากร ห้องสมุดมีหน้าที่หลักในการบริหารจัดการทรัพยากร และบริการสารสนเทศตามนโยบาย เป้าหมาย และมีคณะกรรมการ ผู้บริหารห้องสมุด บุคลากรห้องสมุด และผู้รับบริการห้องสมุดหรือชุมชน มี ส่วนร่วมในการบริหารจัดการที่ดี พัฒนาคุณภาพให้เกิดประโยชน์ หมวด 3 งบประมาณ ห้องสมุดควรได้รับงบประมาณจากองค์กรเจ้าสังกัดอย่างพอเพียง และจัดหารายได้อื่นให้ สามารถด าเนินงานตามเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ หมวด 4 บุคลากร ห้องสมุดควรมีบุคลากรที่มีวุฒิ คุณสมบัติ และอัตราก าลังตามความจ าเป็น ค านึงถึง จ านวนผู้รับบริการ ทรัพยากร เทคโนโลยี บริการสารสนเทศ และพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง


6 หมวด 5 ทรัพยากรสารสนเทศ ห้องสมุดควรก าหนดนโยบายและหลักเกณฑ์การจัดหา เพื่อเพิ่มจ านวนทรัพยากร สารสนเทศอย่างมีระบบและต่อเนื่อง สอดคล้องกับนโยบายและเป้าหมายขององค์กรภายใต้บริบทของ ชุมชนและสังคม หลากหลายรูปแบบทั้งสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และสื่อโสตอิเลกทรอนิกส์ และมีการจัดเก็บ อย่างเป็นระบบ หมวด 6 อาคาร สถานที่ อาคาร สถานที่ห้องสมุดควรตั้งอยู่บริเวณศูนย์กลางชุมชน มีการออกแบบอย่างเหมาะสม ตามมาตราฐานทางสถาปัตยกรรมและวิศวกรรม ค านึงถึงความต้องการของผู้ให้บริการและผู้รับบริการทุก กลุ่มเป้าหมายและการขยายพื้นที่ในอนาคต หมวด 7 การบริหาร ห้องสมุดควรมีบริการตามความเหมาะสม หลากหลาย มีระเบียบการให้บริการอย่างเสมอ ภาค รวดเร็วตามความต้องการ โดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จัดบริการและกิจกรรมห้องสมุดเชิงรุก หมวด 8 เครือข่ายและความร่วมมือ ห้องสมุดควรสร้างพันธมิตร เครือข่ายความร่วมมือระหว่างห้องสมุดและการเรียนรู้อื่น เพื่อ สนับสนุนสังคมแห่งความรู้และการเรียนรู้ และการใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกัน หมวด 9 การประเมินคุณภาพ ห้องสมุดควรมีระบบประกันคุณภาพและตัวชี้วัด เพื่อใช้ในการประเมิณคุณภาพและ พัฒนาศักยภาพในการบริหารจัดการห้องสมุด (มาตรฐานห้องสมุด 2549 : ออนไลน์) หัวข้อที่5 สื่อโสตทัศนใ์นห้องสมุด ห้องสมุดควรเป็นศูนย์รวมของทรัพยากร ทั้งสื่อที่เป็นสิ่งพิมพ์ และสิ่งไม่ตีพิมพ์ หรือวัสดุสื่อ โสตทัศน์ การจัดหาทรัพยากรห้องสมุด สิ่งส าคัญที่สุดที่จะต้องค านึงถึงก็คือความหลากหลาย ในเนื้อหาวิชา หรือความรู้และความหลากหลายของบรรดาสื่อสารสนเทศในรูปแบบต่างๆ สื่อสิ่งพิมพ์ แบ่งเป็นต้นฉบับ ตัวเขียนและจดหมายเหตุ หนังสือ สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง และจุลสาร ส่วนสื่อโสตทัศน์ มีอยู่หลายรูปแบบ แบ่งเป็น วัสดุกราฟิ กส์ วัสดุแผนที่ วัสดุบันทึกเสียง ภาพยนตร์ โทรทัศน์ วีดิทัศน์ วัสดุสามมิติและของจริง แฟ้มข้อมูล คอมพิวเตอร์ สื่อที่ใช้ระบบการจัดเก็บข้อมูลด้วยแสง วีดิทัศน์ปฏิสัมพันธ์ วัสดุส่วนย่อ โดยแต่ละรูปแบบก็จะ ให้ตามความต้องการของแต่ละคน ในแต่ละลักษณะและสถานการณ์ (สุพัฒน์ ส่องแสงจันทร์, 2543 : 11, 13-61, 63) หัวข้อที่6 การจัดหมู่หนังสือในห้องสมุด การจัดหมู่หนังสือช่วยให้การจัดเก็บหนังสือที่มีจ านวนมากเป็นระเบียบ เปิดโอกาสให้ผู้ใช้ ค้นหาหนังสือสะดวก รวดเร็ว การแบ่งหนังสือหลักใหญ่ประกอบด้วย ส่วนที่เป็นตาราง แบ่งความรู้ออกเป็น


7 หมวดหมู่ เช่น วิทยาศาสตร์ กฎหมาย และส่วนที่เป็นสัญลักษณ์ซึ่งใช้แทนเนื้อหาในกลุ่มนั้นๆ โดยใช้ สัญลักษณ์สั้นและง่าย โดยระบบการแบ่งหมู่หนังสือที่ส าคัญ เช่น ระบบรัฐสภาอเมริกัน ระบบทศนิยมดิวอี้ ระบบ Bibliographic Classification ระบบโคลอน ระบบ Universal Decimal Classification ซึ่งการจัดหมู่ หนังสือแบบทศนิยมดิวอี้เป็นระบบการแบ่งที่นิยมใช้กันมากเพราะมีเหตุผล ไม่ยุ่งยาก จดจ าง่าย แบ่ง ออกเป็น 9 หมวด โดยใช้เลข 1 ถึง 9 แทนแต่ละหมวด ส าหรับวิทยานุกรม วารสาร และอื่นๆ ที่เป็นเรื่องทั่วๆ ไป ไม่อาจวัดได้กับหมวดใดหมวดหนึ่งโดยเฉพาะ จะจัดไว้ในหมวด 0 ซึ่งแต่ละหมวด จะแบ่งเป็น 9 หมู่ แต่ ละหมู่ทั้ง 9 ยังแบ่งออกเป็นหมู่ย่อย โดยใช้สัญลักษณ์เป็นตัวเลขสามหลัก ถ้ามากกว่าสามหลัก ใช้ทศนิยม คั่นหลังเลขหลักที่สาม ได้แก่ 000 เบ็ดเตล็ด ทั่วไป (ปัจจุบันคือวิทยาการคอมพิวเตอร์ สารสนเทศและงาน ทั่วไป) 100 ปรัชญา (ปัจจุบันคือปรัชญาและจิตวิทยา) 200 ศาสนา 300 สังคมศาสตร์ 400 ภาษาศาสตร์ 500 วิทยาศาสตร์ 600 วิทยาศาสตร์ประยุกต์ (ปัจจุบันคือเทคโนโลยี) 700 ศิลปะและนันทนาการ 800 วรรณคดี (ปัจจุบันคือวรรณกรรม) 900 ประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์ ในแต่ละหมวดทั้ง 10 หมวดนี้ยัง แบ่งย่อยได้อีก เช่น 536 ความร้อน เป็ นหมู่ย่อย ของ 530 ฟิ สิกส์ ที่เป็ นหมวดย่อยของหมวด 500 วิทยาศาสตร์ เป็นต้น แผนการแบ่งระบบทศนิยมนี้ได้มีการปรับปรุงแผนให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่องให้ทันสมัย ตามความรู้ที่แตกสาขามากขึ้น โดยหนังสือจะเรียงในชั้นตามเลขเรียกหนังสือ (MELVIL DEWEY, 2506: 2- 14, ออนไลน์)


8 บทที่3 วิธีด าเนินการ ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ ผู้ศึกษาค้นคว้าได้ด าเนินการตามขั้นตอนดังนี้ 1. การก าหนดประชากรและการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง 2. การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล 4. การจัดกระท าและการวิเคราะห์ข้อมูล การก าหนดประชากรและการเลือกกลุ่มตัวอย่าง ประชากร ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2565 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย จ านวน 493 คน การเลือกกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ได้จากการสุ่มแบบโควตา จากนักเรียน 13 ห้อง ห้องละ 10 คน จ านวน 130 คน การสร้างเครื่องมือทใี่ช้ในการศึกษาค้นคว้า 1. ศึกษาเอกสารและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง ประวัติห้องสมุดโรงเรียนสวนกุหลาบ วิทยาลัย ระเบียบและข้อปฏิบัติในห้องสมุด ปัญหาการใช้ห้องสมุด มาตรฐานห้องสมุด สื่อโสตทัศน์ใน ห้องสมุด การจัดหมู่หนังสือในห้องสมุด 2. สร้างแบบสอบถาม ตามวัตถุประสงค์ดังนี้ ตอนที่ 1 เป็ นข้อค าถามแบบนามบัญญัติเกี่ยวกับข้อมูลส่วนตัวของผู้ตอบ แบบสอบถาม จ านวน 2ข้อ ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามแบบประมาณค่า 5 ระดับ จ านวน 12ข้อ 3. น าไปให้ครูที่ปรึกษา ตรวจสอบความถูกต้องและความครอบคลุมของข้อค าถาม แก้ไขตาม ค าแนะน า 4. ทดลองใช้ โดยให้เพื่อนลองท า


9 การเก ็ บรวบรวมข้อมูล เริ่มเก็บข้อมูลตั้งแต่วันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2565 ถึงวันที่10 มกราคม พ.ศ. 2565 โดยสมาชิก ในกลุ่มแบบเก็บข้อมูลด้วยตนเองคนละ 3-4 ห้อง จ านวนทั้งหมด 130 ฉบับ ได้แบบสอบถามกลับจ านวน 130 ฉบับ แบบสอบถามไม่สมบูรณ์ จ านวน 0 ฉบับ การจัดกระทา ข้อมูลและการวิเคราะหข์ ้อมูล 1. แบบสอบถามตอนที่ 1ซึ่งเป็นแบบสอบถามแบบนามบัญญัติน ามาแจกแจงความถี่ และ หาค่าร้อยละ 2. แบบสอบถามตอนที่ 2 เป็นแบบประมาณค่า 5 ระดับ สอบถามระดับความชอบ น ามาหา ค่าเฉลี่ย ดังนี้ 5 หมายถึง มากที่สุด 4 หมายถึง มาก 3 หมายถึง ปานกลาง 2 หมายถึง ชอบน้อย 1 หมายถึง น้อยที่สุด การแปลผลค่าเฉลี่ยที่ได้ ระดับ แปลผล 4.50 -5.00 มากที่สุด 3.50 -4.49 มาก 2.50 -3.49 ปานกลาง 1.50 -2.49 น้อย 1.00 – 1.49 น้อยที่สุด


10 บทที่4 ผลการวิเคราะหข ์ ้อมลู การน าเสนอข้อมูล ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 1. ห้องประจ าชั้นของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย 2. ความถี่ในการเข้าใช้บริการห้องสมุด ตอนที่ 2 ศึกษาระดับความรู้สึกพึงพอใจที่มีต่อห้องสมุดโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ตอนที่1 ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตาราง 1 ห้องประจ าชั้นของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รายการ จ านวน/คน ร้อยละ ม. 101 10 7.69 ม. 102 10 7.69 ม. 103 10 7.69 ม. 104 10 7.69 ม. 105 10 7.69 ม. 106 10 7.69 ม. 107 10 7.69 ม. 108 10 7.69 ม. 109 10 7.69 ม. 110 10 7.69 ม. 111 10 7.69 ม. 112 10 7.69 ม. 113 10 7.69 รวม 130 100 จากตาราง 1 แสดงการกระจายตัวของผู้ตอบแบบสอบถามซึ่งเป็นนักเรียนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ของโรงเรียนสวนกุหลาบ พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามจ านวน 130 คนมี การกระจายตัวเท่ากันทุกห้อง ห้องละ 10 คน หรือร้อยละ 7.69


11 ตาราง 2 ความถี่ในการเข้าใช้บริการห้องสมุด รายการ จ านวน/คน ร้อยละ ไม่เคยใช้เลย 1 0.77 1-2 วัน/สัปดาห์ 86 66.15 2-3 วัน/สัปดาห์ 15 11.54 3-4 วัน/สัปดาห์ 12 9.23 ทุกวัน 8 6.15 อื่นๆ 8 6.15 รวม 130 100 จากตาราง 2 แสดงความถี่ในการเข้าใช้บริการห้องสมุดของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ล าดับ 1 คือ 1-2 วัน/สัปดาห์ หรือร้อยละ 66.15 ล าดับ 2 คือ 2-3 วัน/สัปดาห์หรือร้อยละ 11.54 และล าดับ 3 คือ 3-4 วัน/ สัปดาห์หรือร้อยละ 9.23 ตอนที่2 ศึกษาระดับความรู้สึกพึงพอใจทมี่ีต่อห้องสมุดโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ตาราง 3ระดับความรู้สึกพึงพอใจที่มีต่อห้องสมุดโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รายการ แปลผล 1. ความสะดวกรวดเร็วในการให้บริการ ยืม-คืน 4.06 มาก 2. ค าแนะน าที่ได้รับจากการใช้บริการห้องสมุด 3.65 มาก 3. ขั้นตอนการให้บริการไม่ซับซ้อน เข้าใจง่าย 3.98 มาก 4. การให้บริการมีความถูกต้อง รวดเร็ว 3.93 มาก 5. การจัดเรียงหนังสือมีความเป็นระเบียบ ตรงตามชั้น 3.88 มาก 6. ความหลากหลายของประเภทหนังสือ 3.89 มาก 7. ระยะเวลาในการยืม-คืนหนังสือ (7 วัน) 3.80 มาก 8. ความสะอาดในห้องสมุด 3.96 มาก 9. มีที่นั่งอ่านหนังสือเพียงพอต่อการใช้บริการ 3.76 มาก 10. มีแสงสว่างเพียงพอต่อการใช้บริการ 3.74 มาก 11. หนังสือ วารสาร มีการซ่อมแซม บ ารุงรักษาให้อยู่ในสภาพดีและพร้อมใช้งาน 3.46 ปานกลาง 12. มีวัสดุตีพิมพ์วัสดุไม่ตีพิมพ์ และโสตทัศนวัสุดที่ทันสมัย และเพียงพอต่อผู้ใช้บริการ 3.46 ปานกลาง รวม 3.80 มาก


12 จากตาราง 3แสดงว่า ระดับความรู้สึกพึงพอใจที่มีต่อห้องสมุดโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย โดยรวมอยู่ในระดับมาก (̅ = 3.80) เมื่อ พิจารณาเป็นรายข้อ ระดับความพึงพอใจที่มีต่อห้องสมุดมากที่สุด คือ ความสะดวกรวดเร็วในการให้บริการ ยืม-คืน (̅ = 4.06) รองลงมาในล าดับที่ 2-3 คือขั้นตอนการให้บริการไม่ซับซ้อน เข้าใจง่าย (̅ = 3.98) และ ความสะอาดในห้องสมุด (̅ = 3.96)อยู่ในระดับมาก


13 บทท ี่ 5 สรุปผลการศึกษาค้นคว้า และข้อเสนอแนะ การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ เกี่ยวกับความรู้สึกที่มีต่อห้องสมุดโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สรุปผลตามล าดับดังนี้ วัตถุประสงค์การศึกษาค้นคว้า 1. เพื่อศึกษาความรู้สึกที่มีต่อห้องสมุดโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ผู้ใช้บริการ 2. เพื่อน าข้อมูลมาประมวลผลและใช้ในการพัฒนาความพึงพอใจต่อการใช้ห้องสมุดต่อไป สมมุติฐานในการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามี) ระดับความพึงพอใจที่มีต่อห้องสมุดโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยจะอยู่ในระดับมาก วิธีด าเนินการศึกษาค้นคว้า 1. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวน กุหลาบวิทยาลัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565จ านวน 13 ห้อง จ านวน 130 คน 2. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ คือแบบส ารวจ การศึกษาความรู้สึกที่มีต่อ ห้องสมุดโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบ วิทยาลัย ตอนที่ 1ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 1. ห้องประจ าชั้นของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบ วิทยาลัย 2. ความถี่ในการเข้าใช้บริการห้องสมุด ตอนที่ 2 ศึกษาระดับความรู้สึกพึงพอใจที่มีต่อห้องสมุดโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย 3. เก็บรวบรวมข้อมูล 4. การวิเคราะห์ข้อมูล


14 สรุปผลการศึกษาค้นคว้า 1. การกระจายตัวของผู้ตอบแบบสอบถามซึ่งเป็นนักเรียนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ของโรงเรียนสวนกุหลาบ พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามจ านวน 130 คนมี การกระจายตัวเท่ากันทุกห้อง ห้องละ 10 คน หรือร้อยละ 7.69 2. ความถี่ในการเข้าใช้บริการห้องสมุดของโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ล าดับ 1 คือ 1-2 วัน/สัปดาห์ หรือร้อยละ 66.15 ล าดับ 2 คือ 2-3 วัน/สัปดาห์หรือร้อยละ 11.54 และล าดับ 3 คือ 3-4 วัน/ สัปดาห์หรือร้อยละ 9.23 3. ระดับความรู้สึกพึงพอใจที่มีต่อห้องสมุดโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย โดยรวมอยู่ในระดับมาก (̅= 3.80) เมื่อพิจารณา เป็นรายข้อ ระดับความพึงพอใจที่มีต่อห้องสมุดมากที่สุด คือ ความสะดวกรวดเร็วในการให้บริการ ยืม-คืน (̅= 4.06) รองลงมาในล าดับที่ 2-3 คือขั้นตอนการให้บริการไม่ซับซ้อน เข้าใจง่าย (̅= 3.98) และความ สะอาดในห้องสมุด (̅= 3.96)อยู่ในระดับมาก ข้อเสนอแนะ 1. ห้องสมุดควรจัดให้มีการซ่อมแซม บ ารุงรักษา หนังสือ วารสาร ให้อยู่ในสภาพดีและ พร้อมใช้งานอยู่ตลอดเวลา 2. ห้องสมุดควรจัดให้มีวัสดุตีพิมพ์ วัสดุไม่ตีพิมพ์ และโสตทัศนวัสุดที่ทันสมัย และ เพียงพอต่อผู้ใช้บริการ


15 บรรณานุกรม • โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย, ประวัติห้องสมุดโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย (ออนไลน์). http://library.sk.ac.th/index.php?option=com_content&task=view&id=148ltemid=42, http://library.sk.ac.th/index.php?option=com_content&task=view&id=538ltemid=78 (9 พฤศจิกายน 2565) • มาตรฐานห้องสมุด (ออนไลน์). https://www.tla.or.th/index.php/th1/standard (9 พฤศจิกายน 2565) • ปัญหามากมายที่รอการแก้ไขจากห้องสมุดแห่งหนึ่ง, 2010 (ออนไลน์). http://www.libraryhub.in.th/2010/01/18/please-wait-for-resolve-many-problem-in-library (9 พฤศจิกายน 2565) • สุพัฒน์ ส่องแสงจันทร์, 2545, สื่อโสตทัศน์ในห้องสมุด. กรุงเทพ : ชมรมเด็ก


16 ภาคผนวก


17 แนบตัวอย่างแบบสอบถาม


18 แบบสอบถาม การศึกษาความรู้สึกทมี่ีต่อห้องสมุดโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ตอนที่1 ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ค าชี้แจง โปรดท าเครื่องหมาย ✓ ลงใน ให้สอดคล้องกับค าถาม และตรงตามความเป็นจริง และโปรดอธิบายหรือใส่รายละเอียดที่เป็นจริงโดยเติม ข้อความในช่องว่างอย่างสมบูรณ์ 1. ผู้ตอบแบบประเมิน นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ห้อง ม. 101 ม. 102 ม. 103 ม. 104 ม. 105 ม. 106 ม. 107 ม. 108 ม. 109 ม. 110 ม. 111 ม. 112 ม. 113 2. ความถี่ในการเข้าใช้บริการห้องสมุด ไม่เคยใช้เลย 1-2 วัน/สัปดาห์ 2-3 วัน/สัปดาห์ 3-4 วัน/สัปดาห์ ทุกวัน อื่นๆ โปรดระบุ............. ตอนที่2 ศึกษาระดับความรู้สึกพึงพอใจทมี่ีต่อห้องสมุดโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ค าชี้แจง โปรดท าเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องว่าง โดยให้สอดคล้องกับค าถาม และตรงตามความเป็นจริงมากที่สุด โดยมีเกณฑ์แบบประมาณค่า 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และ น้อยที่สุด ล าดับ ที่ รายการ มาก ที่สุด มาก ปาน กลาง น้อย น้อย ที่สุด 1. ความสะดวกรวดเร็วในการให้บริการ ยืม-คืน 2. ค าแนะน าที่ได้รับจากการใช้บริการห้องสมุด 3. ขั้นตอนการให้บริการไม่ซับซ้อน เข้าใจง่าย 4. การให้บริการมีความถูกต้อง รวดเร็ว 5. การจัดเรียงหนังสือมีความเป็นระเบียบ ตรงตามชั้น 6. ความหลากหลายของประเภทหนังสือ 7. ระยะเวลาในการยืม-คืนหนังสือ (7 วัน) 8. ความสะอาดในห้องสมุด 9. มีที่นั่งอ่านหนังสือเพียงพอต่อการใช้บริการ 10. มีแสงสว่างเพียงพอต่อการใช้บริการ 11. หนังสือ วารสาร มีการซ่อมแซม บ ารุงรักษาให้อยู่ในสภาพดีและพร้อมใช้งาน 12. มีวัสดุตีพิมพ์ วัสดุไม่ตีพิมพ์ และโสตทัศนวัสุดที่ทันสมัย และเพียงพอต่อผู้ใช้บริการ ตอนที่3 ข้อเสนอแนะ ................................................................................................................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................. -----ขอขอบพระคุณที่ตอบแบบสอบถาม-----


19 ประวัติผู้จัดท า


20 ชื่อ-นามสกุล : ด.ช.ธีร์ ชอบแสงจันทร์ ชื่อเล่น : ธีร์ วัน/เดือน/ปีเกิด : 16 กุมภาพันธ์2553 สถานที่เกิด : กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ปัจจุบัน : 195/77 คอนโดอัลทิทูด สามย่าน สีลม ถ. สี่พระยา แขวงสี่พระยา เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 อีเมล์ : [email protected] ประวัติการศึกษา ระดับประถมศึกษา : โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายประถม ระดับมัธยมศึกษา : โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย


21 ชื่อ-นามสกุล : ด.ช.ชัยวริษฐ์ ชัยพัฒน์ธนโชติ ชื่อเล่น : ชีตาห์ วัน/เดือน/ปีเกิด : 4 กุมภาพันธ์2553 สถานที่เกิด : กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ปัจจุบัน : 61/679 หมู่ 2 ถ.สุวินทวงศ์ แขวงล าผักชี เขตหนองจอก กรุงเทพฯ 10530 อีเมล์ : [email protected] ประวัติการศึกษา ระดับประถมศึกษา : โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ระดับมัธยมศึกษา : โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย


22 ชื่อ-นามสกุล : ด.ช. ฉันท์ชนก ทรงศิลป์ ชื่อเล่น : ภูมิ วัน/เดือน/ปีเกิด : 11 กันยายน 2552 สถานที่เกิด : ชลบุรี ที่อยู่ปัจจุบัน : 515/64 คอนโดศุภาลัยลอฟท์ประชาธิปก-วงเวียนใหญ่ แขวงสมเด็จเจ้าพระยา เขตคลองสาน กรุงเทพฯ10600 อีเมล์ : [email protected] ประวัติการศึกษา: ระดับประถมศึกษา โรงเรียนอนุบาลเมืองใหม่ชลบุรี ระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย


23 ชื่อ-นามสกุล : ด.ช. หิรัณย์สิทธิศกัดิ์ ชื่อเล่น : อู่ข้าว วัน/เดือน/ปีเกิด : 20 พฤษภาคม 2553 สถานที่เกิด : กรุงเทพมหานคร ที่อยู่ปัจจุบัน : 38/316 บ้านสวนแจ้งวัฒนะ แขวงดอนเมือง เขตดอนเมือง กรุงเทพฯ 10210 อีเมล์ : [email protected] ประวัติการศึกษา: ระดับประถมศึกษา โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย


Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2025 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.