MC_ธ.ค. 65pdf Flipbook PDF

MC_ธ.ค. 65pdf

78 downloads 113 Views 2MB Size

Story Transcript

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดกาญจนบุรี ปี 2565

ฉบับที่ 4/2565 เดือน ธันวาคม 2565 กลุ่มงานนโยบายและเศรษฐกิจจังหวัด สำนักงานคลังจังหวัดกาญจนบุ รี www.cgd.go.th/kan

ประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดกาญจนบุรี ไตรมาส 4/2565 คาดว่าจะขยายตัว ร้อยละ 2.4 และแนวโน้ม ปี 2566 คาดว่าขยายตัว ร้อยละ 2.1 – 3.1

4.4

ภาคเกษตรกรรม ชะลอตัว ร้อยละ 3.1

3.5

ภาคอุตสาหกรรม ขยายตัว ร้อยละ 1.8

ภาคบริ การ ขยายตัว ร้อยละ 1.8

อุปทาน 2565 : 2.0 % 2566 : 2.1 %

1.8

การบริ โภคภาคเอกชน ขยายตัว ร้อยละ 1.6 3.7

การลงทุนภาคเอกชน ชะลอตัว ร้อยละ 1.8

17.0

การใช้จ่ายภาครัฐ ชะลอตัว ร้อยละ 1.1

อุปสงค์ 2565 : 2.9 % 2566 : 3.2 %

การค้าชายแดน ขยายตัว ร้อยละ 1.6

รายได้เกษตรกร 2565 : 11.4% 2566 : 12.2%

ด้านเสถียรภาพ ทางเศรษฐกิจ การจ้ างงาน อัตราเงินเฟ้ อ 2565 : 439,823 คน 2565 : 0.9% 2566 : 443,369 คน 2566 : 0.7%

ปัจจัยเสี่ยง รูปถ่ายนี ้ โดย ไม่ทราบผู้เขียน ลิขสิทธิ์ของ CC BY

1. ความเสีย่ งจากภัยโรคระบาด 2. ความเสีย่ งจากความผันผวนของเศรษฐกิจโลก 3. ความเสีย่ งจากภัยธรรมชาติ 4. อัตราแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศ 5. ความเสีย่ งจากราคาพลังงาน 6. ความไม่แน่นอนสถานการณ์ทางการเมือง

รายจ่ ายประจา

รายจ่ายลงทุน

ปัจจัยสนับสนุน 1. เป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วทั้ ง ทางธรรมชาติ ประวั ติ ศ าสตร์ และศิลปะ วัฒนธรรม ประกอบกับอยู่ใกล้กรุงเทพฯ 2. การขยายตัวของการลงทุนภาครัฐและภาคเอกชน 3. โครงการที่ก่อให้เกิดการสะสมและการจ้างงานในอนาคต 4. มาตรการของภาครัฐเพื่อเยียวยาและกระตุ้นเศรษฐกิจ ต่างๆ 5. การขับเคลื่อนจากการเบิกจ่ายงบประมาณภาครัฐ

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดกาญจนบุรี สำนักงานคลังจังหวัดกาญจนบุรี ศาลากลางจังหวัด ถ.แสงชูโต ต.ปากแพรก อ.เมือง จ.กาญจนบุรี 71000 โทร 0 3451 1142 โทรสาร 0 3451 2991 http://www.cgd.go.th/kan

ฉบับที่ 4/2565

วันที่ 31 ธันวาคม 2565

รายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดกาญจนบุรีปี 2565 และแนวโน้มปี 2566 “เศรษฐกิจจังหวัดกาญจนบุรี ปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.4 จากด้านอุปทาน และอุปสงค์” และแนวโน้ม ปี 2566 คาดว่าขยายตัว ร้อยละ 2.1 – 3.1

1. เศรษฐกิจจังหวัดกาญจนบุรีในปี 2565 1.1 ด้านการขยายตัวทางเศรษฐกิจ เศรษฐกิ จ จั งหวั ด กาญจนบุ รี ใ นปี 2565 คาดว่า จะขยายตั ว ร้ อ ยละ 2.4 เพิ่ ม ขึ้ น จากปี ก่ อ น ที่ ห ดตั ว ร้ อ ยละ (-1.0) (โดยมี ช่ ว งคาดการณ์ ที่ ร้ อ ยละ 2.1 – 2.6) เท่ ากั บ ที่ คาดการณ์ ไว้ เ ดิ ม ณ เดื อ นกั น ยายน 2565 ที่ ค าดการณ์ ว่ า จะขยายตั ว ร้ อ ยละ 2.4 โดยคาดว่ า จะได้ รั บ แรงสนั บ สนุ น จาก ด้านอุปทาน และอุปสงค์ของจังหวัดเป็นสำคัญ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ ด้านอุปทาน คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.0 พลิกกลับมาขยายตัวจากปีก่อนที่หดตัวร้อยละ (-2.3) (เท่ ากับ ที่ คาดการณ์ ไว้เดิม ณ เดือนกัน ยายน 2565 ที่ค าดการณ์ ว่ าจะขยายตัว ร้อ ยละ 2.0) สะท้ อนจาก ภาคอุตสาหกรรม ขยายตัวจากทุนจดทะเบียนอุตสาหกรรมในจังหวัด ที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากเศรษฐกิจฟื้นตัว โดยเฉพาะการท่องเที่ยว รวมถึงการส่งออก หนุนความเชื่อมั่นในการลงทุนกลับคืนมา ส่งผลให้ผู้ประกอบการ แพรก อ.เมือง จ.กาญจนบุรี 71000 โทร 0 3451 1142 โทรสาร 0 3451 6896 ลงทุนเพิ่มขึ้น และจำนวนโรงงานอุ ต สาหกรรมที เ ่ พิ ่ ม ขึ น ้ เนื อ ่ งจากการขยายตั วของภาคอุตสาหกรรมและบริการ http://klang.cgd.go.th/kri ประกอบกับประเทศจีนเริ่มผ่อนคลายมาตรการควบคุม โควิด-19 ส่งผลให้ผู้ประกอบการมีความเชื่อมั่นในการ ลงทุน เพิ่มขึ้น และภาคบริการ ที่ขยายตัว จากรายได้จากการให้ เช่าที่พักของโรงแรมที่ขยายตัว เนื่องจาก ในช่วงปลายปีจังหวัดกาญจนบุรีมีการจัดงาน กิจกรรมต่าง ๆ มากมาย เช่น งานสัปดาห์สะพานข้ามแม่น้ำแคว และงานกาชาดจังหวัดกาญจนบุรี ประจำปี พ.ศ. 2565 งานเดิน - วิ่ง งานดนตรี เป็นต้น รวมทั้ง ภาคเอกชน ที่ มี ก ารตกแต่ ง สถานที่ เพื่ อ ดึ ง ดู ด นั ก ท่ อ งเที่ ย ว ประกอบกั บ สภาพอากาศที่ เย็ น สบายในช่ ว งฤดู ห นาว ทำให้นักท่องเที่ยวเดินทางมาท่องเที่ยวจำนวนมาก รายได้จากการให้บริการสนามกอล์ฟ ที่เพิ่มขึ้น เนื่องจาก การเป็ น เจ้ าภาพจั ด การแข่ งขั น กอล์ ฟ อาชี พ ชิ งถ้ ว ยพระราชทานประจำปี 2565 “Royal’s Cup 2022” เมื่อต้นปีที่ผ่านมา ซึ่งเป็นทัวร์นาเมนต์ที่มีชื่อเสียงระดับโลกถือเป็นงานกอล์ฟระดับโลกเป็นครั้งแรกของจัง หวัด กาญจนบุ รี ส่งผลให้สนามกอล์ฟจังหวัดกาญจนบุรีเป็นที่รู้จักแพร่หลาย ทำให้มีนักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามา ใช้บริการสนามกอล์ฟเพิ่มขึ้น และยอดขายกิจการขายส่งขายปลีกเพิ่มขึ้น ตามความเชื่อมั่นในการใช้จ่ายและ กำลังซื้อของผู้บริโภคที่ทยอยฟื้นตัว โดยเฉพาะกลุ่มนักท่องเที่ยวที่ขยายตัวดีขึ้น และการขายสินค้าผ่านช่องทาง

ห น้ า | 2 non – store มีแนวโน้มเติบโตดีขึ้นต่อเนื่องตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้บริโภค ในขณะที่ภาคเกษตรกรรม ชะลอตัวจากปริมาณผลผลิต ของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ยางพาราและสับปะรดชะลอตัวลง จากต้นทุนการผลิ ต ที่เพิ่มขึ้น เช่น ปุ๋ย และอาหารสัตว์ เป็นต้น ทำให้เกษตรกรชะลอการผลิตลง ด้านอุปสงค์ คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.9 (สูงกว่าที่คาดการณ์ไว้เดิม ณ เดือนกันยายน 2565 ที่ ค าดการณ์ ว่ า จะขยายตั ว ร้ อ ยละ 2.8) ขยายตั ว ต่ อเนื่ องจากปี ก่ อนที่ ขยายตั วร้ อยละ 0.8 สะท้ อ นจาก การบริโภคภาคเอกชน ขยายตัวจากภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บได้เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของรายได้ภาคเกษตร และ การขยายตัวของนักท่องเที่ยว รวมถึงมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐ และผู้ประกอบการเร่งปรับตัวเพื่อ ขยายฐานรายได้ และกลุ่มลูกค้าในระยะยาวทำให้มีการซื้อสินค้าเพิ่มขึ้น และจำนวนรถยนต์จดทะเบียนใหม่ ขยายตัวเนื่องจากภาครัฐมีการส่งเสริมยานยนต์ไฟฟ้าเพื่อสนับสนุนให้ราคาของรถยนต์แบบพลังงานไฟฟ้า จาก แบตเตอรี่ (BEV) ลดลงใกล้เคียงกับ ราคารถยนต์ ประเภทเครื่องยนต์ ประกอบกับน้ำมันมีราคาสู งขึ้น ทำให้ ผู้ บ ริ โภคมี ค วามต้ อ งการซื้ อ รถยนต์ แ บบพลั งงานไฟฟ้ าจากแบตเตอรี (BEV) เพิ่ ม ขึ้ น อี กทั้ ง บริษั ทรถยนต์ จัดโปรโมชันเพื่อส่งเสริมการขายรถยนต์ที่น่าสนใจ รวมถึงผลิตรถยนต์รุ่นใหม่ ๆ ที่ตอบโจทย์ผู้บริโภคมากขึ้น ทำให้มี ยอดจำหน่ ายรถยนต์เพิ่มขึ้น และมู ลค่ าการค้าชายแดนโดยเฉลี่ ย (ไม่รวมก๊ าซธรรมชาติ) ขยายตัวเนื่องจาก คาดการณ์ว่าสถานการณ์ทางการเมืองฝั่งสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมน่าจะดีขึ้น ส่งผลให้มูลค่าการนำเข้า ส่งออก เพิ่มขึ้น ในขณะที่การลงทุ นภาคเอกชน ชะลอตัวจากสินเชื่อสำหรับการลงทุน เนื่องจากธนาคารมีการปรับ อัตราดอกเบี้ยเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ผู้ประกอบการจึงชะลอการกู้ยืมเงิน และการใช้จ่ายของภาครัฐ ชะลอตัวจาก รายจ่ายประจำและรายจ่ายลงทุนของรัฐบาลกลางและภูมิภาค เนื่องจากเป็นช่วงต้นปีงบประมาณ หน่วยงานได้รับ จัดสรรงบประมาณล่าช้าทำให้การเบิกจ่ายล่าช้า และรายจ่ายลงทุนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ ชะลอตัวลง ยังไม่ครบกำหนดงวดงานที่ต้องเบิกจ่าย

1.2 ด้านเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ด้ า นเสถียรภาพทางเศรษฐกิ จ ภายในจั งหวั ด อัต ราเงิน เฟ้ อของจังหวัด กาญจนบุ รี คาดว่า ในปี 2565 อยู่ ที่ ร้ อ ยละ 0.9 (สู ง กว่ า ที่ ค าดการณ์ ไ ว้ เ ดิ ม ณ เดื อ นกั น ยายน 2565 ที่ ค าดว่ า จะอยู่ ที่ ร้อยละ 0.8) ชะลอตัว จากปี ก่อนที่อยู่ ที่ ร้อยละ 2.5 ตามราคาสิน ค้าในกลุ่ มอุ ต สาหกรรม โดยเฉพาะเหล็ ก ผลิตภัณฑ์เหล็กที่มีแนวโน้ มชะลอตัวตามเศรษฐกิ จโลก รวมถึง สินค้าเกษตรบางรายการ อาทิ ปาล์มน้ำมัน ราคามีแนวโน้มลดลงตามราคาในตลาดโลก รวมทั้ง มาตรการช่วยลดค่าครองชีพของรัฐบาล ส่งผลให้อัตรา เงินเฟ้อชะลอตัวลง สำหรับการจ้างงาน ในปี 2565 คาดว่าการจ้างงานเพิ่มขึ้น จำนวน 3,256 คน (ต่ำกว่า ที่คาดการณ์ไว้เดิม ณ เดือนกันยายน 2565 ที่คาดการณ์ว่าจะเพิ่มขึ้นจำนวน 3,318 คน) สูงกว่าปีก่อนที่มี การจ้ า งงานลดลงที่ -12,802 คน เนื่ อ งจากการท่ อ งเที่ ย วขยายตั ว มี นั ก ท่ อ งเที่ ย วเข้ า มาเที่ ย ว ในจังหวัดมากขึ้น ผู้ประกอบการลงทุนเพิ่มขึ้น ซึ่งส่งผลให้ มีการจ้างงานเพิ่มขึ้น เพื่อให้เพียงพอต่อการขยายตัว ของภาคบริก าร และภาคอุ ตสาหกรรม โดยคาดว่า ณ สิ้ น ปี 2565 จะมีการจ้ างงานในจั งหวัด กาญจนบุ รี ทั้งหมด 439,823 คน

ห น้ า | 3

2.เศรษฐกิจจังหวัดกาญจนบุรีในปี 2566 2.1 ด้านการขยายตัวทางเศรษฐกิจ เศรษฐกิจจังหวัดกาญจนบุรี ในปี 2566 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.6 (โดยมีช่วงคาดการณ์ ที่ ร้อยละ 2.1 – 3.1) โดยคาดว่าจะได้รับแรงสนับสนุนจากด้านอุปสงค์และอุปทาน ด้ า นอุ ป ทาน คาดว่ า จะขยายตั ว จากปี ก่ อ น โดยสะท้ อ นจาก ภาคบริ การ คาดว่ าจะขยายตั ว ร้อยละ 2.2 (โดยมีช่วงคาดการณ์อยู่ที่ร้อยละ 1.7 – 2.7) จากรายได้จากการให้เช่าที่พักของโรงแรม และรายได้ จากการให้บริการสนามกอล์ฟเพิ่มขึ้น เนื่องจากจังหวัดมีการจัดการแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 48 และกี ฬา คนพิการแห่งชาติ ครั้งที่ 38 ทำให้มี ผู้เดินทางเข้ามาในจังหวัดกาญจนบุรีเพิ่มขึ้น และยอดขายกิจการขายส่ง ขายปลีกที่เพิ่มขึ้น ตามการขยายตัวของภาคบริการส่งผลให้มีการซื้อสินค้าเพิ่มขึ้น ในขณะที่ภาคอุตสาหกรรม คาดว่าจะชะลอตัวร้อยละ 1.7 (โดยมีช่วงคาดการณ์อยู่ที่ร้ อยละ 1.2 – 2.2) จากจำนวนโรงงานอุตสาหกรรม ที่ชะลอตัวลง เนื่องจากพ.ร.บ. โรงงาน มีการเปลี่ยนแปลง สำหรับโรงงานที่มีแรงม้าไม่เกิน 50 แรงม้า หรือ คนงานไม่ เกิ น 50 คน ไม่ เข้ าข่ า ยเป็ น โรงงานอุ ต สาหกรรม ส่ ว นภาคเกษตรกรรม คาดว่ า ขยายตั ว คงที่ ร้อยละ 3.1 (โดยมีช่วงคาดการณ์อยู่ทรี่ ้อยละ 2.6 – 3.6) จากปริมาณผลผลิตของหน่อไม้ฝรั่งเป็นสำคัญ ด้านอุปสงค์ คาดว่าจะขยายตัวจากปี ก่อน โดยสะท้อนจาก การบริโภคภาคเอกชน คาดว่า ขยายตัวร้อยละ 2.0 (โดยมีช่วงคาดการณ์อยู่ที่ร้อยละ 1.5 – 2.5) จากการเพิ่มขึ้นของภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บได้ เนื่องจากเศรษฐกิจ ฟื้นตัว ผู้บริโภคมีกำลังซื้อมากขึ้น จำนวนรถยนต์จดทะเบียนใหม่ เนื่องจากผู้ผลิตรถยนต์ จัดโปรโมชั่นทีน่ ่าสนใจ และผลิตรถยนต์ที่มีคณ ุ สมบัติที่น่าสนใจ เช่น ระบบไฟฟ้า 100% เป็นต้น ทำให้ผู้บริโภค ตัดสินใจซื้อได้ง่ายขึ้น และจำนวนรถจักรยานยนต์ที่จดทะเบียนใหม่ เนื่องจากการขยายตัวของธุรกิจขนส่ ง รวมถึงเดลิ เวอรี ทำให้ มีการซื้อรถจั กรยานยนต์เพื่ อประกอบอาชีพเดลิ เวอรีเพิ่มขึ้น การลงทุน ภาคเอกชน คาดว่าขยายตัวร้อยละ 2.0 (โดยมีช่วงคาดการณ์ อยู่ที่ร้อยละ 1.5 – 2.5) จากการเพิ่มขึ้นของจำนวนรถยนต์ เพื่ อ การพาณิ ช ย์ ตามการขยายตั ว ของธุ ร กิ จ บริก าร และสิ น เชื่ อ สำหรับ การลงทุ น จากการขยายตั ว ของ ภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ ส่งผลให้ผู้ประกอบการเชื่อมั่นในการกู้ยืมเงินเพื่อลงทุนเพิ่มขึ้น การใช้จ่าย ภาครั ฐ คาดว่ า ขยายตั ว ร้ อ ยละ 1.6 (โดยมี ช่ ว งคาดการณ์ อ ยู่ ที่ ร้ อ ยละ 1.1 – 2.1) จากการเพิ่ ม ขึ้ น ของ รายจ่ายประจำและรายจ่ายลงทุน ของรัฐบาลกลางและภูมิภ าค และรายจ่ายประจำและรายจ่ายลงทุนของ องค์กรปกครองส่ ว นท้ องถิ่น เนื่ องจากในปี 2565 มี การเตรียมความพร้อ ม รวมถึงการอบรมสร้างความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบั ติ งานด้านบั ญชี และการเบิกจ่ายให้ กับ เจ้าหน้าที่ภ าครัฐ ทำให้มีความพร้อมในการ ดำเนินงานตามมาตรการทางการคลังเพิ่มเติม ประกอบกับมีการติดตามเร่งรัดอย่างต่อเนื่อง และมูลค่าการค้า ชายแดนโดยเฉลี่ย (ไม่รวมก๊าซธรรมชาติ) คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.9 (โดยมีช่วงคาดการณ์อยู่ที่ร้อยละ 1.4 – 2.4) เนื่องจากคาดการณ์ว่าสถานการณ์การเมืองในสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาน่าจะคลี่คลาย ทำให้ สามารถนำเข้า – ส่งออกได้เพิ่มขึ้น

ห น้ า | 4 2.2 ด้านเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ด้านเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ คาดว่าอัตราเงินเฟ้อ จะชะลอตัวร้อยละ 0.9 (โดยมีช่วงคาดการณ์ อยู่ที่ร้อยละ 0.4 – 1.4) ตามอัตราเงินเฟ้อหมวดพลังงานเป็นสำคัญ สำหรับการจ้างงาน ในปี 2566 คาดว่า การจ้ างงานเพิ่ ม ขึ้ น จำนวน 3,546 คน (โดยมี ช่ ว งคาดการณ์ อ ยู่ ที่ ร้ อ ยละ 2,857 – 4,234) โดยคาดว่ า ณ ปี 2566 จะมีการจ้างงานในจังหวัดกาญจนบุรี ทั้งหมด 443,369 คน

ห น้ า | 5 ปัจจัยสนับสนุนทางเศรษฐกิจ ปี 2565 และแนวโน้ม ปี 2566 ของจังหวัดกาญจนบุรี 1) กาญจนบุรีเป็นแหล่งท่องเที่ยวทั้งทางธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ และศิลปะ วัฒนธรรม ประกอบกับ อยู่ใกล้กรุงเทพฯ จึงเป็นปัจจัยบวกของการท่องเทีย่ ว การค้าส่งค้าปลีก และการโรงแรม / ที่พัก 2) การขยายตัว ของการลงทุ น ภาครัฐ และภาคเอกชน ซึ่ งภาครัฐมี การลงทุ น ในโครงสร้างพื้ นฐาน และการคมนาคมเพื่อเชื่อมต่อกับเขตเศรษฐกิจพิเศษ 3) โครงการที่ก่อให้เกิดการสะสมทุนและการจ้างงานในอนาคต 4) มาตรการของรัฐเพื่อเยียวยาและกระตุ้นเศรษฐกิจต่าง ๆ 5) การขับเคลื่อนจากการเบิกจ่ายงบประมาณภาครัฐ

ปัจจัยเสีย่ งทางเศรษฐกิจ ปี 2565 และแนวโน้ม ปี 2566 ของจังหวัดกาญจนบุรี 1) ความเสี่ยงจากภัยโรคระบาด เนื่องจากขณะนี้เริ่มมีการกลับมาแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 ส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจไทย 2) ความเสี่ยงจากความผันผวนของเศรษฐกิจโลก ยังคงมีความไม่แน่นอน ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อ ความเชื่อมั่นของนักลงทุนทั้งไทยและต่างประเทศ 3) ความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติ ที่ไม่สามารถควบคุมได้ เช่น ภัยแล้ง น้ำท่วม ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อ ภาคเกษตร และต่อเนื่องไปยังธุรกิจนอกภาคเกษตรทัง้ การผลิตในภาคอุตสาหกรรม 4) อัต ราแลกเปลี่ ยนเงิน ตราต่ างประเทศ ยั งคงมีความผั น ผวน ซึ่งส่ งผลต่อ ผู้ ส่ งออกสิ น ค้าและ บริการ รวมทั้งผลกระทบในด้านอื่น ๆ ด้วย 5) ความเสี่ยงจากราคาพลังงาน ที่ไม่สามารถควบคุมได้ของราคาน้ำมันที่มีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้น ส่งผลกระทบต่อต้น ทุนการดำเนิน ธุรกิจ ซึ่งราคาน้ ำมันมีผ ลต่อราคาก๊าซธรรมชาติและจะส่งผลต่อเนื่องถึง ค่าไฟฟ้าในอนาคต 6) ความไม่แน่นอนของสถานการณ์ทางการเมือง ส่งผลต่อความเชื่อมั่นของนักลงทุน

ห น้ า | 6

ตารางสรุปสมมติฐานและผลการประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดกาญจนบุรี ปี 2565 (ณ เดือนธันวาคม 2565) เครื่องชี้วัดเศรษฐกิจ

2562

2563

2564E

2565F ( ณ ธันวาคม 2565) ช่วง เฉลี่ย

2566F ( ณ ธันวาคม 2565) ช่วง เฉลี่ย

สมมติฐานหลัก สมมติฐานภายนอก 1) ปริมาณผลผลิตข้าว (ร้อยละต่อปี)

-15.4

-1.0

-16.8

-2.0

-2.3

-1.8

-1.5

-2.0

-1.0

2) ปริมาณผลผลิตอ้อย (ร้อยละต่อปี)

-8.7

-9.6

-23.2

-1.5

-1.8

-1.3

-1.0

-1.5

-0.5

3) ปริมาณผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (ร้อยละต่อปี)

-32.7

8.7

11.5

4.0

3.8

4.3

3.0

2.5

3.5

4) ปริมาณผลผลิตมันสาปะหลัง (ร้อยละต่อปี)

10.1

1.6

-19.0

1.3

1.0

1.5

0.8

0.3

1.3

5) ปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคอุตสาหกรรม (ร้อยละต่อปี)

-1.1

7.1

3.5

3.5

3.3

3.8

4.0

3.5

4.5

6) จานวนทุนจดทะเบียนภาคอุตสาหกรรม (ร้อยละต่อปี)

1.1

-0.1

-1.6

0.5

0.3

0.8

-0.3

-0.8

0.3

7) จานวนโรงงานภาคอุตสาหกรรม (ร้อยละต่อปี)

-5.5

-36.2

-6.0

1.0

0.8

1.3

0.4

-0.1

0.9

8) รายได้จากการให้เช่าทีพ่ ักของโรงแรม (ร้อยละต่อปี)

2.6

-34.4

-56.1

1.8

1.5

2.0

2.3

1.8

2.8

9) รายได้จากการให้บริการสนามกอล์ฟ (ร้อยละต่อปี)

1.2

-37.8

-34.9

2.5

2.3

2.8

2.8

2.3

3.3

10) ยอดขายกิจการขายส่งขายปลีก (ร้อยละต่อปี)

2.2

-14.0

-12.7

2.0

1.8

2.3

2.8

2.3

3.3

11) ราคาทีเ่ กษตรกรขายได้เฉลี่ย : ข้าว (บาทต่อตัน)

7,645.8 8,065.4 7,901.3 8,019.8 8,000.0 8,039.5 8,150.1 8,110.0 8,190.2

12) ราคาทีเ่ กษตรกรขายได้เฉลี่ย : อ้อย (บาทต่อตัน) 13) ราคาทีเ่ กษตรกรขายได้เฉลี่ย : ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (บาทต่อกก.) 14) ราคาทีเ่ กษตรกรขายได้เฉลี่ย : มันสาปะหลัง (บาทต่อกก.)

730.0 7.1 1.9

862.5 6.4 1.7

ราคาทีเ่ กษตรกรขายได้เฉลี่ย : มันสาปะหลัง (ร้อยละต่อปี)

-17.6

-10.6

18.4

19.8

19.5

20.0

20.0

19.5

20.5

15) ราคาทีเ่ กษตรกรขายได้เฉลี่ย : ไก่เนือ้ (บาทต่อกก.)

37.3

37.1

36.1

36.7

36.6

36.8

37.4

37.2

37.6

ราคาทีเ่ กษตรกรขายได้เฉลี่ย : ไก่เนือ้ (ร้อยละต่อปี)

-3.0

-0.4

-2.9

1.8

1.5

2.0

2.0

1.5

2.5

1,024.6

1,002.6

989.1

1,002.7

1,000.3

1,005.2

-3.1

-2.1

-1.3

1.4

1.1

1.6

16) ภาษีมูลค่าเพิ่มทีจ่ ัดเก็บได้ (ล้านบาท) 17) ภาษีมูลค่าเพิ่มทีจ่ ัดเก็บได้ (ร้อยละต่อปี)

935.0 1,014.5 1,012.1 1,016.8 1,103.2 1,098.2 1,108.3 7.4 8.3 8.3 8.3 9.4 9.3 9.4 2.1 2.5 2.5 2.5 3.0 3.0 3.0

1,021.5 1,016.5 1,026.6 1.9

1.4

2.4

18) ปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคอุตสาหกรรม : (กิโลวัตต์)

1,190,685.6 1,275,224.1 1,319,935.6 1,366,133.3 1,362,833.5 1,369,433.2 1,420,778.7 1,413,948.0 1,427,609.3

19) ทุนจดทะเบียนอุตสาหกรรมในจังหวัด : (ล้านบาท)

1,007,698.4 1,006,576.7

20) จานวนโรงงานภาคอุตสาหกรรม (โรง)

990,434.7

995,386.9

992,910.8

997,863.0 992,898.4 987,921.5 997,875.4

19,126 12,196 11,468 11,583 11,554 11,611 11,633 11,575 11,691

21) รายได้จากการให้เช่าทีพ่ ักของโรงแรม (ล้านบาท)

2.9

1.9

0.8

0.8

0.8

0.8

0.9

0.9

0.9

22) รายได้จากการให้บริการสนามกอล์ฟ (ล้านบาท)

3.9

2.4

1.6

1.6

1.6

1.6

1.7

1.6

1.7

23) ยอดขายกิจการขายส่งขายปลีก (ล้านบาท) 24) จานวนรถยนต์จดทะเบียนใหม่ (คัน/ปี) จานวนรถยนต์จดทะเบียนใหม่ (ร้อยละต่อปี) 25) จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (คัน/ปี) จานวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ (ร้อยละต่อปี) 26) พื้นทีท่ ไี่ ด้รับอนุญาตให้ก่อสร้างรวม (ตารางเมตร) พื้นทีท่ ไี่ ด้รับอนุญาตให้ก่อสร้างรวม (ร้อยละต่อปี) 27) ปริมาณสินเชื่อเพื่อการลงทุน (ล้านบาท) ปริมาณสินเชื่อเพื่อการลงทุน (ร้อยละต่อปี)

31,941.5 27,456.6 23,962.1 24,441.3 24,381.4 24,501.2 25,113.4 24,991.2 25,235.6 4,719

3,225

3,183

3,231

3,223

3,239

3,284

3,268

3,300

4.3

-31.7

-1.3

1.5

1.3

1.8

1.7

1.2

2.2

10,840 -7.3

9,909 11,790 13,559 13,529 13,588 15,660 15,592 15,728 -8.6

19.0

15.0

14.8

15.3

15.5

15.0

16.0

564,806 637,997 555,485 544,375 542,987 545,764 533,488 530,766 536,210 8.5

13.0

-12.9

-2.0

-2.3

-1.8

-2.0

-2.5

-1.5

224,976 228,632 237,100 241,249 240,656 241,842 246,074 244,868 247,280 2.8

1.6

3.7

1.8

1.5

2.0

2.0

1.5

2.5

ห น้ า | 7 ตารางสรุปสมมติฐานและผลการประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดกาญจนบุรีปี 2565 (ณ เดือนธันวาคม 2565) (ต่อ)

เครื่องชี้วัดเศรษฐกิจ

E

2562 2563 2564

2565F ( ณ ธันวาคม 2565) ช่วง เฉลี่ย

2565F ( ณ ธันวาคม 2565) ช่วง เฉลี่ย

สมมติฐานด้านนโยบาย 28) รายจ่ายประจาของรัฐบาลกลางและภูมิภาค (ล้านบาท) รายจ่ายประจาของรัฐบาลกลางและภูมิภาค (ร้อยละต่อปี) 29) รายจ่ายลงทุนของรัฐบาลกลางและภูมิภาค (ล้านบาท) รายจ่ายลงทุนของรัฐบาลกลางและภูมิภาค (ร้อยละต่อปี) 30) มูลค่าการค้าชายแดนโดยเฉลี่ย(ไม่รวมก๊าซธรรมชาติ) (ล้านบาท)

3,535 3,883 4,108 4,149 4,139 4,160 4,212 4,191 4,232 -2.0

9.8

5.8

1.0

0.8

1.3

1.5

1.0

2.0

4,242 4,297 5,550 5,619 5,606 5,633 5,718 5,690 5,746 5.6

1.3

29.2

1.3

1.0

1.5

1.8

1.3

2.3

1,374.1 1,296.2 1,186.9 1,206.4 1,203.5 1,209.4 1,229.4 1,223.3 1,235.4 15.4

-5.7

-8.4

1.7

1.4

1.9

1.9

1.4

2.4

1) อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (ร้อยละต่อปี)

-1.6

-5.4

-1.0

2.4

2.1

2.6

2.6

2.1

3.1

2) อัตราการขยายตัวของภาคเกษตรกรรม (ร้อยละต่อปี)

-7.6

-2.6

4.4

3.1

2.9

3.4

3.1

2.6

3.6

3) อัตราการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม (ร้อยละต่อปี)

-1.9

-9.6

-0.6

1.8

1.6

2.1

1.7

1.2

2.2

4) อัตราการขยายตัวของภาคบริการ (ร้อยละต่อปี)

2.3

-10.0

-8.5

1.8

1.5

2.0

2.2

1.7

2.7

5) อัตราการขยายตัวของการบริโภคภาคเอกชน (ร้อยละต่อปี)

-1.5

-9.1

-1.1

1.6

1.3

1.8

2.0

1.5

2.5

6) อัตราการขยายตัวของการลงทุนภาคเอกชน (ร้อยละต่อปี)

2.9

1.5

3.7

1.8

1.5

2.0

2.0

1.5

2.5

7) อัตราการขยายตัวของการใช้จ่ายภาครัฐ (ร้อยละต่อปี)

2.1

4.3

17.0

1.1

0.9

1.4

1.6

1.1

2.1

15.4

-5.7

-8.4

1.6

1.4

1.9

1.9

1.4

2.4

9) อัตราการขยายตัวของรายได้เกษตรกร (ร้อยละต่อปี)

-13.6

1.2

10.2

11.4

10.8

11.9

12.2

11.1

13.2

10) อัตราเงินเฟ้อ (ร้อยละต่อปี)

-0.2

-1.8

2.5

0.9

0.7

1.2

0.7

0.2

1.2

มูลค่าการค้าชายแดนโดยเฉลี่ย(ไม่รวมก๊าซธรรมชาติ) (ร้อยละต่อปี)

ผลการประมาณการ

8) อัตราการขยายตัวของมูลค่าการค้าชายแดนโดยเฉลี่ย (ไม่รวมก๊าซธรรมชาติ) (ร้อยละต่อปี)

11) จานวนผู้มีงานทา (คน) อัตราการเปลี่ยนแปลง (คน)

462,427 449,368 436,567 439,823 439,481 440,164 443,369 442,681 444,057 -860 -13,059 -12,802 3,256 2,914 3,598 3,546 2,858 4,234

E

= Estimate : การประมาณการ F = Forecast : การพยากรณ์

ทีม่ า : กลุ่มงานนโยบายและเศรษฐกิจจังหวัด สำนักงานคลังจังหวัดกาญจนบุรี ปรับปรุง : 30 พฤศจิกายน 2565

ห น้ า | 8

สมมติฐานหลักในการประมาณการเศรษฐกิจ 1. ด้ า นอุ ป ทาน คาดว่ า ในปี 2565 จะขยายตั ว ร้ อ ยละ 2.0 (เท่ า กั บ ที่ ค าดการณ์ ไ ว้ เ ดิ ม ณ เดือนกันยายน 2565 ที่คาดการณ์ว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.0) พลิกกลับมาขยายตัวจากปีก่อนที่หดตัว ร้อยละ(-2.3) จากการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1.1 ทุน จดทะเบียนอุต สาหกรรมในจั งหวัด คาดว่าในปี 2565 ขยายตัว ร้อยละ 0.5 (ต่ำกว่า ที่คาดการณ์ไว้เดิม ณ เดือนกันยายน 2565 ที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.0) พลิกกลับมาขยายตัวจากปีก่อน ที่หดตัวร้อยละ (-1.6) เนื่องจากการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ ประกอบกับประเทศจีน เริ่มผ่อนคลายมาตรการควบคุมโควิด-19 ส่งผลให้ผู้ประกอบการมีความเชื่อมั่นในการลงทุนเพิ่มขึ้น ภาพที่ 1 ประมาณการอัตราการขยายตัวของทุนจดทะเบียนอุตสาหกรรมในจังหวัด 14.7

1,020,000.00

1,007,698.4 996,448.9

1,000,000.00

16.0

1,006,576.7 990,434.7

1,000,339.1

995,386.9

14.0

992,898.4

12.0

980,000.00

10.0

965,820.5

8.0

960,000.00 940,000.00

6.0

3.8

930,040.3

3.2

4.0

1.1

920,000.00

1.0

-0.1

2.0

0.5

-0.3

-1.6

900,000.00

0.0 -2.0

880,000.00

-4.0

2559

2560

2561

2562

2563

2564E

ปี 2565E (ณ ก.ย. 65)

ปี 2565F (ณ ธ.ค. 65)

ปี 2566F (ณ ธ.ค. 65)

1.2 จำนวนโรงงานอุตสาหกรรม คาดว่าในปี 2565 ขยายตัวร้อยละ 1.0 (ต่ำกว่าที่คาดการณ์ ไว้เดิม ณ เดือนกันยายน 2565 ที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.0) พลิกกลับมาขยายตัวจากปีกอ่ นทีห่ ดตัวร้อยละ (-6.0) เนื่องจากเศรษฐกิจฟื้นตัวโดยเฉพาะการท่ องเที่ยว รวมถึงการส่งออก ประกอบกับมาตรการช่วยเหลือ ต่างๆ ของภาครัฐ ทำให้ผู้ประกอบการมั่นใจในการลงทุนมากขึ้น ภาพที่ 2 ประมาณการอัตราการขยายตัวของจำนวนโรงงานอุตสาหกรรม 25,000 20,000

10.0

19,315

0.2

19,769

20,247

2.4

2.4

19,126 -5.5

15,000

2.0

1.0

0.4

-6.0 12,196

0.0 -5.0

11,697

-10.0

11,583

11,633

11,468

10,000

5.0

-15.0 -20.0 -25.0

5,000

-30.0

-36.2

-35.0

-

-40.0

2559

2560

2561

2562

2563

2564E

ปี 2565E (ณ ก.ย. 65)

ปี 2565F (ณ ธ.ค. 65)

ปี 2566F (ณ ธ.ค. 65)

ห น้ า | 9 1.3 รายได้ จ ากการให้ เช่า ที่ พั กของโรงแรม คาดว่าในปี 2565 ขยายตัว ร้อยละ 1.8 (ต่ำกว่า ที่คาดการณ์ไว้เดิม ณ เดือนกันยายน 2565 ที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.8) พลิกกลับมาขยายตัวจากปีก่อน ที่ห ดตัวร้ อยละ (-56.1) เนื่ องจากในช่ว งปลายปี จังหวัดกาญจบุ รีมีการจัดงาน กิจกรรมต่าง ๆ มากมาย เช่น งานสัปดาห์สะพานข้ามแม่น้ำแควและงานกาชาดจังหวัดกาญจนบุรี ประจำปี พ.ศ. 2565 งานเดิน - วิ่ง งานดนตรี รวมทั้ ง ภาคเอกชนที่ มี การตกแต่งสถานที่เพื่ อดึงดู ดนั กท่ องเที่ ยว ประกอบกั บสภาพอากาศที่เย็ นสบายในช่วง ฤดูหนาว ทำให้นักท่องเที่ยวเดินทางมาท่องเที่ยวจำนวนมาก ภาพที่ 3 ประมาณการอัตราการขยายตัวของปริมาณรายได้จากการให้เช่าที่พักของโรงแรม 3.0

2.6 2.5

2.8 2.5

4.3

2.8

9.1 2.6

-1.7

2.0

20.0

2.9 1.8

2.3

1.9

10.0 0.0 -10.0

1.5

-20.0

0.8

1.0

-34.4

0.5

0.8

0.8

0.9

-56.1

-30.0 -40.0 -50.0

0.0

-60.0

2559

2560

2561

2562

2563

2564E

ปี 2565E (ณ ก.ย. 65)

ปี 2565F (ณ ธ.ค. 65)

ปี 2566F (ณ ธ.ค. 65)

1.4 รายได้ จ ากการให้ บ ริ ก ารสนามกอล์ ฟ คาดว่ าในปี 2565 ขยายตั ว ร้ อ ยละ 2.5 (สู งกว่ า ที่คาดการณ์ไว้เดิม ณ เดือนกันยายน 2565 ที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.3) พลิกกลับมาขยายตัวจากปีก่อน ที่หดตัวร้อยละ (-34.9) เนื่องจากการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันกอล์ฟ อาชีพ ชิงถ้วยพระราชทานประจำปี 2565 “Royal’s Cup 2022” เมื่อต้นปีที่ผ่านมา ซึ่งเป็นทัวร์นาเมนต์ที่มีชื่อเสียงระดับโลกถือเป็นงานกอล์ฟ ระดับโลกเป็นครั้งแรกของจังหวัดกาญจนบุรี ทำให้สนามกอล์ฟจังหวัดกาญจนบุรีเป็นที่รู้จักแพร่หลาย ทำให้มี นักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาใช้บริการสนามกอล์ฟเพิ่มขึ้น ภาพที่ 4 ประมาณการอัตราการขยายตัวของปริมาณรายได้จากการให้บริการสนามกอล์ฟ 4.3

5.00

40.0

4.50

30.0

34.1

4.00 3.50

3.8

3.9 2.3

3.00

2.50

20.0

3.2 0.9

-11.8

1.2

2.5

2.8

0.0

2.4

-10.0

2.00

1.6

1.50

1.6

1.6

1.7

0.50

-40.0

-34.9

0.00

2559

2560

2561

2562

2563

-20.0 -30.0

-37.8

1.00

10.0

2564E

-50.0

ปี 2565E (ณ ก.ย. 65)

ปี 2565F (ณ ธ.ค. 65)

ปี 2566F (ณ ธ.ค. 65)

ห น้ า | 10 1.5 ยอดขายกิ จ การขายส่ ง ขายปลี ก คาดว่ า ในปี 2565 ขยายตั ว ร้ อ ยละ 2.0 (สู ง กว่ า ที่คาดการณ์ไว้เดิม ณ เดือนกันยายน 2565 ที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.8)) พลิกกลับมาขยายตัวจากปี ก่อน ที่ห ดตัวร้อยละ (-12.7) ตามความเชื่อมั่นในการใช้จ่ายและกำลังซื้อของผู้ บริโภคที่ทยอยฟื้นตัว โดยเฉพาะ กลุ่มนักท่องเที่ยวที่ขยายตัวดีขึ้น และการขายสินค้าผ่านช่องทาง non – store มีแนวโน้มเติบโตดีขึ้นต่อเนื่อง ตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้บริโภค ภาพที่ 5 ประมาณการอัตราการขยายตัวของยอดขายกิจการขายส่งขายปลีก 40,000.00

35,064.5

35,000.00

-2.3

30,000.00 25,000.00

31,941.5 35,083.9

31,239.9

0.1

2.2

1.8

2.0

2.8

24,441.3

25,113.4

5.0 0.0

27,456.6 23,962.1

24,381.4

-5.0

20,000.00

-12.7

15,000.00

-10.0

-11.0

10,000.00

-15.0

-14.0

5,000.00 0.00

-20.0

2559

2560

2561

2562

2563

2564E

ปี 2565E (ณ ก.ย. 65)

ปี 2565F (ณ ธ.ค. 65)

ปี 2566F (ณ ธ.ค. 65)

2. ด้ า น อุ ป สงค์ คาดว่ า ใน 2565 ขยายตั ว ร้ อ ยละ 2.9 (สู ง กว่ า ที่ ค าดการณ์ ไว้ เ ดิ ม ณ เดื อ นกั น ยายน 2565 ที่ ค าดว่ า จะขยายตั ว ร้ อ ยละ 2.8) ขยายตั ว ต่ อ เนื่ อ งจากปี ก่ อ นที่ ข ยายตั ว ร้อยละ 0.8 โดยเป็นผลมาจากการขยายตัวของการบริโภคภาคเอกชน และมูลค่าการค้าชายแดนโดยเฉลี่ย (ไม่รวมก๊าซธรรมชาติ) โดยมีรายละเอียดดังนี้ 2.1 ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บได้ คาดว่าในปี 2565 ขยายตัวร้อยละ 1.4 (สูงกว่าที่คาดการณ์ไว้เดิม ณ เดื อ นกั น ยายน 2565 ที่ ค าดว่ า จะขยายตั ว ร้ อ ยละ 1.3) พลิ ก กลั บ มาขยายตั ว จากปี ก่ อ นที่ ห ดตั ว ร้อยละ (-1.3) เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของรายได้ภาคเกษตร และการขยายตัวของนักท่องเที่ยว รวมถึงมาตรการ กระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐ และผู้ประกอบการเร่งปรับตัวเพื่อขยายฐานรายได้ และกลุ่มลูกค้าในระยะยาว ทำ ให้มกี ารซื้อสินค้าเพิ่มขึ้น ภาพที่ 6 ประมาณการอัตราการขยายตัวของภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บได้ ล้านบาท 1080.00

1060.00

1,051.4

ร้อยละต่อ ปี 8.0

ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บได้

7.3 1,057.0

6.0

1,047.6

1,021.5

1040.00

1,024.6

4.0

1020.00

1000.00

-0.4

1,002.6

0.9

980.00

-2.1

1,001.5

989.1 -1.3

1.3

1,002.7 1.4

2.0

1.9

-2.0

-3.1

960.00

0.0

940.00

-4.0

2559

2560

2561

2562

2563

2564E

ปี 2565E (ณ ก.ย. 65)

ปี 2565F (ณ ธ.ค. 65)

ปี 2566F (ณ ธ.ค. 65)

ห น้ า | 11 2.2 จำนวนรถยนต์ จ ดทะเบี ยนใหม่ คาดว่ าในปี 2565 ขยายตั ว ร้อ ยละ 1.5 (สู งกว่าที่ ค าดการณ์ ไว้เดิม ณ เดือนกัน ยายน 2565 ที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.0) พลิกกลับมาขยายตัวจากปีก่อนที่ ห ดตัว ร้อยละ (-1.3) เนื่ องจากภาครัฐมีการส่งเสริมยานยนต์ไฟฟ้าเพื่อสนับ สนุนให้ราคาของรถยนต์แบบพลังงาน ไฟฟ้าจากแบตเตอรี (BEV) ลดลงใกล้เคียงกับราคารถยนต์ประเภทเครื่องยนต์ ประกอบกับน้ำมันมีราคาสูงขึ้น ทำให้ผู้บริโภคมีความต้องการซื้อรถยนต์แบบพลังงานไฟฟ้าจากแบตเตอรี (BEV) เพิ่มขึ้น อีกทั้ง บริษัทรถยนต์ จัดโปรโมชันเพื่อส่งเสริมการขายรถยนต์ที่ น่าสนใจ รวมถึงผลิต รถยนต์รุ่นใหม่ๆ ที่ตอบโจทย์ผู้ บริโภคมากขึ้น ทำให้มียอดจำหน่ายรถยนต์เพิ่มขึ้น ภาพที่ 7 ประมาณการอัตราการขยายตัวของจำนวนรถยนต์จดทะเบียนใหม่ 5,000

4,525

4,500

3,843 14.2

4,000 3,500

3,763

30.0

4,719

20.0

20.2 3,225

3,000

4.3

2,500

-1.3

-2.1

2,000

3,183

3,215 1.0

3,231

3,284

1.5

1.7

10.0 0.0 -10.0

1,500

-20.0

1,000

-30.0

500

-31.7

-

2559

2560

2561

2562

2563

-40.0

2564E

ปี 2565E (ณ ก.ย. 65)

ปี 2565F (ณ ธ.ค. 65)

ปี 2566F (ณ ธ.ค. 65)

2.3 มูลค่าการค้าชายแดนโดยเฉลี่ย (ไม่รวมก๊าซธรรมชาติ) คาดว่าในปี 2565 ขยายตัวร้อยละ 1.6 (สูงกว่าที่คาดการณ์ ไว้เดิม ณ เดือนกันยายน 2565 ที่คาดว่าจะขยายตัว ร้อยละ 1.5) พลิกกลับมาขยายตัว จากปีก่อนที่หดตัวร้อยละ (-8.4) เนื่องจากคาดการณ์ว่าสถานการณ์ทางการเมืองฝั่งสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา น่าจะดีขึ้น ส่งผลให้มูลค่าการนำเข้า ส่งออกเพิ่มขึ้น ภาพที่ 8 ประมาณการอัตราการขยายตัวของมูลค่าการค้าชายแดนโดยเฉลี่ย (ไม่รวมก๊าซธรรมชาติ) 1,400.0 1,200.0 1,000.0

ร้อยละต่อปี

มูลค่าการค้าชายแดนโดยเฉลี่ยไม่ (รวมก๊าซธรรมชาติ)

ล้านบาท

1,600.0

1,374.1 13.4 1,073.1

1,191.2 1,069.0

1,296.2

15.4

1,186.9

1,206.4

1,229.4

15.0 10.0

11.4 1.5

-0.4

800.0

1,204.7

20.0

1.7

1.9

5.0 0.0

600.0

-5.7

-5.0

-8.4

400.0

-10.0

200.0 -

-15.0

2559

2560

2561

2562

2563

2564 E

ปี 2565E (ณ ก.ย. 65)

ปี 2565F (ณ ธ.ค. 65)

ปี 2566F (ณ ธ.ค. 65)

ห น้ า | 12 ด้านการใช้จ่ายงบประมาณ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กำหนดเป้าหมายการเบิกจ่ายงบประมาณ รายจ่ า ยภาพรวมไม่ น้ อ ยกว่ าร้ อ ยละ 93.0 รายจ่ ายประจำไม่ น้ อ ยกว่ าร้ อ ยละ 98.0 และรายจ่ า ยลงทุ น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75.0 ของวงเงินงบประมาณทีไ่ ด้รับจัดสรรโดยมีเป้าหมายการเบิกจ่ายรายไตรมาส ดังนี้ เป้าหมายการเบิกจ่าย ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4

ภาพรวม (ร้อยละ) 32 52 75 93

งบประจำ (ร้อยละ) 35 55 80 98

งบลงทุน (ร้อยละ) 19 39 57 75

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดกาญจนบุรีมีผลการเบิกจ่ายสะสมตั้งแต่ต้นปีงบประมาณจนถึง ณ 30 พฤศจิกายน 2565 รายจ่ายรั ฐบาลกลางและภูมิภ าค สามารถเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวมได้ทั้งสิ้น 813.30 ล้านบาท เพิ่มขึ้น ร้อยละ 1.97 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน คิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายที่ร้อยละ 16.94 ของวงเงินงบประมาณในภาพรวม โดยรายจ่ายประจำสามารถเบิกจ่ายได้ 725.03 ล้านบาท เพิ่มขึ้น ร้ อ ยละ 10.31 เมื่ อ เที ย บกั บ ช่ ว งเดี ย วกั น ปี ก่ อ น คิ ด เป็ น อั ต ราการเบิ ก จ่ า ยที่ ร้ อ ยละ 48.92 ของวงเงิ น งบประมาณรายจ่ายประจำ เนื่องจากส่วนราชการมีการเร่งรัดการเบิกจ่ายตามแผนที่วางไว้ สำหรับรายจ่ายลงทุน สามารถเบิ กจ่ายได้ 88.27 ล้านบาท ลดลง ร้อยละ 1.36 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน ของปี ก่อนคิดเป็นอัตรา การเบิกจ่ายที่ร้อยละ 2.66 ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุน เนื่องจากยังไม่ถึงงวดงานที่จะต้องตรวจรับจึง ยังไม่มกี ารเบิกจ่าย ตารางผลการเบิกจ่ายงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 หน่วย : ล้านบาท

รายการ

งบประมาณ ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ ผลคาดการณ์ คาดการณ์ เป้าหมาย สูงกว่า ทีไ่ ด้รับ สะสมตั้งแต่ต้นปี การ เบิกจ่าย ร้อยละ การ /ต่ากว่า จัดสรร ถึง 30 พ.ย. 65 เบิกจ่าย ปี งปม. 2566 การเบิกจ่าย เบิกจ่าย เป้าหมาย

1.งบประมาณประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 รายจ่ายประจา

1,482.18

725.03

48.92

500.00

33.73

34

รายจ่ายลงทุน

3,318.53

88.27

2.66

430.00

12.96

13

รายจ่ายภาพรวม

4,800.71

813.30

16.94

930.00

19.37

30

1,239.87

232.18

18.73

0

0

0.00

1,239.87

232.18

18.73

2.งบประมาณเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี ปี 2565 ก่อนปี 2565 รวมงบเหลื่อมปี

ห น้ า | 13 กราฟผลการเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เทียบกับเป้าหมายการเบิกจ่าย สะสมตั้งแต่ต้นปีงบประมาณจนถึง 30 พฤศจิกายน 2565 100.00

90.00 80.00 70.00 60.00

50.00 40.00 30.00 20.00

13.87

10.00

16.94

0.00

หมายเหตุ : ข้อมูล ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 ทีม่ า : รายงาน MIS จากระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS)

กราฟผลการเบิกจ่ายงบประมาณงบลงทุน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เทียบกับเป้าหมายการเบิกจ่าย สะสมตั้งแต่ต้นปีงบประมาณจนถึง 30 พฤศจิกายน 2565 100.00

ร้อยละ

90.00 80.00

75.00

57.00

70.00 60.00

39.00

50.00 40.00 30.00

19.00

20.00 10.00 -

0.29

2.66

หมายเหตุ : ข้อมูล ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 ที่มา : รายงาน MIS จากระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS)

ห น้ า | 14

3. ด้ านรายได้ เกษตรกร ในปี 2565 คาดว่ ารายได้ เ กษตรกรขยายตั ว ร้อ ยละ 11.4 (ต่ ำกว่ า ที่คาดการณ์ไว้เดิม ณ เดือนกันยายน 2565 ทีค่ าดว่าจะขยายตัวร้อยละ 11.7) ขยายตัวต่อเนื่องจากปีก่อน ทีข่ ยายตัวร้อยละ 10.2 สะท้อนจากปริมาณผลผลิตและราคาของมันสำปะหลัง และไก่เนื้อทีเ่ พิ่มขึ้น 3.1 ราคามั น สำปะหลั ง คาดว่ าในปี 2565 ขยายตั ว ร้ อ ยละ 19.8 (สู งกว่ า ที่ ค าดการณ์ ไว้ เดิ ม ณ เดือนกันยายน 2565 ที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 17.5) ขยายตัวต่อเนื่องจากปีก่อนที่ขยายตัวร้อยละ 18.4 เนื่องจากปริมาณน้ำฝนเพียงพอเกษตรกรใช้ท่อนพันธุ์คุณภาพดี หัวมันมีขนาดใหญ่ขี้น มีเชื้อแป้งสูงขึ้น ทำให้ผล ผลิตต่อไร่สูง ประกอบกับความต้องการผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังของตลาดยังมีต่อเนื่องจึงทำให้มีราคาสูงขึ้น ภาพที่ 9 ประมาณการอัตราการขยายตัวของราคา : มันสำปะหลัง ร้อยละต่อปี

ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ย : มันสาปะหลัง

บาท กก. 3.50

80.0

3.0

3.00 2.50

2.00

60.0

56.4 16.7

1.50

2.5

2.5

2.4

2.3

1.9

40.0

2.1

1.7

19.8

19.5

18.4

20.0

20.0

1.5

0.0 1.00

-10.6

0.50

-20.0

-17.6

-34.5

0.00

-40.0

2559

2560

2561

2562

2563

2564 E

ปี 2565E (ณ ก.ย. 65)

ปี 2565F (ณ ธ.ค. 65)

ปี 2566F (ณ ธ.ค. 65)

3.2 ราค าไก่ เ นื้ อ คาดว่ า ใน ปี 2565 ขยายตั ว ร้ อ ยละ 1.8 (สู ง กว่ า ที่ คาดการณ์ ไว้ เ ดิ ม ณ เดือนกันยายน 2565 ที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.3) พลิกกลับมาขยายตัวจากปีก่อนทีห่ ดตัวร้อยละ (-2.9) เนื่องจากการฟื้นตัวของธุรกิจท่องเที่ยว โรงแรม และร้านอาหาร ทำให้ตลาดมีความต้องการไก่เนื้อเพิ่มขึ้นส่งผล ให้ราคาไก่เนื้อสูงขึ้นตามกลไกตลาด ภาพที่ 10 ประมาณการอัตราการขยายตัวของราคา : ไก่เนื้อ :

42.00 41.00

40.7

40.5

40.00

-0.4

39.00

37.3 -2.8

-3.0

36.00 35.00

34.00

2.0

1.8

-0.4

38.5

38.00 37.00

3.0

2.0

1.0

1.3

0.0

37.1 36.5

36.1

-1.0

37.4

36.7

-2.0 -3.0

-2.9

-4.0

-5.1

-5.0

33.00

-6.0

2564 E

E (

F (

F (

ห น้ า | 15

4. ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ 4.1 อั ต ราเงิ น เฟ้ อ ของจั ง หวั ด กาญจนบุ รี คาดว่ า ในปี 2565 อั ต ราเงิ น เฟ้ อ อยู่ ที่ ร้ อ ยละ 0.9 (สู งกว่ า ที่ ค าดการณ์ ไว้ เดิ ม ณ เดื อ นกั น ยายน 2565 ที่ ค าดการณ์ อ ยู่ ที่ ร้อ ยละ 0.8) ชะลอตั ว จากปี ก่ อ น ที่ร้อยละ 2.5 จากกมาตรการระตุ้น เศรษฐกิจของภาครัฐ ที่มีต่อเนื่อง รวมทั้ ง ราคาน้ำมันเชื้ อเพลิ งที่สู งขึ้น ไม่มากนัก รวมทั้ง มาตรการช่วยลดค่าครองชีพของรัฐบาล ส่งผลให้อัตราเงินเฟ้อชะลอตัวลง ภาพที่ 11 ประมาณการอัตราเงินเฟ้อ ร้อยละต่อปี

อัตราเงินเฟ้อ

3.0

2.5

2.5 2.0 1.5 1.0

0.5

1.0

0.9

1.1

0.0 -0.5

2559

2560

2561

-0.2 2562

2563

2564 E

-1.0

0.8

0.9

0.7

ปี 2565E (ณ ก.ย. 65)

ปี 2565F (ณ ธ.ค. 65)

ปี 2566F (ณ ธ.ค. 65)

-1.8

-1.5 -2.0 -2.5

4.2 การจ้ า งงาน ในปี 2565 คาดว่าการจ้ างงานเพิ่ มขึ้ น จำนวน 3,256 คน (ต่ ำกว่าที่ ค าดการณ์ ไว้เดิม ณ เดือนกันยายน 2565 ที่คาดการณ์ว่าจะเพิ่มขึ้นจำนวน 3,318 คน) สูงกว่าปี ก่อนที่มีการจ้างงานลดลง ที่ -12,802 คน เนื่องจากการท่องเที่ยวขยายตัว มีนักท่องเที่ยวเข้ามาเที่ยวในจังหวัดมากขึ้น ผู้ประกอบการลงทุน เพิ่ มขึ้น ซึ่ งส่ งผลให้ มีการจ้างงานเพิ่มขึ้น เพื่ อให้ เพี ยงพอต่อการขยายตัวของภาคบริการ และภาคอุตสาหกรรม โดยคาดว่า ณ สิ้นปี 2565 จะมีการจ้างงานในจังหวัดกาญจนบุรีทั้งหมด 439,823 คน ภาพที่ 12 ประมาณการการจ้างงาน อัตราการเปลี่ยนแปลง (คน) 40,000

30,000

20,000

10,000

5,684

6,707

2559

(20,000)

3,256

ปี 2565E (ณ ก.ย. 65)

ปี 2565F (ณ ธ.ค. 65)

3,546

-860

0

(10,000)

3,253

2560 -8,985

2561

2562

2563

2564 E

-13,059 -12,802

ปี 2566F (ณ ธ.ค. 65)

ห น้ า | 16

ตารางสรุปภาพรวมเศรษฐกิจและแนวโน้มของจังหวัดกาญจนบุรี หน่ วย

E

F

2565 ( ณ ธันวาคม 2565) Min Consensus Max

2563

2564

102,857 -5.1 831,639 0.2 123,679 -5.2 63,367 -5.4 -2.6 -9.6 -10.0 -9.1 1.5 4.3 -5.7 1.2 863 8,065

105,940 3.0 833,832 0.3 127,052 2.7 62,728 -1.0 4.4 -0.6 -8.5 -1.1 3.7 17.0 -8.4 10.2 935 7,901

108,870 2.8 834,834 0.1 130,409 2.6 64,066 2.1 2.9 1.6 1.5 1.3 1.5 0.9 1.4 10.8 1,012 8,000

-1.8 -1.4 449,368 -13,059

2.5 4.0 436,567 -12,802

0.7 0.9 0.6 0.9 439,481 439,823 2,914 3,256

F

2566 ( ณ ธันวาคม 2565) Min Consensus Max

การขยายตัวทางเศรษฐกิ จ ล้านบาท %yoy คน ประชากรในจังหวัด %yoy บาท/คน/ปี ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดต่อหัว %yoy ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ณ ราคาคงที่ ล้านบาท (ปี ฐาน 2545) %yoy ดัชนีปริมาณผลผลิตภาคเกษตร (API) %yoy ดัชนีปริมาณผลผลิตภาคอุตสาหกรรม (IPI) %yoy ดัชนีปริมาณผลผลิตภาคบริการ (SI) %yoy ดัชนีการบริโภคภาคเอกชน (Cp) %yoy ดัชนีการลงทุนภาคเอกชน (Ip) %yoy ดัชนีการใช้จ่ายภาครัฐบาล (G) %yoy ดัชนีมลู ค่าการค้าชายแดนโดยเฉลีย่ (ไม่รวมก๊าซธรรมชาติ) (XM) %yoy ดัชนีรายได้เกษตรกร (Farm Income) %yoy ราคาอ้อย บาท/ตัน ราคาข้าว บาท/ตัน เสถียรภาพทางเศรษฐกิ จ อัตราเงินเฟ้ อ (Inflation rate) %p.a. ระดับราคาเฉลีย่ ของ GPP (GPP Deflator) %yoy คน จานวนผูม้ งี านทา %yoy ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ณ ราคาประจาปี

109,399 3.3 834,917 0.1 131,030 3.1 64,223 2.4 3.1 1.8 1.8 1.6 1.8 1.1 1.6 11.4 1,014 8,020

109,929 3.8 835,000 0.1 131,651 3.6 64,380 2.6 3.4 2.1 2.0 1.8 2.0 1.4 1.9 11.9 1,017 8,040

111,910 2.3 835,600 0.1 133,927 2.2 65,556 2.1 2.6 1.2 1.7 1.5 1.5 1.1 1.4 11.1 1,098 8,110

1.2 1.1 440,164 3,598

0.2 0.7 0.2 0.7 442,681 443,369 2,858 3,546

ทีม่ า: กลุ่มงานบริหารการคลังและเศรษฐกิจ สำนักงานคลังจังหวัดกาญจนบุรี ปรับปรุงล่าสุด : 30 พฤศจิกายน 2565 หมายเหตุ: E คือ การประมาณการ F คือ การพยากรณ์

113,004 3.3 835,683 0.1 135,223 3.2 65,877 2.6 3.1 1.7 2.2 2.0 2.0 1.6 1.9 12.2 1,103 8,150

114,098 4.3 835,767 0.1 136,519 4.2 66,199 3.1 3.6 2.2 2.7 2.5 2.5 2.1 2.4 13.2 1,108 8,190 1.2 1.2 444,057 4,234

ห น้ า | 17 คำนิยามตัวแปรและการคำนวณในแบบจำลองเศรษฐกิจจังหวัดกาญจนบุรี GPP constant price GPP current prices GPPS GPPD API IPI SI Cp Index Ip Index G Index GPP Deflator CPI PPI Inflation rate Farm Income Index Population Employment %yoy Base year Min Consensus Max

ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ณ ราคาปีฐาน ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ณ ราคาปีปัจจุบนั ดัชนีผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ณ ราคาปีฐาน ด้านอุปทาน ดัชนีผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ณ ราคาปีฐาน ด้านอุปสงค์ ดัชนีปริมาณผลผลิตภาคเกษตร ดัชนีปริมาณผลผลิตภาคอุตสาหกรรม ดัชนีปริมาณผลผลิตภาคบริการ ดัชนีการบริโภคภาคเอกชน ดัชนีการลงทุนภาคเอกชน ดัชนีการใช้จ่ายภาครัฐบาล ระดับราคาเฉลี่ยของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดกาญจนบุรี ดัชนีราคาผู้บริโภคจังหวัดกาญจนบุรี ดัชนีราคาผูผ้ ลิตระดับประเทศ อัตราเงินเฟ้อจังหวัดกาญจนบุรี ดัชนีรายได้เกษตรกร จำนวนประชากรของจังหวัดกาญจนบุรี จำนวนผู้มีงานทำของจังหวัดกาญจนบุรี อัตราการเปลี่ยนแปลงเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ปีฐาน (2548 = 100) สถานการณ์ทคี่ าดว่าเลวร้ายทีส่ ดุ สถานการณ์ที่คาดว่าจะเป็นได้มากที่สุด สถานการณ์ที่คาดว่าดีทสี่ ดุ

การคำนวณดัชนี ดัชนีชี้วัดเศรษฐกิจด้านอุปทาน (Supply Side หรือ Production Side: GPPS) การคำนวณ GPPS ประกอบด้วยดัชนีชวี้ ัดเศรษฐกิจ 3 ดัชนีได้แก่ (1) ดัชนีผลผลิตภาคบริการจังหวัดกาญจนบุรี โดยให้น้ำหนัก 0.50939 (2) ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรมจังหวัดกาญจนบุรี โดยให้น้ำหนัก 0.26926 (3) ดัชนีผลผลิตภาคเกษตรกรรมจังหวัดกาญจนบุรี โดยให้น้ำหนัก 0.22136 การกำหนดน้ ำ หนั ก ของแต่ ล ะองค์ ป ระกอบของดั ช นี โดยหาสั ด ส่ ว นจากมู ล ค่ า เพิ่ ม ราคาปี ปั จ จุ บั น ของเครื่ อ งชี้ เศรษฐกิจภาคเกษตรกรรม (สาขาเกษตร + สาขาประมง) เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคอุตสาหกรรม (สาขาเหมืองแร่ สาขาอุตสาหกรรม และ สาขาไฟฟ้า) และเครื่องชี้เศรษฐกิจภาคบริการ (11 สาขา ตั้งแต่สาขาก่อสร้าง ถึง สาขาลูกจ้างในครัวเรือน) จากข้อมูล GPP ของ สศช. เทียบกับ GPP รวมราคาปีปจั จุบันของ สศช. จัดทำขึน้ เพื่อใช้ติดตามภาวะการผลิตภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการของจังหวัดกาญจนบุรีเป็นรายเดือน ซึ่ง จะล่าช้าประมาณ 1 เดือนครึ่ง (45 วัน) โดยการคำนวณ API (Q), IPI (Q), SI (Q) ได้กำหนดปีฐาน 2548 ซึ่งคำนวณจากเครื่องชี้ผลผลิต ภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริก ารของจังหวัดกาญจนบุ รี รายเดือ น อนุ กรมเวลาย้อนหลั งไปตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 เป็นต้นมา

ห น้ า | 18 ดัชนีปริมาณผลผลิตภาคเกษตร (Agricultural Production Index: API) • การคำนวณ API (Q) ประกอบไปด้วยเครื่องชี้ผลผลิตภาคเกษตรกรรมของจังหวัดรายเดือนทั้งสิ้น 10 ตัว คือ - ปริมาณผลผลิต : ข้าว โดยให้นำ้ หนัก 0.22136 - ปริมาณผลผลิต : ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ โดยให้น้ำหนัก 0.03113 - ปริมาณผลผลิต : มันสำปะหลัง โดยให้น้ำหนัก 0.21746 - ปริมาณผลผลิต : อ้อย โดยให้น้ำหนัก 0.21154 - ปริมาณผลผลิต : ยางพารา โดยให้น้ำหนัก 0.06995 - ปริมาณผลผลิต : สับปะรด โดยให้น้ำหนัก 0.02360 - ปริมาณผลผลิต : หน่อไม้ฝรั่ง โดยให้น้ำหนัก 0.04265 - จำนวนอาชญาบัตร : โคเนื้อ โดยให้น้ำหนัก 0.05819 - จำนวนอาชญาบัตร : สุกร โดยให้น้ำหนัก 0.03520 - จำนวนอาชญาบัตร : ไก่เนื้อ โดยให้นำ้ หนัก 0.08891 • โดยตัวชี้วัดทุกตัวได้ปรับฤดูกาล (Seasonal Adjusted : SA) แล้ว การกำหนดน้ำหนักขององค์ประกอบในการจัดทำ API (Q) ให้น้ำหนักของเครื่องชี้ข้างต้น ได้จากสัดส่วนมูลค่าเพิ่มของเครื่องชี้ ณ ราคาปีปัจจุบนั กับ GPP แบบ Bottom up ณ ราคาปีปัจจุบันภาคเกษตรกรรม (สาขาเกษตร และสาขาประมง) ดัชนีปริมาณผลผลิตภาคอุตสาหกรรม(Industrial Production Index: IPI) • การคำนวณ IPI ประกอบไปด้วยเครื่องชี้ผลผลิตภาคอุตสาหกรรมของจังหวัดรายเดือนทั้งสิ้น 3 ตัว คือ - ปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคอุตสาหกรรม โดยให้น้ำหนัก 0.34479 - ทุนจดทะเบียนอุตสาหกรรมในจังหวัด โดยให้น้ำหนัก 0.34488 - จำนวนโรงงานอุตสาหกรรม โดยให้น้ำหนัก 0.31032 การกำหนดน้ำหนักขององค์ประกอบในการจัดทำ IPI ให้น้ำหนักของเครื่องชี้จากหาความสัมพันธ์ Correlation ระหว่าง เครื่องชี้ เศรษฐกิจผลผลิตอุตสาหกรรมรายปี กับ GPP (สศช.) ณ ราคาคงที่ภาคอุตสาหกรรม (สาขาเหมืองแร่ สาขาอุตสาหกรรม และสาขาไฟฟ้า) ดัชนีปริมาณผลผลิตภาคบริการ(Service Index: SI) • การคำนวณ SI ประกอบไปด้วยเครื่องชี้ผลผลิตภาคบริการของจังหวัดทัง้ สิ้น 5 ตัว คือ - รายได้จากการให้เช่าทีพ่ ักของโรงแรม โดยให้น้ำหนัก 0.04726 - รายได้จากการให้บริการสนามกอล์ฟ โดยให้น้ำหนัก 0.04726 - ยอดค้าส่งค้าปลีก โดยให้น้ำหนัก 0.47892 - สาขาบริหารราชการแผ่นดินฯ โดยให้น้ำหนัก 0.30928 - สาขาการบริการด้านสุขภาพฯ โดยให้น้ำหนัก 0.11729 การกำหนดน้ำหนักขององค์ประกอบในการจัดทำ SI ให้น้ำหนักของเครื่องชี้ โดยเครื่องชี้ภาคบริการด้านขายส่งขายปลีก บริหาร ราชการ และโรงแรมได้จากสัดส่วนของ GPP สาขาโรงแรม สาขาบริหารราชการฯ สาขาโรงแรมและภัตตาคาร ณ ราคาปีปัจจุบัน 2556 (สศช.) เทียบ GPP รวมภาคบริการ ณ ราคาปีปัจจุบัน (สศช.) หารด้วยจำนวนเครื่องชี้ในด้านนัน้ ๆ

ห น้ า | 19 ดัชนีชี้วัดเศรษฐกิจด้านอุปสงค์ (Demand Side :GPPD) • การคำนวณ GPPD ประกอบไปดัชนีชี้วดั เศรษฐกิจ 4 (1) ดัชนีการบริโภคภาคเอกชน (2) ดัชนีการลงทุนภาคเอกชน (3) ดัชนีการใช้จ่ายภาครัฐ (4) ดัชนีการค้าชายแดน

ดัชนี ได้แก่ โดยให้น้ำหนัก โดยให้น้ำหนัก โดยให้น้ำหนัก โดยให้น้ำหนัก

0.37636 0.38753 0.10603 0.13007

การกำหนดน้ำหนักของแต่ละองค์ประกอบของดัชนี โดยหาค่าเฉลี่ยในแต่ละดัชนี เทียบกับ GPP constant price โดยเฉลี่ยเพื่อ หาสัดส่วน และคำนวณหาน้ำหนักจากสัดส่วนของแต่ละดัชนีเทียบผลรวมสัดส่วนดัชนีรวมทั้งหมด จัดทำขึน้ เพื่อใช้ติดตามภาวะการใช้จ่ายเพื่อการบริโภคภาคเอกชน การลงทุน การใช้จ่ายภาครัฐ และการค้าชายแดนของจังหวัด กาญจนบุรีเป็นรายเดือน ซึ่งจะล่าช้าประมาณ 1 เดือนครึ่ง (45 วัน) โดยการคำนวณ Cp Index, Ip Index, G Index และ X-M Index ได้ ก ำหนดปี ฐ าน 2548 ซึ่ งคำนวณจากเครื่ อ งชี้ ภ าวะการใช้ จ่ า ยเพื่ อ การบริ โ ภคภาคเอกชน การลงทุ น การใช้ จ่ า ยภาครั ฐ และ การค้าชายแดนของจังหวัดกาญจนบุรีเป็นรายเดือน อนุกรมเวลาย้อนหลังไปตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 เป็นต้นมา ดัชนีการบริโภคภาคเอกชน (Private Consumption Index: Cp Index) • การคำนวณ Cp ประกอบไปด้วยเครื่องชีว้ ัดการบริโภคภาคเอกชนของจังหวัดทั้งสิ้น 3 ตัว คือ - ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บได้ โดยให้น้ำหนัก 0.79142 - จำนวนรถยนต์นั่งส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ โดยให้น้ำหนัก 0.17220 - จำนวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ โดยให้นำ้ หนัก 0.03638 การกำหนดน้ำหนักขององค์ประกอบในการจัดทำ Cp Index ให้น้ำหนักของเครื่องชี้ จากการหาค่าเฉลี่ยของเครื่องชี้ในการจัดทำ Cp Index และแปลงเป็นมูลค่าหน่วยเดียวกัน (บาท) แล้วหาน้ำหนักจากสัดส่วนมูลค่าเครื่องชี้ฯ เทียบกับมูลค่ารวมของเครื่องชี้ทั้งหมด ดัชนีการลงทุนภาคเอกชน (Private Investment Index: Ip) • การคำนวณ Ip ประกอบไปด้วยเครื่องชีว้ ัดการลงทุนภาคเอกชนของจังหวัดทั้งสิ้น 3 ตัว คือ - พื้นทีไ่ ด้รับอนุญาตให้ก่อสร้างรวม โดยให้น้ำหนัก 0.00002 - จำนวนรถยนต์พาณิชย์ที่จดทะเบียนใหม่ โดยให้นำ้ หนัก 0.01357 - สินเชื่อเพือ่ การลงทุน โดยให้น้ำหนัก 0.98641 การกำหนดน้ำหนักขององค์ประกอบในการจัดทำIp Index ให้น้ำหนักของเครื่องชี้ จากการหาค่าเฉลี่ยของเครื่องชี้ในการจัดทำ Ip Index และแปลงเป็นมูลค่าหน่วยเดียวกัน (บาท) แล้วหาน้ำหนักจากสัดส่วนมูลค่าเครื่องชี้ฯ เทียบกับมูลค่ารวมของเครื่องชี้ทงั้ หมด ดัชนีการใช้จ่ายภาครัฐ (Government Expenditure Index: G) • การคำนวณ G ประกอบไปด้วยเครื่องชี้วดั การใช้จ่ายภาครัฐของจังหวัดทัง้ สิ้น 4 ตัว คือ - รายจ่ายประจำรัฐบาลกลางและภูมิภาค โดยให้น้ำหนัก 0.63769 - รายจ่ายลงทุนรัฐบาลกลางและภูมภิ าค โดยให้นำ้ หนัก 0.32020 - รายจ่ายประจำขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ โดยให้นำ้ หนัก 0.02443 - รายจ่ายลงทุนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยให้น้ำหนัก 0.01767

ห น้ า | 20 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในที่นี้ หมายถึง องค์การบริหารส่วนจังหวัดเพียงแห่งเดียวเท่านั้น เป็นตัวแทนองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิน่ ของจังหวัด การกำหนดน้ำหนักขององค์ประกอบในการจัดทำ Ip Index ให้น้ำหนักของเครื่องชี้ จากการหาค่าเฉลี่ยของเครื่องชี้ในการจัดทำ Ip Index และแปลงเป็นมูลค่าหน่วยเดียวกัน (บาท) แล้วหาน้ำหนักจากสัดส่วนมูลค่าเครื่องชี้ฯ เทียบกับมูลค่ารวมของเครื่องชี้ทงั้ หมด ดัชนีมูลค่าการค้าชายแดนโดยเฉลี่ยจังหวัด (Export lmport Index : Xm Index) • การคำนวณ Xm ประกอบไปด้วยเครื่องชี้วดั มูลค่าการค้าชายแดนของจังหวัดทั้งสิ้น 1 ตัว คือ - มูลค่าการค้าชายแดนโดยเฉลี่ย โดยให้น้ำหนัก 1.00000 การกำหนดน้ำหนักขององค์ประกอบในการจัดทำ Xm Index ให้นำ้ หนักของเครื่องชี้ จากการหามูลค่าการค้าชายแดนโดยเฉลี่ย (มูลค่าการนำเข้า + มูลค่าการส่งออก)/2 แล้วหาน้ำหนัก เนื่องจากมีเครื่องชี้เดียวจึงกำหนดน้ำหนักเท่ากับ 1 ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ณ ราคาคงที่ (GPP constant price) • การคำนวณ GPP ประกอบไปด้วยดัชนีเครื่องชี้วดั 2 ด้าน คือ - ดัชนีชี้วัดเศรษฐกิจด้านอุปทาน(GPPS) - ดัชนีชวี้ ัดเศรษฐกิจด้านอุปสงค์(GPPD)

โดยให้น้ำหนัก โดยให้น้ำหนัก

0.70000 0.30000

ดัชนีชี้วัดด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ • GPP Deflator : ระดับราคา ประกอบไปด้วย - ดัชนีราคาผูผ้ ลิต (PPI) - ดัชนีราคาผู้บริโภคจังหวัดกาญจนบุรี (CPI)

โดยให้น้ำหนัก โดยให้น้ำหนัก

0.70000 0.30000

การเปลี่ยนแปลงจำนวนผู้มีงานทำ คำนวณจาก GPP constant price x 0.313 (อัตราการพึ่งพาแรงงาน) อัตราการพึง่ พาแรงงาน คำนวณจากการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย(Simple Linear Regression Analysis)โดยมีรูปแบบความสัมพันธ์ คือ ln (Emp) =  +(ln(GPP)) โดยที่ Emp = จำนวนผู้มีงานทำจำแนกตามอุตสาหกรรม และเพศของจังหวัดกาญจนบุรี ข้อมูลจาก Website ของสำนักงานสถิตแิ ห่งชาติ ซึ่งใช้ปี 2548–2555 GPP = ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดกาญจนบุรีใช้ขอ้ มูลจาก สศช. ซึง่ ใช้ปี 2548–2555

ห น้ า | 21 ส่วนราชการภาครัฐ ท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ และภาคเอกชนในจังหวัดกาญจนบุรีที่สนับสนุนข้อมูล สำนักงานเกษตรจังหวัดกาญจนบุรี

สำนักงานขนส่งจังหวัดกาญจนบุรี

สำนักงานประกันสังคมจังหวัดกาญจนบุรี

สำนักดัชนีเศรษฐกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์

สำนักงานปศุสัตว์จงั หวัดกาญจนบุรี

สำนักงานพาณิชย์จังหวัดกาญจนบุรี

สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดกาญจนบุรี

ธนาคารแห่งประเทศไทย

องค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรี

ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรจังหวัดกาญจนบุรี

สำนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจังหวัดกาญจนบุรี

ธนาคารออมสินเขตกาญจนบุรี

สำนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคอำเภอบ่อพลอย

ธนาคารอาคารสงเคราะห์สาขากาญจนบุรี

สำนักงานประปาส่วนภูมิภาคสาขากาญจนบุรี

ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) สาขากาญจนบุรี

สำนักงานสรรพสามิตพืน้ ที่กาญจนบุรี

ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

สำนักงานสรรพากรพื้นที่กาญจนบุรี

แห่งประเทศไทยจังหวัดกาญจนบุรี

สำนักงานธนารักษ์พนื้ ที่กาญจนบุรี

การยางแห่งประเทศไทยจังหวัดกาญจนบุรี

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกาญจนบุรี

ด่านศุลกากรสังขละบุรี

สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดกาญจนบุรี

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.