Science Project-Exhibition #5 ( Re-up) Flipbook PDF

Science Project-Exhibition #5 Faculty of Science, Burapha University

89 downloads 101 Views 64MB Size

Recommend Stories


Science
Cells. Parts. Osmosis. Photosynthesis. Heart. Blood vessels. Transport system in plant. Respiratory system. Physics. Hooke's Law. Vectors. Scalars. Kinetin Theory. Newton Law. Force. Energy. Gravity. Chemistry. Chemical elements. Catalysts. Oxidation

Story Transcript

dddd

กำหนดกำรและบทคัดย่อ

The 5th Science Project Exhibition

วันพุธที่ 16 มีนำคม พ.ศ. 2565

ณ อำคำรปฏิบัติกำรพื้นฐำนและศูนย์เครื่องมือวิทยำศำสตร์ คณะวิทยำศำสตร์ มหำวิทยำลัยบูรพำ จังหวัดชลบุรี

- หน้าที่ 1 -

สารบัญ หน้าที่

สารคณบดี...................................................................................................... กาหนดการ...................................................................................................... ผังการจัดงาน................................................................................................... ผังการนาเสนอแบบโปสเตอร์.......................................................................... ตารางการนาเสนอแบบบรรยาย...................................................................... ตารางการนาเสนอแบบโปสเตอร์..................................................................... บทคัดย่อการนาเสนอแบบบรรยาย สาขาคณิตศาสตร์............................................................................ สาขาเคมี......................................................................................... สาขาจุลชีววิทยา............................................................................. สาขาชีวเคมี.................................................................................... สาขาชีววิทยา.................................................................................. สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ................................................................... สาขาฟิสิกส์..................................................................................... สาขาวาริชศาสตร์........................................................................... สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร........................................ บทคัดย่อการนาเสนอแบบโปสเตอร์ สาขาคณิตศาสตร์............................................................................ สาขาเคมี......................................................................................... สาขาจุลชีววิทยา............................................................................. สาขาชีวเคมี.................................................................................... สาขาชีววิทยา.................................................................................. สาขาฟิสิกส์..................................................................................... สาขาฟิสิกส์ประยุกต์....................................................................... สาขาวาริชศาสตร์........................................................................... สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร........................................

4 5 6 9 10 16 27 29 38 40 47 60 68 70 77 92 102 135 173 193 206 207 211 212 - หน้าที่ 2 -

สารบัญ หน้าที่

รายชื่อคณะกรรมการดาเนินงาน..................................................................... 216 รายชื่อคณะกรรมดารตัดสินผลงาน................................................................. 217

- หน้าที่ 3 -

สารคณบดี

ก า ร จั ด ง า น Science Project Exhibition ข อ ง คณะวิ ท ยาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย บู ร พา ในปี ก ารศึ ก ษา 2564 นี้ เป็นการจัดต่อเนื่องเป็นครั้งที่ 5 มีจุดมุ่งหมายเพื่อ เป็ น เว ที ใ ห้ นิ สิ ต ชั้ น ปี ที่ 4 ของคณะวิ ทยา ศาสตร์ ทุ ก หลั ก สู ต รได้ มี โ อกาส ฝึ ก ฝนและมี ป ระสบการณ์ ก าร น าเสนอผลงานทางวิ ช าการ จากการวิ จั ย ในรายวิ ช า โครงงาน หรือปัญหาพิเศษ และสหกิจศึกษา ในวงกว้างกับ นิสิตในหลักสูตรอื่น ของคณะวิทยาศาสตร์ด้วยกัน อีกทั้ง ทาให้เกิดการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในเชิงวิชาการกับ สาขาที่เกี่ยวข้องหรือใกล้เคียงกัน อันจะเกิดเครือข่ายความร่วมมือระหว่างสาขากันอีกด้วย ในโลกการทางานนิสิตที่จบการศึกษาเป็นบัณฑิตนั้น จะต้องเผชิญกับการความท้าทายและ การเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ การสร้างโอกาสให้ตนเองได้ฝึกฝนหรือทางานที่ท้าทายจะทาให้นิสิตนั้น จะพัฒนาความสามารถให้ดีขึ้นอย่างก้าวกระโดด ดังนั้น นิสิตจะต้องแสวงหาโอกาสในการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอยู่เสมอ เพื่อจะได้มีความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน และสร้างประโยชน์แก่ องค์กรและสังคมประเทศชาติ ดังตามวิสัยทัศน์ของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา คือ “องค์กรแห่งการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมเพื่อสังคมที่ดีขึ้น” ในการนี้ในนามของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิ ทยาลัยบูรพา ผู้จัดงาน Science Project Exhibition ครั้ ง ที่ 5 ขอขอบคุ ณ รองศาสตราจารย์ ดร.พิ ม พ์ ท อง ทองนพคุ ณ และ คุณเบญจรัตน์ ทาแสงทอง ที่ได้ให้เกียรติมาเป็นวิทยากรรับเชิญในครั้งนี้ ขอขอบคุณคณะกรรมการ การนาเสนอทุกท่านที่ได้เสียสละเวลาทาให้การนาเสนอมีความเข้มข้นในเชิงวิชาการและนิสิตได้รับ ความแนะนาที่เป็นประโยชน์ และขอบคุณ ทีมงานจัดงานทุกท่านที่ทุ่มเทการจัดงานที่เปี่ยมไปด้วย คุณค่าให้เรียบร้อยอย่างดียิ่ง และสุดท้ายนี้ ขอชื่นชมนิสิตที่มาร่วมนาเสนอในครั้งนี้ทุกคน และ ขอให้ประสบความสาเร็จตามที่มุ่งหวังไว้ในปัจจุบันและอนาคต

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เอกรัฐ ศรีสุข คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา มีนาคม 2565

- หน้าที่ 4 -

กำหนดกำรงำน The 5th Science Project Exhibition วันพุธที่ 16 มีนำคม พ.ศ. 2564 ณ อำคำรปฏิบัติกำรพื้นฐำนและศูนย์เครือ่ งมือวิทยำศำสตร์ คณะวิทยำศำสตร์ มหำวิทยำลัยบูรพำ

เวลำ 08.00 - 08.30 น. 08.30 - 08.45 น. 08.45 - 09.15 น. 09.15 - 10.30 น. 10.30 - 10.45 น. 11.00 - 12.00 น. 12.15 - 13.00 น. 13.00 - 14.45 น. 14.45 - 15.00 น. 15.00 - 16.15 น. 16.20 - 16.40 น. 16.40 - 17.15 น.

กิจกรรม ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมงาน (หน้าห้อง CL-101) คณบดีคณะวิทยาศาสตร์กล่าวเปิดงานและกล่าวให้โอวาท (CL-101) การบรรยายพิเศษ หัวข้อ “Creation, Innocation & Exhibition” โดย รองศาสตราจารย์ ดร. พิมพ์ทอง ทองนพคุณ (CL-101) การนาเสนอโครงงานวิจัยแบบบรรยาย ภาคเช้า (อาคาร CL และอาคาร SD) รับประทานอาหารว่าง การนาเสนอโครงงานวิจัยแบบโปสเตอร์ กลุ่มที่ 1 (โถง ชั้น 1 อาคาร CL) รับประทานอาหารกลางวัน การนาเสนอโครงงานวิจัยแบบโปสเตอร์ กลุ่มที่ 2 (โถง ชั้น 1 อาคาร CL) รับประทานอาหารว่าง การนาเสนอโครงงานวิจัยแบบบรรยาย ภาคบ่าย (อาคาร CL และอาคาร SD) การบรรยายพิเศษ หัวข้อ “งานวิจัยขายได้จริง” นวัตกรรมจากงานวิจัย มุ่งสู่ Start Up โดย นางสาวเบญจรัตน์ ทาแสงทอง (CL-101) พิธีปิดและประกาศผลรางวัล (CL-101) การประกาศรางวัลผู้นาเสนอแบบโปสเตอร์ดีเด่น การประกาศรางวัล Popular Vote การประกาศรางวัลผู้นาเสนอแบบบรรยายดีเด่น คณบดีคณะวิทยาศาสาตร์กล่าวให้โอวาทและปิดงาน

** กำหนดกำรอำจมีกำรเปลี่ยนแปลงตำมควำมเหมำะสม

- หน้าที่ 5 -

อาคาร Central laboratory ชั้น 1 10.0.

10.0.

10.0. ที่จอดรถ VIP

10.0.

10.0.

CL-105 เวที

CL-101 CL-107

ห้องนำ้ ผูพ้ ิกำร

ห้องนำ้ ชำย

3.4.

CL -101 พิธีเปิด/ปิด/บรรยายพิเศษ/มอบรางวัล จุดรับอาหารกลางวัน / อาหารว่าง

จุดรับประทาน อาหารกลางวัน

ลงทะเบียน

10.5.

3.8.

ห้องนำ้ หญิง

ลิฟต์

1

ลิฟต์

2

ลิฟท์

3

การเสนอโครงงานวิจัยแบบโปสเตอร์

30.0 30.0

ลานน้้าพุ

- หน้าที่ 6 -

อาคาร Central laboratory ชั้น 2 10.00 ม.

5.60 ม.

4.40 ม.

10.00 ม.

10.00 ม.

10.00 ม.

เวที

12.00 ม.

เวที

CL-201

CL-202

ห้องนำ้ หญิง

CL-201

CL-202

CL-203

การเสนอโครงงานวิจัยแบบบรรยาย

การเสนอโครงงานวิจัยแบบบรรยาย

การเสนอโครงงานวิจัยแบบบรรยาย ห้องละหมำด

12.00 ม.

2.05 ม.

ห้องนำ้ ชำย

10.50 ม.

ห้องเจ้ำหน้ำที่

ลิฟต์

ลิฟต์

ลิฟต์

1

2

3

- หน้าที่ 7 -

อาคารสิรินธร ชั้น 4 SD-414

SD-413

- หน้าที่ 8 -

แผนผังการนําเสนอรูปแบบโปสเตอร

อาคารสิรินธร SD

ลานน้ําพุ ลิฟท

1

6

7

8

3

4

5

2

หองประชุม CL-101

9

จุดลงทะเบียยนน

ตารางการนาเสนอโครงงานวิจัยแบบบรรยาย ภาคเช้า เวลา 09.15 น. - 10.30 น. ห้องที่ 1 : CL 101 เวลา 09.15 – 09.30น. 09.30 – 09.45น. 09.45 - 10.00 น. 10.00 - 10.15 น. 10.15 -10.30 น.

รหัสนาเสนอ ชื่อผลงานวิจยั / ผู้นาเสนอ AQ-O-01 การเปลี่ยนแปลงของแพลงก์ตอนพืชบริเวณหาดบางแสน โดย นางสาวพนิดา ใจกล้า AQ-O-02 การเปลี่ยนแปลงของแพลงก์ตอนสัตว์บริเวณหาดบางแสน จังหวัดชลบุรี โดย นางสาวธิติญา ทองคุ้ม AQ-O-05 การใช้ข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียมศึกษาการเกิดน้้าทะเลเปลี่ยนสีในพื้นที่ อ่าวไทยตอนบน โดย นางสาวสุภาวดี ทองสุกใส AQ-O-06 การศึกษาพื้นที่เลี้ยงหอยโดยใช้ข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียม Sentinel-2 ใน บริเวณชายฝั่งจังหวัดชลบุรี โดย นางสาวพิมพ์ภิรา ดามิลี AQ-O-07 วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ชายฝั่งโดยใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศของ ชายฝั่งในเขต อ้าเภอเมือง จังหวัดชลบุรี โดย นายพีรพัฒน์ อุปฮาต

ห้องที่ 2 : ห้อง CL 201 เวลา รหัสนาเสนอ ชื่อผลงานวิจยั / ผู้นาเสนอ 09.15 – 09.30น. BI-O-12 จุลพยาธิวิทยาของเนื้อเยื่อไตในหนูที่มีภาวะเบาหวานชนิดที่ 2 โดย นางสาวจริยา ลาภบุญเรือง 09.30 – 09.45น. BI-O-13 จุลพยาธิวิทยาของเนื้อเยื่อตับอ่อนในหนูสายพันธุ์ C57BL6 ทีม่ ีภาวะ โรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 โดย นางสาวสุกัญญา ธงอาษา 09.45 - 10.00 น. BT-O-07 การตรวจสอบผลการชักน้าให้เกิดไวเทลโลเจนินในปลาดุกลูกผสมโดยเทคนิค เวสเทิร์นบลอทและดอทบลอท โดย นางสาวศิริพาภรณ์ โอษฐิเวช 10.00 - 10.15 น. BT-O-05 การตรวจสอบผลการชักน้าให้เกิดไวเทลโลเจนินในปลาดุกลูกผสม โดย เทคนิค ELISA โดย นางสาวเบญจมาพร ศรีสวัสดิ์ 10.15 - 10.30 น. BT-O-06 การตรวจสอบอะซิทิลโคลีนเอสเทอเรสในปลานิลที่ได้รับสัมผัสไกลโฟเสท ด้วยเทคนิคเวสเทิร์นบลอท โดย นางสาวพลอยรุ้ง สุท้ามา 10.30 – 10.45 น. BT-O-08 การตรวจสอบอะซิทิลโคลีนเอสเทอเรสในปลานิล ที่ ได้รับสัมผัสไกลโฟเสทด้วย เทคนิคอิมมูโนฮีสโตเคมิสทรี โดย นายแสนค้า เทอ้ารุง

- หน้าที่ 10 -

ตารางการนาเสนอโครงงานวิจัยแบบบรรยาย ภาคเช้า เวลา 09.15 น. - 10.30 น. ห้องที่ 3 : CL 202 เวลา รหัสนาเสนอ ชื่อผลงานวิจยั / ผู้นาเสนอ 09.15 – 09.30น. CH-O-05 การพัฒนาต้ารับไลโปโซมบรรจุสารสกัดเหง้าเร่วหอมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนส โดย นางสาวสตกมล ชูศรีทอง 09.30 – 09.45น. CH-O-06 องค์ประกอบทางเคมีของน้ามันหอมระเหยจากต้นเร่วหอมและต้นเร่วป่า ใน จังหวัดจันทบุรี ประเทศไทย โดย นางสาวปาริฉัตร อุไรอ้าไพ 09.45 - 10.00 น. CH-O-07 การเปรียบเทียบเทคนิคการแยกสาร 4-methoxycinnamyl p-cumarate (MCC) จากเร่วหอม โดย นางสาวณัฐชยา มนต์ประสิทธิ์ 10.00 - 10.15 น. BC-O-02 ความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระของกะปิที่ท้ามาจากเคยในพื้นที่ต่างๆ ของประเทศไทย โดย นางสาวพัชร สิมะวัฒนา 10.15 - 10.30 น. BC-O-03 ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของน้้าผึ้งป่าจากภาคเหนือและภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย โดย นางสาวรัตนากร ช่วยค้้าชู ห้องที่ 4 : CL 203 เวลา รหัสนาเสนอ ชื่อผลงานวิจยั / ผู้นาเสนอ 09.15 – 09.30น. BI-O-07 Isolation and characterization of testicular spermatogonial stem cells, Sertoli cells and testicular fibroblast from domestic cat testis โดย นายรัชพล ประคองแก้ว 09.30 – 09.45น. BI-O-08 Pluripotency niche within cumulus cells of cumulus-oocyte complex in domestic cat โดย นายธนทรัพย์ สกุลธนทรัพย์ 09.45 - 10.00 น. BI-O-09 CRISPR activator system in felid species as a new tool for felid cellular reprogramming โดย นางสาวฐิติรัตน์ เหลืองวงษ์ 10.00 - 10.15 น. BI-O-10 Cellular reprogramming of testicular cells from the fishing cat for conservation โดย นางสาวอินทิรา เหงขุนทด 10.15 - 10.30 น. BI-O-11 fibroblast derivation and cellular reprogramming induction from barking deer ear as a model for conservation of endangered muntiacus species โดย นางสาวญาณัจฉรา อินทรกุล

- หน้าที่ 11 -

ตารางการนาเสนอโครงงานวิจัยแบบบรรยาย ภาคเช้า เวลา 09.15 น. - 10.30 น. ห้องที่ 5 : SD 413 เวลา รหัสนาเสนอ ชื่อผลงานวิจยั / ผู้นาเสนอ 09.15 – 09.30น. FD-O-05 การศึกษาปริมาณสัดส่วนในการผสมกาแฟคัว่ บดพันธุ์อาราบิก้าวาวีและอารา บิก้าปัวที่มีผลต่อคุณสมบัติทางกายภาพและคุณภาพทางประสาทสัมผัส โดย นางสาวภาวินี ภัทรกิตติชาญ 09.30 – 09.45น. FD-O-06 ผลของระดับการคั่วเมล็ดกาแฟต่อคุณสมบัติทางกายภาพและทางประสาท สัมผัสของกาแฟคั่วพันธุ์อาราบิก้าวาวีและพันธุ์อาราบิก้าปัว โดย นางสาวชุติมา แซ่ลี้ 09.45 - 10.00 น. FD-O-11 การศึกษาจุลินทรีย์ที่เกี่ยวข้องกับการหมักไซเดอร์มังคุดจากกากเหลือทิ้ง มังคุด โดย นายภูมิพัฒน์ ผู้นยิ ม 10.00 - 10.15 น. FD-O-12 การศึกษากระบวนการหมักไซเดอร์มังคุดจากกากเหลือทิ้งของมังคุด โดย นางสาวปวิชญา ศรีกิจโรจน์ 10.15 - 10.30 น. FD-O-19 การปรับปรุงกระบวนการผลิตมะขามอบแห้งจากมะขามสุกรสเปรี้ยว โดย นางสาวอภิญญา เหลาทอง ห้องที่ 6 : SD 414 เวลา รหัสนาเสนอ ชื่อผลงานวิจยั / ผู้นาเสนอ 09.15 – 09.30น. FD-O-01 การใช้สารสกัดน้้าของใบเตยเป็นส่วนผสมของบะหมี่จากแป้งสาลีและเส้น ก๋วยเตี๋ยวจากแป้งข้าวเพื่อลดการย่อยของสตาร์ช โดย นางสาวอภิญญา อุค้า และ นางสาวบุญสิตา รัตนะเจริญลาภ 09.30 – 09.45น. FD-O-02 การพัฒนาหมั่นโถวปราศจากกลูเตนจากแป้งข้าวเจ้าเสริมแป้งบุกและแป้ง มะพร้าว โดย นางสาวเจนนิสา วงศ์ใหม่ และ นางสาวภรณ์ทิพย์ ดอนเหนือ 09.45 - 10.00 น. FD-O-03 ผลของการใช้ยีสต์ธรรมชาติที่มีต่อสมบัติและอายุการเก็บรักษาของซาวโดว์ ปราศจากกลูเตนที่ท้าจากแป้งข้าวกล้อง แป้งข้าวโพด และแป้งมันม่วง โดย นางสาววนัสนันท์ ลูกอินทร์ และ นางสาวสิริกัญญา โพธิ์ทอง 10.00 - 10.15 น. FD-O-04 การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการทอดต่อการดูดซับน้้ามันของแผ่นข้าวตัง และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวตังหมูหยอง โดย นางสาวศิริญญา ค้าตะนิตย์ 10.15 - 10.30 น. FD-O-17 การพัฒนาสูตรผลิตภัณฑ์ซุปโอเด้งพร้อมบริโภคจากน้้าลวกเนื้อ โดย นางสาวชญานุช สุนทรกิจวิทยา

- หน้าที่ 12 -

ตารางการนาเสนอโครงงานวิจัยแบบบรรยาย ภาคบ่าย เวลา 15.00 น. – 16.30 น. ห้องที่ 1 : CL-101 เวลา 15.00 - 15.15 น. 15.15 - 15.30 น. 15.45 – 16.00 น. 16.00 - 16.15 น. ห้องที่ 2 : CL-201 เวลา 15.00 - 15.15 น.

15.15 - 15.30 น. 15.30 – 15.45 น. 15.45 – 16.00 น. 16.00 - 16.15 น. 16.15 – 16.30 น.

รหัสนาเสนอ ชื่อผลงานวิจยั / ผู้นาเสนอ MA-O-01 t-Cocobalancing Number โดย นายสะสม แก้วมณี MA-O-02 การวิเคราะห์ฮอมอโทปีและการแปลงเชิงปริพันธ์ทั่วไปส้าหรับการหาผล เฉลยชองสมการเชิงปริพันธ์-อนุพันธ์ โดย นายอนิรุต ศิลาวารินทร์ PY-O-02 การพัฒนาวงจรตรวจวัดค่าการน้าไฟฟ้าชนิดโลหะแบบไม่สัมผัสสารละลาย (C4D) โดย นายวรรณชนะ วรรณพาน PY-O-03 การตรวจวัดและวิเคราะห์ค่ากัมมันตภาพรังสีตามธรรมชาติในวัสดุปลูกไม้ ประดับที่สามารถหาซื้อได้ในประเทศไทย โดย นางสาวจรรยกร จิระโร รหัสนาเสนอ ชื่อผลงานวิจยั / ผู้นาเสนอ FD-O-07 การศึกษาสาเหตุและแก้ไขปัญหา ปริมาณจุลินทรีย์บนมือพนักงานของ กระบวนการผลิตเกล็ดขนมปังเกินเกณฑ์มาตรฐาน โดย นางสาวปลิตา จักรแก้ว FD-O-08 การศึกษาการท้างานและปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ มะม่วงชุบช็อกโกแลต โดย นางสาวกมลวรรณ จาง FD-O-09 การศึกษาการท้างานและปรับปรุงประสิทธิภาพสายการผลิตคุกกี้ โดย นางสาวพรชนก สุดตา FD-O-10 การจัดการวัฒนธรรมความปลอดภัยอาหารบริษัทจีเอฟพีทีจ้ากัด (มหาชน) โดย นางสาวพิชญา วิระวงศ์ MI-O-02 การใช้เทคนิค loop mediated isothermal amplification เพื่อตรวจสอบ Listeria monocytogenes ในเนื้อหมู โดย นางสาวน้้าทิพย์ ชมประคต MI-O-03 การตรวจสอบ Salmonella spp. ในน้้สลั า ดครีมโฮมเมดโดย Loop Mediated Isothermal Amplification โดย นางสาวธัญญารัตน์ ท้าวกัลยา

- หน้าที่ 13 -

ตารางการนาเสนอโครงงานวิจัยแบบบรรยาย ภาคบ่าย เวลา 15.00 น. – 16.30 น. ห้องที่ 3 : CL-202 เวลา 15.00 - 15.15 น. 15.15 - 15.30 น. 15.30 – 15.45 น. 15.45 – 16.00 น.

16.00 - 16.15 น. 16.15 – 16.30 น.

ห้องที่ 4 : CL 203 เวลา 15.00 - 15.15 น. 15.15 - 15.30 น.

15.30 – 15.45 น. 15.45 – 16.00 น. 16.00 - 16.15 น. 16.15 – 16.30 น.

รหัสนาเสนอ ชื่อผลงานวิจยั / ผู้นาเสนอ CH-O-01 การสังเคราะห์คอลเลทโตทริปติน เอ และบี โดย นางสาววิไลลักษณ์ แซ่แต้ CH-O-02 การสังเคราะห์อะโรมาติกคาร์บาลดีไฮด์จากสารประกอบอะโรมาติกด้วย วิธีการใหม่และง่าย โดย นายกิรติพงษ์ เจริญสวัสดิ์ CH-O-03 การสังเคราะห์สารประกอบ (±)-คอลเลทโตทริปติน อี ด้วยวิธีการที่สั้น โดย นางสาวสุธีมนต์ บุญมี CH-O-04 การสังเคราะห์สารอัลคิลซินนาเมตอนาล็อกผ่านปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน โดยใช้ของเหลวไอออนิกชนิดกรดเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา โดย นายประภากร สมบุญมาก CH-O-08 นาโนเซลลูโลสอิมัลชันจากชานอ้อย เพื่อน้าไปประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์ท้า ความสะอาด โดย นายรณกร ธงยาม CH-O-09 การเปลี่ยนกลูโคสเป็นสาร 5-ไฮดรอกซีเมทิลเฟอฟูรอล โดยตัวเร่งปฏิกิริยาเม โซพอรัสเซอร์โคเนียมฟอสเฟตและเซอร์โคเนียมฟอสเฟตที่เจือด้วย โลหะคอปเปอร์ โดย นางสาวเกศมณี ทองอุไร รหัสนาเสนอ ชื่อผลงานวิจยั / ผู้นาเสนอ BI-O-01 การระบุสปีชีส์มดสกุล Rhopalomastix ในประเทศไทยด้วยเทคนิค DNA barcoding โดย นางสาวภธิรา วิภาสหิรัญกร BI-O-02 การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาและความหลากชนิดของหอยทากวงศ์ Hydeocenidae ตามภูเขาหินปูนบางพื้นที่ในจังหวัดชลบุรี สระบุรี และ อุทัยธานี โดย นางสาวชนาพร ชอบบุญ BI-O-03 การจัดท้าฐานข้อมูลของหอยทากจิ๋วถ้้าทางภาคใต้ของประเทศไทย โดย นางสาวนันทิษา สุขใส BI-O-04 ความหลากชนิดของหอยทากจิ๋วในถ้้าบางพื้นที่ของภาคกลางและภาค ตะวันออกของประเทศไทย โดย นางสาวอทิตยา สนใจ BI-O-05 การศึกษาปัจจัยทางกายภาพบางประการของการด้ารงชีวิตของหอยทากจิ๋ว ถ้้าบางชนิดในประเทศไทย โดย นางสาวชมพูนุท สุขสว่าง BI-O-06 สัณฐานวิทยาและความหลากชนิดของหอยกระสวยจิ๋ววงศ์ Diplommatinidae ทางภาคใต้ของประเทศไทย โดย นางสาววรรณวิศา ดอกไม้ขาว

- หน้าที่ 14 -

ตารางการนาเสนอโครงงานวิจัยแบบบรรยาย ภาคบ่าย เวลา 15.00 น. – 16.30 น. ห้องที่ 5 : SD-413 เวลา 15.00 - 15.15 น. 15.15 - 15.30 น. 15.30 – 15.45 น. 15.45 – 16.00 น. 16.00 - 16.15 น. 16.15 – 16.30 น. ห้องที่ 6 : SD-414 เวลา 15.00 - 15.15 น.

15.15 - 15.30 น. 15.30 – 15.45 น. 15.45 – 16.00 น. 16.00 - 16.15 น.

รหัสนาเสนอ ชื่อผลงานวิจยั / ผู้นาเสนอ AQ-O-03 การประเมินคุณภาพน้้าบริเวณอ่างเก็บน้้านฤบดินทรจินดา โดย นางสาวพรภิมล อินทร์จันทร์ AQ-O-04 การประเมินคุณภาพน้้าทะเลบริเวณชายฝั่ง จังหวัดชลบุรี โดย นางสาวศุภภร สุวรรณวงศ์ BT-O-01 ประสิทธิภาพของแบคทีเรียสังเคราะห์แสงส้าหรับการบ้าบัดน้้าเสียจากการ เพาะเลี้ยงสัตว์น้า โดย นายวีรภัทร ค้าโมนะ BT-O-02 การคัดกรองฤทธิ์ต้านจุลินทรีย์ของแอคติโนแบคทีเรียที่คัดแยกจาก กระชายขาว โดย นายสิรภพ แซ่จึง BT-O-03 ประสิทธิภาพของแอคติโนแบคทีเรียส้าหรับประยุกต์ทางการเกษตร โดย นางสาวภัทรา จันทร์ข้า BT-O-04 ความหลากหลายทางชีวภาพของแอคติโนแบคทีเรียที่คัดแยกได้จากดิน บริเวณรอบรากต้นฟ้าทะลายโจร โดย นางสาวลักษณารีย์ ศรีปัญญา รหัสนาเสนอ ชื่อผลงานวิจยั / ผู้นาเสนอ BC-O-05 คุณสมบัติการต้านอนุมูลอิสระและยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนสของน้้าผึ้งเลี้ยง จากจังหวัดสมุทรสงคราม เพือ่ ใช้ในผลิตภัณฑ์เครื่องส้าอาง โดย นางสาวสุพัตรา เรืองช่วย BC-O-07 ฐานข้อมูลฤทธิ์ทางชีวภาพของไฟโตแคนนาบินอยด์ในกัญชา โดย นายพิชญากร ทุมวงศ์ BC-O-08 ฐานข้้อมูลสารอาหารและสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพของผลไม้ในภาค ตะวันออก โดย นางสาวอริษา วรธงชัย BC-O-09 ฤทธิต์ ้านอนุมูลอิสระของผลิตภัณฑ์พืชสมุนไพรไทย Curcuma longa L. จากวิสาหกิจ ชุมชน จังหวัดสระแก้ว โดย นางสาวผกาวรรณ ชารีวัน BC-O-10 ฤทธิต์ ้านอนุมูลอิสระของผลิตภัณฑ์พืชสมุนไพรไทย Schefflera leucantha จากวิสาหกิจชุมชน จ.สระแก้ว โดย นางสาวบุญรักษา พวงเกตุมงคล

- หน้าที่ 15 -

ตารางการนาเสนอโครงงานวิจัยแบบแบบโปสเตอร์ (ภาคเช้า) ณ โถง ชั้น 1 อาคารอาคารปฏิบัติการพื้นฐานและศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ เวลา 11.00 น. - 12.15 น. กลุ่มที่ 1 รหัสนาเสนอ ชื่อผลงานวิจยั CH-P-19 การสกัดและแยกสารขับไล่มดจากสะเดา (Azadirachta indica) CH-P-20 การสกัดและการแยกสารประกอบจากเปลือกมะนาว (Citrus aurantifolia (Christm.) Swingle) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการขับไล่มด BI-P-01 การเสริมฤทธิข์ องยาปฏิชีวนะเตตราซัยคลินร่วมกับส่วนสกัดจากฟ้าทะลาย โจรในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย Escherichia coli ATCC 25922, Pseudomonas aeruginosa ATCC 27853, Staphylococcus aureus ATCC 25923 BI-P-02 การสารวจฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของพืชสมุนไพรและสารบริสุทธิ์ GE-4, GE-11, GE-12, และ GE-15 จากไคร้ (Glochidion spp.) โดยวิธี TEAC assay MI-P-10 ประสิทธิภาพต้านแบคทีเรียของสารสกัดน้าจากใบชะพลูและเหง้าขมิ้นชัน ต่อ Vibrio parahaemolyticus MI-P-11 ฤทธิ์ต้านแบคทีเรียก่อโรคบางชนิดของสารสกัดเอทานอลจากเหง้า กระเจียว กลุ่มที่ 2 รหัสนาเสนอ ชื่อผลงานวิจยั CH-P-27 การศึกษาเปรียบเทียบฤทธิ์ทางชีวภาพจากสารสกัดส่วนต่าง ๆ ของผล กระวาน CH-P-30 กระบวนการสกัดสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพของใบพลับพลึงต่อการแสดง ฤทธิ์ทางชีวภาพ CH-P-31 วิธีการสกัดสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพของใบหูกวาง ต่อการยับยั้ง เชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค MI-P-12 ประสิทธิภาพของสารสกัดเอทานอลจากเหง้า กระเจียวในการยับยั้งการ เจริญของเชื้อก่อโรคผ่านทางอาหารบางชนิด MI-P-13 ฤทธิ์ต้านจุลชีพของสารสกัดน้าจากขิงและข่าต่อ Vibrio parahaemolyticus และการประยุกต์ใช้ในการลดจานวนเชื้อแบคทีเรีย บนหอยนางรม MI-P-20 ประสิทธิภาพของสารสกัดหยาบจากใบยี่หร่าและใบกระท่อมในการ ควบคุมโรคแอนแทรคโนสในหอมแดง MI-P-21 ประสิทธิภาพของสารสกัดหยาบจากเปลือกทับทิมและใบสะเดาในการ ควบคุมโรคแอนแทรคโนสในหอมแดง

ผู้นาเสนอ นายถิรวัฒน์ อินทะสอน นายพิสิษฐ์ จาดแก้ว นางสาวสุกัญญา เพชรวงศ์

นางสาวซารีฟะห์ วาเด็ง นางสาวนิศรา ศรีนางแย้ม นายกวิน กล้าแข็ง

ผู้นาเสนอ นายณัฐชนน รังษีไสวแสง นางสาวแสงทอง บุญยัง นายปิยบุตร สุจริตวัฒนา นายวริทธิ์ธร รุจิวงค์ นางสาวกรกนก อรรถวิลัย นางสาวทรงภรณ์ จันทร์เกตุ นางสาวนันทวัน สบเหมาะ - หน้าที่ 16 -

ตารางการนาเสนอโครงงานวิจัยแบบแบบโปสเตอร์ (ภาคเช้า) ณ โถง ชั้น 1 อาคารอาคารปฏิบัติการพื้นฐานและศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ เวลา 11.00 น. - 12.15 น. กลุ่มที่ 3 รหัสนาเสนอ ชื่อผลงานวิจยั CH-P-08 การสังเคราะห์สารกลุ่ม benzimidazole-triazole สาหรับตรวจสอบฤทธิ์ ต้านอนุมูลอิสระ CH-P-09 การเตรียม primary aniline functionalized polymer สาหรับใช้เป็น ตัวเข้าทา ปฏิกิริยาแบบนากลับมาใช้ใหม่ได้ในปฏิกิริยาการสังเคราะห์ สารประกอบไตรเอริลมีเทน CH-P-10 การสังเคราะห์สารกลุ่มไตรเอริลมีเทนผ่านปฏิกิริยาแบบขั้นตอนเดียว โดย ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาเป็นของเหลวไอออนิกชนิดกรด CH-P-11 การสังเคราะห์สารกลุ่ม long alkyl chain triazoylglycosides สาหรับ ตรวจสอบความเป็นสารลดแรงตึงผิว CH-P-12 การสังเคราะห์สารกลุ่มไตรเอริลมีเทนจากสารตั้งต้นประเภทแอลฟาบราน เอมีนโดยใช้ของเหลวไอออนิกชนิดกรดเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา AP-P-01 พฤติกรรมการเกิดออกซิเดชันของฟิล์มบางไทเทเนียมไนไตรด์ เคลือบด้วย วิธีรีแอคตีฟดีซีแมกนีตรอนสปัตเตอริง AP-P-03 การศึกษาสมบัติทางแสงและสภาพความชอบน้าของฟิล์มบางโลหะที่ เคลือบโดยวิธีสปัตเตอริง กลุ่มที่ 4 รหัสนาเสนอ ชื่อผลงานวิจยั CH-P-05 อุปกรณ์แบบกระดาษสาหรับวิเคราะห์ฟอร์มัลดีไฮด์ในระดับต่าแบบ ขั้นตอนเดียว CH-P-06 อุปกรณ์แบบกระดาษสาหรับการวิเคราะห์ยาฆ่าแมลง CH-P-07 อุปกรณ์แบบกระดาษสาหรับวิเคราะห์ความกระด้างของน้า CH-P-16 ฟิล์มบรรจุภัณฑ์ที่ย่อยสลายได้ทางชีวภาพที่มีองค์ประกอบของเส้นใย ธรรมชาติและสารสกัดจากพืช CH-P-17 การพัฒนาฟิล์มไฮบริดคอมโพสิตชีวภาพแบบไฮบริดที่บรรจุสารธรรมชาติ ออกฤทธิ์ เเละการนาไปใช้ BC-P-10 การทดสอบความเสถียรของโครงสร้างดีเอ็นเอเตตระฮีดรัล

ผู้นาเสนอ นางสาวพิชามญชุ์ มาศงูเหลือม นางสาวกมลลักษณ์ ชาติรงั สรรค์

นางสาวกมลลักษณ์ วิทยสุทธาพร

นางสาววิไลรัตน์ ขันพิมูล นางสาวฐิติมา หาดซาย นายวโรดม กันสุทธิ นายวุฒิชัย เม่นขา นายอัครวินท์ ดีมุข

ผู้นาเสนอ นางสาววรรณนิศา สร้อยสาริกา

นายวันเฉลิม มั่นจันทร์ นางสาวอลิชา เมรุด นางสาวสุภัสสร เรือนวิลัย นางสาวปรียาภัทร เรือนรื่น นางสาวสุกัญญา ขันทอง

- หน้าที่ 17 -

ตารางการนาเสนอโครงงานวิจัยแบบแบบโปสเตอร์ (ภาคเช้า) ณ โถง ชั้น 1 อาคารอาคารปฏิบัติการพื้นฐานและศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ เวลา 11.00 น. - 12.15 น. กลุ่มที่ 5 รหัสนาเสนอ ชื่อผลงานวิจยั MI-P-02 การตรวจ Listeria monocytogenes ในเนื้อหมูบดด้วยเทคนิค loop mediated isothermal amplification MI-P-07 กิจกรรมต้านจุลินทรีย์ของสารสกัดจากเเอคติโนมัยซีทในการต้าน แบคทีเรียก่อโรค และ Candida albicans MI-P-09 การใช้แอคติโนมัยซีทในการควบคุมวัชพืชที่ก่อปัญหาสาหรับ การ เพาะปลูกพืชผักสวนครัว

ผู้นาเสนอ นายปกรณ์ สีโย นางสาวยุวรี แซ่เตียว นางสาวนภัสสร กสิกวัตร์

MI-P-03

การตรวจสอบ Listeria monocytogenes อย่างรวดเร็วในเนื้อหมูบดโดยใช้ เทคนิค loop mediated isothermal amplification

MI-P-19 MI-P-24

การสารวจคุณภาพของชีวภัณฑ์แบคทีเรียควบคุมเชื้อก่อโรคพืช นางสาวชลดา สุริยะศรี ความสามารถในการยับยั้ง Salmonella Enteritidis DMST 15676 ที่กอ่ นางสาววัชราภรณ์ นะเรศรัมย์ โรคในอาหาร โดย Lactobacillus spp. ที่แยกได้จากผลิตภัณฑ์ปลาหมัก การตรวจสอบการปนเปื้อน Salmonella spp. ในน้สลั า ดโดย Loop นางสาวสุธีธิดา มากอง Mediated Isothermal Amplification

MI-P-40

กลุ่มที่ 6 รหัสนาเสนอ ชื่อผลงานวิจยั MI-P-18 การสารวจคุณภาพของชีวภัณฑ์เชื้อราควบคุมเชื้อก่อโรคพืช MI-P-15 ความชุกของ Salmonella spp. ซีโรกรุ๊ปต่างๆ ที่แยกได้จากเนื้อหมูดิบ ที่ จาหน่ายในตลาดนัด เขตตาบลแสนสุข อาเภอเมือง จังหวัดชลบุรี MI-P-26 การศึกษาในระดับห้องปฏิบัติการของเชื้อรา Trichoderma asperellum ในการยับยั้งเชื้อรา Fusarium sp. สาเหตุโรคตายพรายในกล้วยน้าว้า MI-P-27 ประสิทธิภาพของแบคทีเรียแลคติกต่อการยับยั้งการเจริญของราขนมปัง MI-P-30 การศึกษาการปนเปื้อนของแบคทีเรียทั้งหมด และ Staphylococcus aureus ในซูชิแซลมอนที่จาหน่ายในร้านค้าแผงลอย จังหวัดชลบุรี MI-P-31 การศึกษาการปนเปื้อนของแบคทีเรียโคลิฟอร์มและ Escherichia coli ในซูชิแซลมอนที่จาหน่ายในห้างสรรพสินค้าและร้านอาหาร จังหวัดชลบุรี MI-P-32 การศึกษาการปนเปื้อนของ Salmonella spp. ในซูชิแซลมอน

นางสาวสุภาวดี ดาวจันอัด

ผู้นาเสนอ นางสาวณัฐชุกร แสงสว่าง นางสาวอริษา พรหมประเสริฐ

นางสาวฉัตรลดา คาภิลานน นางสาวนพมาศ เอนกธารงทรัพย์ นางสาวภาอภิภา ประกอบธรรม

นางสาววิชิตา วงศ์ศรีชา นางสาวศศิวิมล เอกวัตร์

- หน้าที่ 18 -

ตารางการนาเสนอโครงงานวิจัยแบบแบบโปสเตอร์ (ภาคเช้า) ณ โถง ชั้น 1 อาคารอาคารปฏิบัติการพื้นฐานและศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ เวลา 11.00 น. - 12.15 น. กลุ่มที่ 7 รหัสนาเสนอ ชื่อผลงานวิจยั BC-P-01 บทบาทของ Glu56 ของเอนไซม์ serine hydroxymethyltransferase จากเชื้อปรสิตพลาสโมเดียมต่อการจับกับ L-serine BC-P-02 บทบาทของ His129 ในบริเวณแอกทีฟของเอนไซม์ serine hydroxymethyltransferase จากเชื้อปรสิตพลาสโมเดียมต่อการจับกับ L-serine BC-P-03 การศึกษาบทบาทของ Phe292 ของเอนไซม์ serine hydroxymethyltransferase จากเชื้อปรสิตพลาสโมเดียมต่อสมดุลการ จับกับ L-serine BC-P-04 การวัดค่าคงที่สมดุลของการจับกันระหว่างเอนไซม์ 5-carboxymethyl-2hydroxymuconate semialdehyde dehydrogenase จากเชื้อ แบคทีเรีย Acinetobacter baumannii กับ NAD(P)+ BC-P-05 การวิเคราะห์สารผลิตภัณฑ์ของเอนไซม์ 3,4-dihydroxyphenylacetate 2,3-dioxygenase จากเชื้อแบคทีเรีย Acinetobacter baumannii BC-P-19 คุณสมบัติในการต้านอนุมูลอิสระของข้าวหมากที่ทาจากข้าวเหนียวที่มีสี BC-P-20 คุณสมบัติในการต้านอนุมูลอิสระของข้าวเหนียวหุงสุกที่มีสบี างสายพันธุ์ กลุ่มที่ 8 รหัสนาเสนอ ชื่อผลงานวิจยั FD-P-01 การศึกษาผลของการล้างและชนิดน้าตาลต่อคุณภาพผลิตภัณฑ์ปลาส้มจาก ปลากะพงแดง FD-P-02 การศึกษาผลของการใช้ชนิดน้าตาลทราย น้าตาลทรายแดงและน้าตาล มะพร้าว ต่อคุณภาพผลิตภัณฑ์ปลาส้มจากปลาตะเพียนขาว FD-P-03 การปรับปรุงสีของทุเรียนกวนระหว่างการเก็บรักษา FD-P-04 การติดตามผลของการลดการใช้น้ายาฆ่าเชื้ออุปกรณ์ในไลน์การผลิต ผลิตภัณฑ์เครือ่ งดื่มปรุงสาเร็จชนิดผง MI-P-22 การผลิตวุ้นมะพร้าวจากเปลือกของผลแก้วมังกรด้วยเชื้อ Komagataeibacter nataicola MI-P-23 การผลิตวุ้นสวรรค์จากเปลือกผลแอปเปิ้ลโดยใช้เชื้อ Komagataeibacter nataicola

ผู้นาเสนอ นางสาวมัญชุสา พัฒน์กรด นางสาวศิริพร คุ้มสุวรรณ์ นางสาววิภาณี หัสสา นางสาวมลทิรา ภูช่างทอง นายกษิดิศ ดิษยบุตร นางสาวจิตรลดา นิธิธนโชค นางสาวศิรินภา ศิริวิโรจน์

ผู้นาเสนอ นางสาวจรินทร ทองเทียม นางสาวสุภาพรรณ สร้อยกลางเมือง

นางสาวพรสวรรค์ ภูดี นางสาวสุกัญญา ทุมกองแก้ว

นางสาวชุติมา พลอยสิทธิ์ นางสาวรุจิราพร สิริชัยเจริญกล

นางสาวอาภิสรา ชาติพจน์ นางสาวพัชรี ศรีวงออน

- หน้าที่ 19 -

ตารางการนาเสนอโครงงานวิจัยแบบแบบโปสเตอร์ (ภาคเช้า) ณ โถง ชั้น 1 อาคารอาคารปฏิบัติการพื้นฐานและศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ เวลา 11.00 น. - 12.15 น. กลุ่มที่ 9 รหัสนาเสนอ ชื่อผลงานวิจยั BC-P-06 ฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดพอลิแซ็กคาไรด์จากกล้ามเนื้อปลิงทะเล ลูกบอล BC-P-07 การผลิตเลแวนจาก Tanticharoenia sakaeratensis BC-P-08 สารสกัดพอลิแซ็กคาไรด์จากผนังลาตัวของปลิงทะเลลูกบอล BC-P-09 ผลของสภาวะเลี้ยงเชื้อต่อการผลิตเลแวนของ Bacillus subtilis BC-P-21 ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและประสิทธิภาพในการชะลอวัยของสารสกัดจาก ข้าวสีม่วงบางสายพันธุ์ CH-P-14 การพัฒนาและสมบัติของฟิล์มไบโอพอลิเมอร์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จากเจลาตินและโซเดียมแอลจิเนต CH-P-15 การเตรียมและสมบัติของฟิล์มคอมโพสิตชีวภาพสาหรับใช้เป็นบรรจุ ภัณฑ์

ผู้นาเสนอ นางสาวอรรคญาณี ป้อมบุบผา

นางสาววรฉัตร พลสงค์ นางสาววิรัลยุพา สิงห์รักษ์พล นางสาวเภาวรินทร์ มังษาอุดม

นางสาวเบญชิตา ตะเคียนสก นางสาวกมลวรรณ กันภัย นางสาววรรณาลักษณ์ จันทรี

- หน้าที่ 20 -

ตารางการนาเสนอโครงงานวิจัยแบบแบบโปสเตอร์ (ภาคบ่าย) ณ โถง ชั้น 1 อาคารอาคารปฏิบัติการพื้นฐานและศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ เวลา 13.00 น. - 15.00 น. กลุ่มที่ 1 รหัสนาเสนอ MA-P-03 MA-P-04 MA-P-05 MA-P-06 MA-P-07 MA-P-08 MA-P-09 MA-P-10

ชื่อผลงานวิจยั สมการผลบวกแนวทแยงหลักของผลคูณเมทริกซ์แบบกึ่งบวกแน่นอน การหาเวกเตอร์ลักษณะเฉพาะของเมทริกซ์ขนาด n x n แบบใหม่ บทประยุกต์ของการพิสูจน์กฎของคราเมอร์ On the Diophantine Equation p^x+(p+4a)^y=z^2 where p>3 and p+4a are primes การแปลง HY ของปริพันธ์สังวัตนาการและอนุพันธ์ปริพันธ์สังวัตนาการ การหาผลเฉลยของระบบสมการเชิง (ปริพันธ์-) อนุพันธ์โดยใช้การแปลงที การหาผลเฉลยของสมการเชิงอนุพันธ์อันดับหนึ่งโดยใช้การประมาณค่า ของนิวตันและวิธีของอิตเคน สามเหลี่ยมที่อยู่ในสามเหลี่ยมที่กาหนดให้

กลุ่มที่ 2 รหัสนาเสนอ ชื่อผลงานวิจยั CH-P-28 ผลของวิธีการสกัดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมต่อการแสดงฤทธิ์ทางชีวภาพ ของดอกคาฝอย CH-P-29 ผลของอุณหภูมิในการสกัดต่อศักยภาพสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากเหง้า ไพล BI-P-03 ฤทธิ์การยับยั้งการสร้างไบโอฟิล์มของสาร GE-4 และ GE-11 จากไคร้ (Glochidion daltonii) ต่อเชื้อแบคทีเรียแกรมลบฉวยโอกาสบางชนิด BI-P-04 ฤทธิ์การยับยั้งไบโอฟิล์มของ GE-12 และ GE-15 จากพืชสกุล Glochidion spp. ต่อเชื้อแบคทีเรียแกรมลบฉวยโอกาสบางชนิด MI-P-06 ฤทธิ์ต้านแบคทีเรียก่อโรค และ Candida albicans ของ สารสกัดบริสุทธิ์ บางส่วนจากเเอคติโนมัยซีท BC-P-16 การสกัดและทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ จากสาหร่ายทะเลขนาดเล็ก Tetraselmis gracilis (BIMS-PP017) BC-P-17 ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของผลิตภัณฑ์พืชสมุนไพรไทย Boesenbergia rotunda (L.) Mansf. จากวิสาหกิจชุมชน จ.สระแก้ว

ผู้นาเสนอ นางสาวเบญจมาภรณ์ อุทกศิริ นางสาวโยษิตา ศิลปประเสริฐ

นายอนุทัต แก้วชัยปุ่น นายจิตติรัช เป็นต่อ สร้อยเเสง นางสาวศิวารินทร์ แสงเพชร นางสาวกัลญารัตน์ การะเกต

นางสาวสุวรรณี ส่องศรี นางสาวปุณิกา ทองสุขใส

ผู้นาเสนอ นางสาวเพชรธิดา รุจิยาปนนท์ นางสาวสิริมาภรณ์ โพธิ์ประสาร นางสาววชิราภรณ์ ธรรมธิศา

นางสาวธดากรณ์ โสอิน นายบรรพต สุพรรณวงศ์ นางสาวอภิญญา รุจาคม นายณัฐพัฒน์ สาพิมพ์

- หน้าที่ 21 -

ตารางการนาเสนอโครงงานวิจัยแบบแบบโปสเตอร์ (ภาคบ่าย) ณ โถง ชั้น 1 อาคารอาคารปฏิบัติการพื้นฐานและศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ เวลา 13.00 น. - 15.00 น. กลุ่มที่ 3 รหัสนาเสนอ ชื่อผลงานวิจยั CH-P-23 การเตรียมคาร์บอนดอทสาหรับการประยุกต์ใช้ทางเคมีไฟฟ้า CH-P-24 การสังเคราะห์ซีเรียมออกไซด์เพื่อการประยุกต์ใช้สาหรับเซนเซอร์ ทางเคมีไฟฟ้า CH-P-25 การเพิ่มประสิทธิภาพการวิเคราะห์ไนไตรท์ด้วยคาร์บอนดอทสาหรับ เทคนิคยูว-ี วิสิเบิลสเปกโทรโฟโตเมทรี CH-P-26 การพัฒนาขั้วไฟฟ้ากลาสซีคาร์บอนด้วยอนุภาคนาโนซีเรียสาหรับ การวิเคราะห์ไนไตรท์ CH-P-32 การควบคุมการปลดปล่อยของปุ๋ยยูเรียโดยการเคลือบวัสดุจากนาโน เซลลูโลส CH-P-33 การเปลี่ยนกลูโคสเป็น 5-ไฮดรอกซีเมทิลเฟอฟูรอลด้วยตัวเร่งปฏิกิริยา เมโซพอรัสเซอร์โคเนียมฟอสเฟตที่เจือด้วยโลหะ AP-P-02 การย่อยสลายโดยแสงเมธิลีนบลูด้วยฟิล์มบางไทเทเนียมไดออกไซด์ AP-P-04 การศึกษาพฤติกรรมการดูดซับสารเคมีของถ่านกัมมันต์ที่เตรียมจากกะลา ปาล์ม กลุ่มที่ 4 รหัสนาเสนอ ชื่อผลงานวิจยั CH-P-01 ปฏิกิริยาการแทนที่บิส(อินโดลลิว)มีเทนด้วยนิวคลีโอไฟล์ CH-P-02 การสังเคราะห์ที่ไม่สมมาตรของบิส(อินโดลลิว)อัลเคนที่ประกอบด้วย คาร์บอนจตุรภูมิ CH-P-03 การสร้างอุปกรณ์ตรวจวัดแบบผ้าด้วยวิธีการพิมพ์ผ่านแม่แบบด้วย พอลิแลคติกแอซิด CH-P-04 ไมโครโฟลอินเจคชันอะนาไลสิสบนอุปกรณ์แบบผ้าสาหรับการตรวจวัด ยาฆ่าแมลง CH-P-13 การเตรียมและวิเคราะห์ลักษณะของเม็ดพอลิเมอร์ชีวภาพที่บรรจุ สารสกัดจากธรรมชาติ CH-P-18 การสังเคราะห์สารอนุพันธ์ Dithiocarbamate EpoxyAndrographolide CH-P-21 การออกแบบและการสังเคราะห์สารอนุพันธ์ C-19 cinnamoyl และ benzoyl ของแอนโดรกราโฟไลด์ ที่ต่อกับสารกลุ่ม dithiocarbamate CH-P-22 ปฏิกิริยาการสังเคราะห์สารประกอบอัลคิลพทาลิไมด์เอสเทอร์

ผู้นาเสนอ นางสาวจิราพร ฤทธิ์เต็ม นางสาวเบญญาภา ลอยป้อม นางสาวณัฏฐ์ชญา ไวทยาพิศาล

นายกตัญญู คาอ่อนสา นางสาวนภัสสร พฤกษาชัยพร

นางสาวสิรภัทร จิตนาวสาร นายธมกร สุวรรณภาพ นางสาวสุดารัตน์ ทองอินทร์ นายณัฐพงษ์ วรรณศรี

ผู้นาเสนอ นางสาวศศิรัตน์ เขียวสนาม นางสาวปัฐธวีกานต์ ศรีภักดี นางสาวกุลวรินทร์ ศิริจันทร์ นางสาวธนพร บุญนิคม นางสาวอนงค์นาถ สัญญกาย นางสาวพรรษชล อินทะมาลี

นางสาวชนิดาภา ทองลอย นางสาวขนิษฐา งามมั่ง - หน้าที่ 22 -

ตารางการนาเสนอโครงงานวิจัยแบบแบบโปสเตอร์ (ภาคบ่าย) ณ โถง ชั้น 1 อาคารอาคารปฏิบัติการพื้นฐานและศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ เวลา 13.00 น. - 15.00 น. กลุ่มที่ 5 รหัสนาเสนอ BI-P-10 BI-P-11 BI-P-12 BI-P-13 BC-P-13 BC-P-14 MI-P-14 MI-P-17

ชื่อผลงานวิจยั ผลของไซโตไคนินและออกซินต่อการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อของสับปะรดพันธุ์ MD 2 ผลของสารละลายธาตุอาหารต่อการเจริญเติบโตและลักษณะทางสรีรวิทยาของ ผักกรีนคอสที่ปลูกในระบบไฮโดรโปนิกส์แบบน้านิ่ง การชักนาให้เกิดยอดและรากในสภาพหลอดทดลองของแก้วสารพัดนึก ผลของสูตรอาหารและระดับความเข้มข้นของสารควบคุมการเจริญเติบโตที่มีต่อ การเพิ่มปริมาณต้นและการชักนาให้เกิดแคลลัสของหยาดน้าค้าง (Drosera spatulata) ฤทธิข์ องสารสกัดจากพืช กนกนารี และ หญ้าหนวดแมว ที่มีต่อการรอดชีวิต ของเพลี้ยแป้ง ฤทธิข์ องสารสาคัญจากพืชเก๊กฮวยและทองพันชั่งที่มีตอ่ การรอดชีวิตของเพลีย้ แป้ง การศึกษาความชุกของ Salmonella ซีโรกรุ๊ปต่างๆ ที่แยกได้จากเนื้อหมูบด ที่ จาหน่ายในตลาดนัด เขตตาบลแสนสุข อาเภอเมือง จังหวัดชลบุรี การประเมินคุณภาพจุลินทรียใ์ นอากาศของอาคารสานักหอสมุด มหาวิทยาลัย บูรพา จังหวัดชลบุรี

ผู้นาเสนอ นางสาวศศิวิมล เต็มวัด นางสาวฉันทรัฐ พรมประวัติ นางสาวนริศรา นวลตา นางสาวอัญชลี จันต๊ะอุด นางสาวสุจิตา ชุนเฮง นางสาวจุฑามาศ พุทธเจริญ นายเสฏฐวุฒิ เสาร์หงษ์ นายเกียรติศักดิ์ น้อยเจริญ

กลุ่มที่ 6 รหัสนาเสนอ MI-P-16 MI-P-04 MI-P-05 MI-P-25 MI-P-33 MI-P-34 MI-P-35 MI-P-36

ชื่อผลงานวิจัย การประเมินคุณภาพจุลินทรียใ์ นอากาศของห้องบรรยายและห้องปฏิบัติการใน อาคารวิทยาศาสตร์ชีวภาพ มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี ความหลากหลายของจุลินทรียแ์ ละแบคทีเรียแลคติก ในตัวอย่างอาหารหมัก พื้นเมืองภาคอีสานของประเทศไทย การจัดจาแนกแอคติโนมัยซีทที่มีฤทธิท์ างชีวภาพโดยใช้ลาดับนิวคลีโอไทด์ของยีน 16S rRNA ความสามารถในการยับยั้ง Vibrio parahaemolyticus โดย Lactobacillus spp. ที่แยกได้จากผลิตภัณฑ์ปลาหมัก การศึกษาการปนเปื้อนของแบคทีเรียทั้งหมดและ Staphylococcus aureus ในซูชิแซลมอนที่จาหน่ายในห้างสรรพสินค้าและร้านอาหาร จังหวัดชลบุรี การศึกษาการปนเปื้อนของแบคทีเรียโคลิฟอร์มและ Escherichia coli ในซูชิ แซลมอนที่จาหน่ายในร้านค้าแผงลอย จังหวัดชลบุรี การตรวจหาเชื้อ Salmonella spp. ในเนือ้ ไก่ ที่จาหน่ายในเขตอาเภอเมือง จังหวัดชลบุรี การตรวจหาเชื้อ Salmonella spp. ในเนือ้ ไก่ ที่จาหน่ายในตลาดสด เขตอาเภอ เมือง จังหวัดชลบุรี

ผู้นาเสนอ นางสาวณัฐกฤตา แจ่มใส นายพงศ์พลิน ลาดหนอง ขุ่น นางสาวกชกร บัวช่วง นางสาววินิตา แสนปุย นางสาวกานต์ชณิกา กาล ปาด นางสาวอิสราพร กุลเกียว นางสาวซารุตา บวรกุล พาณิชย์ นางสาวอทิติยา นิพัฒกุล

- หน้าที่ 23 -

ตารางการนาเสนอโครงงานวิจัยแบบแบบโปสเตอร์ (ภาคบ่าย) ณ โถง ชั้น 1 อาคารอาคารปฏิบัติการพื้นฐานและศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ เวลา 13.00 น. - 15.00 น. กลุ่มที่ 7 รหัสนาเสนอ ชื่อผลงานวิจยั MI-P-28 คุณสมบัติการเป็นโพรไบโอติกของแบคทีเรียแลคติกที่แยกได้จากผักดอง MI-P-29 คุณสมบัติความเป็นโพรไบโอติกของแบคทีเรียแลคติกที่แยกได้จาก ผลิตภัณฑ์ปลาหมัก MI-P-37 การตรวจหาเชื้อ Salmonella spp. ที่แยกได้จากเครื่องในไก่ ที่จาหน่าย ในตลาดนัด เขตตาบลแสนสุข อาเภอเมือง จังหวัดชลบุรี MI-P-38 การตรวจหาเชื้อ Salmonella spp. ที่แยกได้จากเครื่องในไก่ที่จาหน่ายใน ตลาดนัด เขตตาบลแสนสุข อาเภอเมือง จังหวัดชลบุรี MI-P-39 การตรวจหาเชื้อ Salmonella spp. ในเนื้อไก่ที่จาหน่ายในซุปเปอร์มาเก็ต เขตตาบลแสนสุข อาเภอเมือง จังหวัดชลบุรี กลุ่มที่ 8 รหัสนาเสนอ ชื่อผลงานวิจยั BI-P-05 การศึกษาฮอร์โมนความเครียดของเสือปลา (Prionailurus viverrinus) ในกรงเลี้ยง สวนสัตว์เปิดเขาเขียว จังหวัดชลบุรี BI-P-06 การศึกษาพฤติกรรมเสือปลา (Prionailurus viverrinus) เพศเมียในกรง เลี้ยง สวนสัตว์เปิดเขาเขียว จังหวัดชลบุรี BI-P-07 การศึกษาพฤติกรรมของเสือปลาเพศผู้ (Prionailurus viverrinus) ในกรงเลี้ยง สวนสัตว์เปิดเขาเขียว จังหวัดชลบุรี BI-P-08 การศึกษาโปรตีนที่เกี่ยวข้องกับการส่งสัญญาณของตัวรับอินซูลิน ของเนื้อเยื่อตับในหนูที่มีภาวะเบาหวาน ชนิดที่ 2 BI-P-09 จุลพยาธิวิทยาของเนื้อเยื่อตับในหนูที่มีภาวะเบาหวาน ชนิดที่ 2 BC-P-12 ฤทธิ์ยับยั้งสารกลุ่มฟลาโวนอยด์ต่อเอนไซม์ CYP2A6*7 BC-P-15 ฤทธิ์ยับยั้งสารกลุ่มฟลาโวนอยด์ต่อเอนไซม์ CYP2A6*8 BC-P-18 การสกัดและทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดหยาบกาวไหมจากไปป่า Bombyx mori เพื่อพัฒนาไปเป็นส่วนประกอบของเวชสาอาง

ผู้นาเสนอ นางสาวรพีพรรณ จิตมหา นางสาวนัทธ์ชนัน พวรรณา นางสาวปรียาพร ทองหล่อ นางสาวศิริพร ชะสันติ นางสาววิชญาดา หาสุข

ผู้นาเสนอ นางสาวพรรษมน สังคเลิศ นางสาวพิสชา ขันอาษา นางสาวพุธิตา บรรเทา นางสาวพรชนก ขาคมกุล นางสาวชนกนันท์ เดิมขุนทด นางสาวลัดดาวรรณ พันธโนราช

นายสุภัค นาคทองคา นายเรืองศักดิ์ เบญจกิจ

- หน้าที่ 24 -

ตารางการนาเสนอโครงงานวิจัยแบบแบบโปสเตอร์ (ภาคบ่าย) ณ โถง ชั้น 1 อาคารอาคารปฏิบัติการพื้นฐานและศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ เวลา 13.00 น. - 15.00 น. กลุ่มที่ 9 รหัสนาเสนอ ชื่อผลงานวิจยั MA-P-01 แบบจาลองเหยื่อและผู้ล่า กรณีศึกษาแพลงก์ตอน บลูมในทะเลบางแสน MA-P-02 การพัฒนาแบบจาลองเชิงคณิตศาสตร์ของเซลล์ที่ติดเชื้อ SARS-CoV-2 PY-P-01 การประเมินค่าระดับกัมมันตภาพรังสีธรรมชาติและความเป็นอันตรายทาง รังสีของบริเวณชายหาด ในจังหวัดชลบุรี AQ-P-05 อิทธิพลของปริมาณสารอาหารต่อการสะพรั่งของแพลงก์ตอนพืชบริเวณ ชายฝั่งทะเล จังหวัดชลบุรี

ผู้นาเสนอ นางสาวจิรัชญา กออุดมศักดิ์

นางสาวชุติมา ฤทธิสิงห์ นางสาวธมนวรรณ อ่องรุ่งเรือง

นางสาวพรชิดา จันนุ่ม

- หน้าที่ 25 -

บทคัดย่อ การนาเสนอแบบบรรยาย

- หน้าที่ 26 -

Program: Mathematics; B.Sc. (Mathematics) Keyword:

Balancing numbers / Cobalancing numbers / t-Balancing numbers / t-Cocobalancing numbers 61030007 Sasom Kaewmanee; t-Cocobalancing numbers

Advisor: Associate Professor, Dr.Apisit Pakapongpun Academic year 2021. Let 𝑡 be a non-negative integer. A positive integer 𝑛 is called a 𝑡-cocobalancing number if 𝑛 is a solution of the equation 1 + 2 + 3 + ⋯ + 𝑛 + (𝑛 + 1) = (𝑛 + 1 + 𝑡) + (𝑛 + 2 + 𝑡) + ⋯ + (𝑛 + 𝑟 + 𝑡) for some positive integer 𝑟. The purpose of this project is to find a generating function and recurrence relations of 𝑡-cocobalancing numbers and verify some interesting properties of 𝑡-cocobalancing numbers.

MA-O-01

- หน้าที่ 27 -

สาขาวิชา: คณิตศาสตร์; วท.บ. (คณิตศาสตร์) คำสำคัญ:

สมการเชิงปริพันธ์-อนุพันธ์ / การแปลงเชิงปริพันธ์ทั่วไป / การวิเคราะห์ฮอมอโทปี 61030071 อนิรุต ศิลาวารินทร์; การวิเคราะห์ฮอมอโทปีและการแปลงเชิงปริพันธ์

ทั่วไปสำหรับการหาผลเฉลยชองสมการเชิงปริพนั ธ์-อนุพันธ์ อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตร์ตราจารย์ ดร.ดวงกมล ผลเต็ม ปีการศึกษา 2564. งานวิจัยนี้ศึกษาการวิเคราะห์ฮอมอโทปีและการแปลงเชิงปริพันธ์ทั่วไป เพื่อใช้ในการ หาผลเฉลยของสมการเชิงปริพันธ์-อนุพันธ์ ซึ่งผลเฉลยที่ได้รับเป็นรูปของอนุกรม สุดท้ายยังได้แสดงให้ เห็นว่าวิธีการนี้ใช้ในการหาผลเฉลยได้เป็นอย่างดี โดยแสดงตัวอย่างให้เห็นถึงกระบวนการและความ ถูกต้องของผลเฉลยที่ได้รับ

MA-O-02

- หน้าที่ 28 -

คําสําคัญ:

สาขาวิชา: เคมี; วท.บ. (เคมี) คอลเลทโตทริปติน เอ และบี / ปฏิกิริยาทรานส์อินโดลลิเลชัน / อินโดล 61030018 วิไลลักษณ์ แซ่แต้; การสังเคราะห์คอลเลทโตทริปติน เอ และบี

อาจารย์ที่ปรึกษา: รองศาสตราจารย์ ดร.จเร จรัญจรูญพงศ์ ปีการศึกษา 2564. คอลเลทโตทริปติน เอ และบี (Colletotryptins A and B) เป็นสารแอลคาลอยด์ใน ธรรมชาติกลุ่มของไดเมอริกอินโดลที่มีความสัมพันธ์เป็นคู่อิแนนทิโอเมอร์กัน สกัดได้จากการหมักเชื้อ รา endophytic fungus Colletotrichum sp. SC1355 ที ่ แ ยกได้ จ ากใบของมะเกี ๋ ย ง (ชื่ อ วิทยาศาสตร์ Cleistocalyx operculatus) อย่างไรก็ตามจากการศึกษาพบว่ายังไม่มีรายงานการ สังเคราะห์คอลเลทโตทริปติน เอ และบี ในงานวิจัยนี้ได้เสนอวิธีการสังเคราะห์คอลเลทโตทริปติน เอ และ บี ผ่านปฏิกิริยาสําคัญ ได้แก่ ปฏิกิริยา ทรานส์อินโดลลิเลชันที่ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาเป็นบิสมัสไตร ฟลูออโรมีเทนซัลโฟเนต (Bi(OTf)3-catalyzed transindolylation) โดยเริ่มจากการสังเคราะห์สารตั้ง ต้นสําหรับปฏิกิริยาทรานส์อินโดลลิเลชัน ได้แก่ 3,3-บิส(1เฮช-อินโดล-3-อิล)โพรเพน-1,2-ไดออล (3) ด้วยปฏิกิริยาระหว่าง อินโดล 2 มิลลิโมล (1) ทําปฏิกิริยากับ ดี-กลีเซอรอลดีไฮด์ 1 มิลลิโมล (2) ภายใต้สภาวะที่เหมาะสม จากนั้นทําการแทนที่วงอินโดลของสาร 3,3-บิส(1เฮช-อินโดล-3-อิล)โพรเพน-1,2-ไดออล (3) 1 วง ด้วย 3-(2-ไฮดรอกซีเอทิล)อินโดล (4) โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาเป็นบิสมัส ไตรฟลูออโรมีเทนซัลโฟเนต (Bi(OTf)3) ในตัวทําละลายผสมระหว่างโทลูอีน กับอะซิโตไนไตรล์ ที่ อุณหภูมิห้อง เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์คอลเลทโตทริปติน เอ (5) และบี (6) ที่มีโครงสร้างบิส(อินโดลอิว) มีเทนแบบไม่สมมาตร

CH-O-01

- หน้าที่ 29 -

สาขาวิชา: เคมี; วท.บ. (เคมี) คาสาคัญ ไตรเมทิลออเทอร์ฟอร์เมท / สารประกอบอะโรมาติก / คาร์บาลดีไฮด์ 61030199 กิรติพงษ์ เจริญสวัสดิ ์; การสังเคราะห์อะโรมาติกคาร์บาลดีไฮด์จาก สารประกอบอะโรมาติกด้วยวิธกี ารใหม่และง่าย อาจารย์ทปี่ รึกษา: รองศาสตราจารย์ ดร. จเร จรัสจรูญพงศ์ ปี การศึกษา 2564. แอลดีไฮด์เป็ นสารประกอบอินทรียท์ ใี่ ช้ประโยชน์ได้หลากหลายในทางอุตสาหกรรม และ ทางชีวภาพนอกจากนี้แอลดีไฮด์สามารถนาไปพัฒนาต่อเป็ นสารอินทรีย์และวัสดุอินทรีย์ชนิดต่างๆ ได้ หลากหลาย จากการศึกษางานวิจยั พบว่ามีรายงานการสังเคราะห์คาร์บาลดีไฮด์หลายวิธี อย่างไรก็ตาม พบว่าการสังเคราะห์คาร์บาลดีไฮด์ทเี่ คยมีรายงานส่วนใหญ่มกี ารใช้ตวั เร่งปฏิกริ ยิ าที่เป็ นโลหะ หรือมีการ ใช้ตวั ทาละลายอินทรีย์ซ่งึ อาจส่งผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม อีกทัง้ บางวิธีการสังเคราะห์ต้องทาปฏิกริ ยิ า ภายใต้สภาวะทีร่ ุนแรงและ ที่อุณหภูมสิ ูง ในงานวิจยั นี้มวี ตั ถุประสงค์เพื่อรายงานการสังเคราะห์ คาร์บาลดีไฮด์จากสารประกอบอะโรมาติกด้วยวิธีการใหม่ที่สะดวกและง่ายต่อการสังเคราะห์โดยมีตัวทา ปฏิกิริยาคือ ไตรเมทิลออเทอร์ฟ อร์เมทซึ่งมี ราคาถูกเป็ นสารให้หมู่ค าร์บ าลดีไฮด์ โดยใช้ตวั เร่ ง ปฏิกริ ยิ าเป็ นกรดลิวอิสคือ โบรอนไตรฟลูออไรด์ไดเอทิลอีเทอร์เรทในสภาวะที่ปราศจากตัวทาละลายทา ปฏิกริ ยิ าภายใต้สภาวะทีไ่ ม่รุนแรงและทีอ่ ุณภูมหิ อ้ งพบว่า ได้รอ้ ยละผลิตภัณฑ์ที่ ดี

CH-O-02

- หน้าที่ 30 -

สาขาวิชา: เคมี; วท.บ. (เคมี) คาสาคัญ:

(±)-คอลเลทโตทริปติน อี / ซิลิกา-กรดซัลฟิวริก / ทรานส์อินโดลิเลชัน 61030256 สุธีมนต์ บุญมี; การสังเคราะห์สารประกอบ (±)-คอลเลทโตทริปติน อี

ด้วยวิธีการที่สั้น อาจารย์ที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร. จเร จรัสจรูญพงศ์ ปีการศึกษา 2564. (±)-คอลเลทโตทริปติน อี เป็นสารสกัดที่แยกให้บริสุทธิ์จากเชื้อรา Colletotrichum sp. SC1355 ซึ่งสกัดจากใบของต้นมะเกี๋ยง หรือชื่อในทางวิทยาศาสตร์คือ Cleistocalyx operculatus มีฤทธิ์ทางชีวภาพเป็นยารักษาโรคมะเร็งได้หลายชนิด (±)-คอลเลทโตทริปติน อี จัดเป็นสารในกลุ่มอิน โดลไดเมอร์ ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มอินโดลอัลคาลอยด์ ในงานวิจัยนี้ได้รายงานการสังเคราะห์ (±)-คอลเลทโตทริปติน อี ด้วยวิธีการที่สั้น โดยสังเคราะห์ผ่านทั้งหมด 3 ขั้นตอน เริ่มจากขั้นตอนที่ 1 การเตรียม 3,3'-(2-(เบนซิลอกซี)อีเทน-1,1-ไดอิล)บิส(1H-อินโดล) (3) โดยใช้อินโดล (1) สองโมเลกุล ทำปฏิกิริยาคอนเดนเซชันกับเบนซิลออกไซยาแอซิทาลดีไฮด์ (2) โดยมีซิลิกา-กรดซัลฟิวริกเป็นตัวเร่ง ปฏิกิริยาในตัวทำละลายอะซีโทไนไทรล์ จากนั้นนำสาร 3 ทำปฏิกิริยาทรานส์อินโดลิเลชันด้วยอินโดล3-เอทานอล (4) โดยมีซิลิกา-กรดซัลฟิวริกเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาในตัวทำละลายอะซีโทไนไทรล์ที่ อุณหภูมิห้องได้สาร 2-(2-(2-(เบนซิลอกซี)-1-(1H-อินโดล-3-อิล)เอทิล)-1H-อินโดล-3-อิล)อีเทน-1-ออล (5) เป็นผลิตภัณฑ์ ในขั้นตอนสุดท้ายเป็นการเปลี่ยนหมู่แอลคิลเบนซิลอีเทอร์ให้เป็นแอลกอฮอล์ด้วย ปฏิกิริยาไฮโดรจีเนชัน ได้ (±)-คอลเลทโตทริปติน อี (6) เป็นผลิตภัณฑ์ที่ต้องการในร้อยละผลิตภัณฑ์ที่ สูง

CH-O-03

- หน้าที่ 31 -

สาขาวิชา: เคมี; วท.บ. (เคมี) คาสาคัญ: 4-methoxycinnamyl p-cumarate / ของเหลวไออนิก / เอสเทอริฟิเคชัน 61030077 ประภากร สมบุญมาก; การสังเคราะห์สารอัลคิลซินนาเมตอนาล็อก ผ่านปฏิกริ ยิ าเอสเทอริฟิเคชัน โดยใช้ของเหลวไอออนิกชนิดกรดเป็ นตัวเร่งปฏิกริ ยิ า อาจารย์ทป่ี รึกษา : ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.เอกรัฐ ศรีสุข ปี การศึกษา 2564. 4-methoxycinnamyl p-cumarate (MCC) เป็ นสารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติทม่ี ฤี ทธิ ์ ต้านการอักเสบทีน่ ่ าสนใจ สามารถสกัดได้จากเหง้าของต้นเร่วหอม (Etlingera pavieana) แต่ม ี สารปริม าณน้ อ ยท าให้เ กิด ข้อ จ ากัด ในการน าสารไปศึก ษาระดับ เซลล์ ผู้ว ิจ ยั จึง สนใจที่จ ะ สังเคราะห์เลียนแบบสาร MCC ด้วยวิธกี ารทางเคมีอย่างง่ายผ่านปฏิกิรยิ าเอสเทอร์รฟิ ิ เคชันโดย ใช้ ข องเหลวไอออนิ ก ชนิ ด กรดชื่อ 1-butylsulfonic-3-methylimidazolium hydrogensulfate ([bsmim][HSO4]) เป็ นตัวเร่งปฏิกริ ยิ า ในงานวิจยั นี้เริม่ ต้นศึกษาด้วยการสังเคราะห์อนุ พนั ธ์ของ ส า ร อั ล คิ ล ซิ น น า เ ม ต ( Alkyl cinnamate) โ ด ย ใ ช้ ก ร ด ซิ น น า มิ ก (Cinnamic acid) แ ล ะ เอทิลแอลกอฮอล์ (Ethyl alcohol) เป็ นปฏิกริ ยิ าต้นแบบ พบว่าทีส่ ภาวะ 60 oC ใช้ตวั เร่งปฏิกริ ยิ า 20 mol% ใช้เอทิลแอลกอฮอล์มากเกินพอเป็ นเวลา 16 ชัวโมง ่ จะให้รอ้ ยละผลิตภัณฑ์ของเอทิล ซินนาเมต (Ethyl cinnamate) สูงสุ ด คือ 92% จากนัน้ ผู้ว ิจยั จะปรับเปลี่ยนแอลกอฮอล์ ช นิ ด ต่างๆ เพื่อสังเคราะห์สารอนุ พนั ธ์อ่นื ๆ อีกทัง้ พัฒนาวิธกี ารสังเคราะห์เพื่อให้ได้สาร MCC ตามที่ ต้องการต่อไป

CH-O-04

- หน้าที่ 32 -

สาขาวิชา: เคมี; วท.บ. (เคมี) คําสําคัญ: ไลโปโซม / สารสกัดเหง้าเร่วหอม / Reverse phase evaporation 61030247 สตกมล ชูศรีทอง; การพัฒนาตํารับไลโปโซมบรรจุสารสกัดเหง้าเร่ว หอมเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการยับยัง้ เอนไซม์ไทโรซิเนส อาจารย์ทป่ี รึกษา : ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เอกรัฐ ศรีสขุ ปี การศึกษา 2564. การวิจยั ในครัง้ นี้ได้ทําการเตรียมไลโปโซมบรรจุสารสกัดเหง้าเร่วหอม ซึ่งต้น เร่ ว หอมหรื อ Etlingera pavieana (Pierre ex Gangnep.) R.M.Sm. เป็ นพื ช เฉพาะถิ่ น ของ จังหวัดจันทบุร ี ประเทศไทย จัดอยูใ่ นวงศ์ Zingiberaceae นัน้ มีฤทธิ ์ในการต้านอนุมลู อิสระ ต้าน อักเสบและฤทธิ ์ยับยัง้ เอนไซม์ไทโรซิเนส จึงพัฒนาตํารับของสารสกัดเหง้าเร่วหอมเพื่อนํามาใช้ ในเวชสําอาง โดยทําการสกัดเหง้าเร่วหอมด้วยวิธีรฟี ลักซ์ใ นตัวทําละลายเอทานอล 100% ดังนัน้ ในงานวิจยั นี้จงึ ทําการศึกษาการเตรียมไลโปโซมบรรจุสารสกัดเหง้าเร่วหอมจากฟอสฟาติดวิ โคลีนและคอเลสเตอรอลด้วยวิธี Reverse phase evaporation โดยวัดร้อยละการกักเก็บ สารสกัดด้วยเครื่องโครมาโทกราฟี ของเหลวสมรรถภนะสูง (HPLC) วัดขนาดและค่าการกระจาย ตัวของไลโปโซมบรรจุสารสกัดเหง้าเร่วหอมด้วยเครื่องวิเคราะห์ขนาดอนุ ภาค ศักย์ซีต้าและ นํ้ าหนักโมเลกุล (Zetasizer) นํ าไลโปโซมที่บรรจุสารสกัดเหง้าเร่วหอมมาทําตํารับให้อยู่ในรูป ครีมเวชสําอาง

CH-O-05

- หน้าที่ 33 -

สาขาวิชา: เคมี; วท.บ. (เคมี) คาสาคัญ:

น้ามันหอมระเหย / ต้นเร่วหอม / ต้นเร่วป่า 61030228 ปาริฉัตร อุไรอาไพ; องค์ประกอบทางเคมีของน้ามันหอมระเหยจากต้น

เร่วหอมและต้นเร่วป่า ในจังหวัดจันทบุรี ประเทศไทย อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เอกรัฐ ศรีสุข ปีการศึกษา 2564. ต ้ น เ ร ่ ว ห อ ม Etlingera pavieana (Pierre ex Gagnep.) R.M.Sm. แ ล ะ ต ้ น เ ร ่ ว ป่ า Amomum dealbatum Roxb. ซึ่งเป็นพืชในวงศ์Zingiberaceae ในจังหวัดจันทบุรี ประเทศไทย งานวิจัยก่อนหน้านี้ได้ศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของน้ามันหอมระเหยในส่วนของเหง้าของต้นเร่ว หอม ในขณะที่ล าต้นและใบเป็นวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรและยังไม่มีการศึกษาองค์ประกอบทาง เคมีของต้นเร่วหอมและต้นเร่วป่า ดังนั้นผู้วิจัยจึงสนใจศึกษาเปรียบเทียบองค์ประกอบทางเคมี ของ น ้ า มั น หอมระเหยจากเหง้ า ล าต้ น และใบของต้ น เร่ ว หอมและเร่ ว ป่ า จากการกลั ่ น ด้ ว ยน ้ า (Hydrodistillation) และการสกัดด้ว ยปิโ ตรเลียม อีเทอร์ และน าน ้ามันหอมระเหยที่ส กัดได้ ม า วิเคราะห์องค์ป ระกอบทางเคมี ด้ว ยเทคนิค แก๊ส โครมาโทกราฟี -แมสสเปกโตรเมทรี และเทคนิ ค นิวเคลียร์แมกเนติกเรโซแนนซ์สเปกโตรสโคปี พบว่า น้ามันหอมระเหยของเหง้า ลาต้นและใบของต้น เร่วหอมมี Estragole เป็นองค์ประกอบหลัก ส่วนน้ามันหอมระเหยของต้นเร่วป่ามีปริมาณน้อยมากจึง ไม่สามารถทาการวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีได้

CH-O-06

- หน้าที่ 34 -

สาขาวิชา: เคมี; วท.บ. (เคมี) คำสำคัญ:

4-methoxycinnamyl p-cumarate / คอลัมน์โครมาโตรกราฟี / เจลฟิวเตรชั่นโคร

มาโตรกราฟี 61030013 ณัฐชยา มนต์ประสิทธิ์; การเปรียบเทียบเทคนิคการแยกสาร 4-methoxycinnamyl p-cumarate (MCC) จากเร่วหอม อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เอกรัฐ ศรีสุข ปีการศึกษา 2564. เ ร ่ ว ห อ ม Etlingera pavieana (Pierre ex Gagnep.) R.M.Sm. พ ื ช ใ น ว ง ศ์ Zingiberaceae เป็ น สมุ น ไพรที่ ม ี ส รรพคุ ณ ทางยาในตำราแพทย์ แ ผนไทย โดยมี ส าร 4methoxycinnamyl p-coumarate (MCC) เป็นสารสำคัญที่ออกฤทธิ์ต้านการอักเสบ ในการนำไปใช้ เป็นส่วนผสมของยารักษาโรค หรือใช้เป็นข้อมูลต่อยอดในการทดลองที่มีความจำเป็นต้องใช้สาร MCC ในปริมาณมาก มีความบริสุทธ์สูงและได้วิธีที่ง่าย ซึ่งผู้วิจัยต้องการแยกสารสำคัญนี้ออกจากเร่วหอมให้ มีความบริสุทธิ์สูง ดังนั้นในงานวิจัยนี้ผู้วิจัยจึงศึกษากระบวนการแยกสาร MCC ออกจากสารสกัดเอทา นอลในส่วนต่างๆของเร่วหอม โดยเปรียบเทียบระหว่างวิธีคอลัมน์โครมาโตรกราฟีที่มีเฟสเคลื่อนที่จาก 2 ระบบ คือ 100% ไดคลอโรมีเทน และ 15% เอทิลอะซิเตทต่อเฮกเซน กับวิธีเจลฟิวเตรชั่นโครมา โตรกราฟี เพื่อให้ได้ปริมาณ MCC ต่อน้ำหนักสารสกัดสูงที่สุด และมีความบริสุทธิ์สูงที่สุดแล้วนำไปวัด ปริ ม าณความเข้ ม ข้ น ของ MCC โดยเทคนิ ค โครมาโทกราฟี ข องเหลวสมรรถนะสู ง (High Performance Liquid Chromatography: HPLC) และพิสูจน์โครงสร้างด้วยเทคนิคนิวเคลียร์แมก เนติกเรโซแนนซ์สเปกโตรสโคปี (Nuclear Magnetic Resonance Spectroscopy: NMR)

CH-O-07

- หน้าที่ 35 -

สาขาวิชา: เคมี; วท.บ. (เคมี) คําสําคัญ: นาโนเซลลูโลส พิกเกอริงอิมลั ชัน การควบคุมการปลดปล่อยกลิน่ สบู่ 61030598 รณกร ธงยาม; นาโนเซลลูโลสอิมลั ชันจากชานอ้อย เพื่อนําไป ประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์ทําความสะอาด อาจารย์ทปี่ รึกษา: ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.การะเกด เทศศรี ปี การศึกษา 2564. วัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรที่โ ครงสร้างประกอบด้วยเซลลูโลส สามารถ นำมาสกัดและย่อยสลายเป�น นาโนเซลลูโลส สำหรับการประยุกต์ใช้งานด้านต่าง ๆ งานวิจัยนี้ สนใจผลิตนาโนเซลลูโลสจากชานอ้อย และนำมาใช้เตรียมเป�นอิมัลชันชนิดของแข็ง หรือ พิกเกอริง อิมัลชัน (Pickering) ชนิดน้ำมันในน้ำ เพื่อการกักเก็บน้ำมันหอมระเหยในสบู่ นาโนเซลลูโลสสามารถ สกัดได้โดย นำชานอ้อยที่แห้งมาบดให้ละเอียด ทำการสกัด 3 ขั้นตอน ได้แก่ การใช้ NaOH เพื่อ กำจัดลิกนิน การฟอกสีโดยใช้ตัวออกซิไดซ์ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ และการย่อยสลายโดยใช้ปฏิกิริยา ไฮโดรลิซิส ศึกษาลักษณะ รูปร่าง ของนาโนเซลลูโลสด้วยเทคนิคกล้องจุลทรรศน์แบบส่องกราด (SEM) วิเคราะห์หมู่ฟ�งก์ชันที่พื้นผิวโดยเทคนิคอินฟราเรดสเปกโทรสโกป� (FT-IR) ศึกษาโครงสร้าง ผลึกและค่าดัชนีความเป�นผลึกด้วยเทคนิคการเลีย้ วเบนรังสีเอ็กซ์ ศึกษาการกระจายตัวของหยดน้ำมัน (น้ำมันมะกอก) ในนาโนเซลลูโลสอิมัลชัน โดยกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงพร้อมชุดถ่ายภาพ (LM/ DIC/ Fluorescence) ศึ ก ษาความเสถี ย รของอิ ม ั ล ชั น โดยการวิ เ คราะห์ ค ่ า ดั ช นี ก ารเกิ ด ครี ม (Creaming index) พบว่าที่สภาวะที่เหมาะสมทำให้เกิดอิมัลชันที่มีความเสถียรสูงและน้ำมันมีการ กระจายตัวที่ดี นอกจากนี้สนใจนำนาโนเซลลูโลสอิมลั ชันที่กักเก็บน้ำมันมะกอก และน้ำมันหอมระเหย และทดลองผสมลงในสบู่ เพื่อช่วยควบคุมและยืดระยะเวลาปลดปล่อยกลิ่นน้ำมันหอมระเหย และ ควบคุมการกระจายตัวของน้ำมันมะกอกในสบู่ เพื่อรักษาความชุ่มชื้นของผิว

CH-O-08

- หน้าที่ 36 -

สาขาวิชา: เคมี; วท.บ. (เคมี) คาสาคัญ: Catalysts / Carbohydrates / Copper 61030009 เกศมณี ทองอุไร; การเปลีย่ นกลูโคสเป็ นสาร 5-ไฮดรอกซีเมทิลเฟอ ฟูรอล โดยตัวเร่งปฏิกริ ยิ าเมโซพอรัสเซอร์โคเนียมฟอสเฟตและเซอร์โคเนียมฟอสเฟตทีเ่ จือด้วย โลหะคอปเปอร์ อาจารย์ทป่ี รึกษา : ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.การะเกด เทศศรี ปี การศึกษา 2564. งานวิจัยนี้เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์เซอร์โคเนียมฟอสเฟต (m-ZrPO) และเซอร์โคเนียม ฟอสเฟตที่เจือด้วยโลหะคอปเปอร์ (m-CuZrPO) สำหรับใช้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาการเปลี่ยนน้ำตาล กลูโคสเป็นสารประกอบ 5-Hydroxymethylfurfural (HMF) การสังเคราะห์ตัวเร่งปฏิกิริยาทั้งสองใช้ วิธีไฮโดรเทอร์มอล โดยมีตัว Pluronic P123 เป็นสารกำหนดโครงสร้างและขนาดของรูพรุน ศึกษา ลักษณะรูป ร่าง การกระจายของอนุภ าคด้ว ยเทคนิคจุล ทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่าน (TEM) วิเคราะห์โครงสร้างผลึก ด้วยเทคนิคการเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ์ (XRD) ศึกษาความเป็นกรดของ ตัวเร่งปฏิกิริยาด้วยเทคนิคอินฟราเรดสเปกโตรสโกปี (ATR-FTIR) จากการดูดซับของไพริดีน ทดสอบ ความสามารถในการเร่งปฏิกิริยาการเปลี่ยนน้ำตาลกลูโคสเป็น HMF ในตัวกลางน้ำ การศึกษาปัจจัย ต่าง ๆ ที่มีผลต่อประสิทธิภาพการเร่งปฏิกิริยา พบว่า ที่สภาวะที่เหมาะสม เมื่อใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา m-ZrPO ร้อยละโดยน้ำหนักเทียบกับกลูโคส 5 อุณหภูมกิ ารเกิดปฏิกริ ิยา 180 องศาเซลเซียส เวลาใน การทำปฏิกิริยา 3 ชั่วโมง ได้ร้อยละผลิตภัณฑ์ HMF เท่ากับ 27.65 ในขณะที่การเติมคอปเปอร์เพิ่มใน ตัวอย่าง m-CUZrPO ส่งผลให้ร้อยละผลิตภัณฑ์ HMF ลดต่ำลง

CH-O-09

- หน้าที่ 37 -

สาขาวิชา: จุลชีววิทยา; วท.บ. (วิทยาศาสตร) ความสำคัญ: เนื้อหมูบด / loop mediated isothermal amplification / Listeria monocytogenes 61030274 นําทิพย์ ชมประคต: การใช้เทคนิค loop mediated isothermal amplification เพือตรวจสอบ Listeria monocytogenes ในเนือหมู (Using of Loop Mediated Isothermal Amplification for Detection of Listeria monocytogenes in Minced Pork): อาจารย์ทีปรึ กษาผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. สุดารัตน์ สวนจิตร ปี การศึกษา 2564. Listeria monocytogenes เป็ นแบคที เ รี ยก่ อ โรคผ่ า นทางอาหารโดยทํา ให้ เ กิ ด โรคลิ ส เทอริ โอซิ ส (Listeriosis) โดยทําให้เกิดโรคอาหารเป็ นพิษ เยือหุ้มสมองอักเสบ และการติดเชือในกระแสโลหิ ต มักพบการ ปนเปื อนแบคทีเรี ยชนิดนีในเนื อสัตว์ เช่น เนือหมู ในปัจจุบนั เทคนิคแลมป์ (LAMP; Loop-mediated isothermal amplification) เป็ นวิธีทีได้รับการยอมรับสําหรับการตรวจวิเคราะห์ L. monocytogenes เทคนิ คนี อาศัยการเพิม ปริ มาณของสารพันธุกรรมโดยการใช้อุณหภูมิคงทีอุณหภูมิเดียว สามารถปฏิบตั ิได้ง่าย รวดเร็ ว มีความแม่นยํา และความจําเพาะสู ง ดังนันงานวิจยั นี จึ งมี วตั ถุป ระสงค์เพือนํา เทคนิ ค LAMP มาใช้ตรวจสอบการปนเปื อน L. monocytogenes ในตัว อย่ า งเนื อหมู บ ด ในการดํา เนิ น ปฏิ กิ ริ ย า LAMP ใช้ไ พรเมอร์ จ ํา นวน เส้ น ซึ งมี ความจําเพาะต่อยีนเป้าหมายทีใช้ในการตรวจวิเคราะห์คือ hlyA ซึงเป็ นยีนทีนํารหัสการสร้างโปรตีน listeriosin ซึ งถือเป็ น Virulence factor ทีสําคัญของ L. monocytogenes ตัวอย่างหมูบดทีใช้ในการศึกษาซื อจากร้ านค้าใน ตลาดนัดบริ เวณด้านหลังมหาวิทยาลัยบูรพาและตลาดหนองมนนํามาเพิมปริ มาณเชื อในอาหาร Simultaneous enrichment broth (SEB) และตรวจสอบโดยเทคนิค LAMP ควบคู่กบั การตรวจสอบด้วยเทคนิค PCR ผลทีได้จาก การศึกษาสามารถนําไปใช้เป็ นข้อมูลประกอบการจัดการด้านสุขาภิบาลและความปลอดภัยของอาหารเพือทําให้ เกิดความปลอดภัยของผูบ้ ริ โภคได้ต่อไป

MI-O-02

- หน้าที่ 38 -

สาขาวิชา: จุลชีววิทยา; วท.บ. (จุลชีววิทยา) คำสำคัญ: ผักสลัด/ Loop Mediated Isothermal Amplification/ Salmonella Typhimurium 61030272 ธัญญารัตน์ ท้าวกัลยา: การตรวจสอบ Salmonella spp. ในผักสลัด โดย Loop Mediated Isothermal Amplification (Detection of Salmonella spp. in vegetable for Salad by Loop Mediated Isothermal Amplification): อาจารย์ท่ปี รึกษา ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. สุดารัตน์ สวนจิตร ปี การศึกษา 2564. Salmonella เป็ นแบคทีเรียก่อโรคในระบบทางเดินอาหารที่สาคัญ ซึง่ เป็ นปั ญหาทาง สาธารณสุขทั่วโลก โดยพบการปนเปื ้อน Salmonella ได้บอ่ ยในอาหารประเภทเนือ้ สัตว์และ ผลิตภัณฑ์จากสัตว์ เช่น นม ไข่ นอกจากนีย้ งั พบรายงานการปนเปื ้อนในผักสลัดหลายชนิด วิธีตรวจสอบ Salmonella spp. แบบดัง้ เดิม คือ การเพาะเลีย้ งเชือ้ ร่วมกับการทดสอบทางปฏิกิรยิ า ชีวเคมี ซึง่ มีขอ้ จากัดในเรื่องของเวลา ในปั จจุบนั มีเทคนิคที่เรียกว่า Loop Mediated Isothermal Amplification (LAMP) ซึงเป็ นเทคนิคที่ได้รบั ความสนใจเป็ นอย่างมาก เนื่องจากสามารถเพิ่ม ปริมาณดีเอ็นเอภายใต้สภาวะอุณหภูมิคงที่ ทาให้สะดวกต่อการปฏิบตั ิ มีความรวดเร็วและจาเพาะ สูง ดังนัน้ ในงานวิจยั นีจ้ งึ มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาอุบตั ิการณ์ของ Salmonella spp. ในผักสลัดโดย ใช้เทคนิค LAMP ยีนที่เป็ นเป้าหมายสาหรับการตรวจสอบ คือ invA ซึง่ นารหัสโปรตีนที่เกี่ยวข้องกับ การบุกรุกเซลล์โฮสต์ของ Salmonella ตัวอย่างผักสลัดนามาจากตลาดนัดรอบมหาวิทยาลัยบูรพา นามาเพิ่มปริมาณเชือ้ ในอาหาร Rappaport-Vassiliadis broth (RV) และตรวจสอบโดยเทคนิค LAMP ควบคูก่ บั การตรวจสอบด้วยเทคนิค PCR ผลการศึกษาที่ได้จะเป็ นประโยชน์ต่อการนาไปใช้ เป็ นข้อมูลสาหรับการจัดการด้านสุขาภิบาลอาหารและการป้องกันความเสี่ยงต่อการติดเชือ้ ของ ผูบ้ ริโภคได้

MI-O-03

- หน้าที่ 39 -

สาขาวิชา: ชีวเคมี; วท.บ. (ชีวเคมี) คำสำคัญ:

กะปิ / โพลีฟีนอล / ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ / อนุมูลอิสระ 61030308 พัชร สิมะวัฒนา; ความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระของกะปิที่ทำมาจากเคย

ในพื้นที่ต่างๆ ของประเทศไทย อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร. ชัชวิน เพชรเลิศ ปีการศึกษา 2564.

งานวิจัยนี้ศึกษาความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระของกะปิที่ทำมาจากเคยในพื้นที่ต่างๆ ของประเทศไทย ได้แก่ จังหวัดสมุทรสงคราม ชลบุรี ตราด ชุมพร และตรัง ซึ่งในการทดสอบครั้งนี้ได้นำเนื้อกะปิ มาทำการละลายด้วยน้ำกลั่นจากนั้นนำไปเซนตริฟิวจ์ ได้ส่วนสกัดออกมา แล้วนำมาหาปริมาณสารประกอบ ฟีนอลรวม และทดสอบความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี DPPH และวิธี ABTS พร้อมกับทำการ ตรวจสอบเชิงคุณภาพของสารโพลีฟีนอลชนิดต่างๆ โดยวิธีการทำให้เกิดสี จากผลการทดสอบพบว่า ส่วนสกัด ของกะปิจากจังหวัดตราดมีปริมาณสารประกอบฟีนอลรวมมากที่สุดเท่ากับ 4.28±0.21 มิลลิกรัมสมมูลของ กรดแกลลิกต่อกรัมของส่วนสกัดกะปิ และเมื่อทดสอบความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี DPPH และ วิธี ABTS พบว่าส่วนสกัดของกะปิจากจังหวัดตราด มีค่า IC50 น้อยที่สุดเท่ากับ 17.23±1.76 และ 0.17±0.04 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ตามลำดับ และเมื่อตรวจสอบเชิงคุณภาพของสารโพลีฟีนอลชนิดต่างๆ พบว่ากะปิทุก จังหวัดที่นำมาทดสอบมีสารโพลีฟีนอล ฟลาวาโนน ฟลาโวนอล ฟลาโวน แซนโทน และคะเตชิน จากการศึกษา ในครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า กะปิจากจังหวัดตราดมีความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระได้ดีที่สุด ซึ่งผู้บริโภค สามารถนำมาประกอบการตัดสินใจในการเลือกซื้อกะปิมาบริโภค และเป็นช่องทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อ เพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าประเภทนี้ต่อไป

BC-O-02

- หน้าที่ 40 -

สาขาวิชา: ชีวเคมี; วท.บ. (ชีวเคมี) คำสำคัญ:

น้ำผึ้ง / ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ / สารประกอบฟีนอล / ฟลาโวนอยด์ 61030313 รัตนากร ช่วยค้ำชู; ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของน้ำผึ้งป่าจากภาคเหนือและ

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ชัชวิน เพชรเลิศ ปีการศึกษา 2565. งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพและฤทธิ์ต้าน อนุมูลอิสระของน้ำผึ้งป่าจากแหล่งทางภาคเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ได้แก่ น้ำผึ้งของผึ้งหลวงจากจังหวัดแม่ฮ่องสอน น้ำผึ้งของผึ้งพันธุ์จากจังหวัดแพร่ น้ำผึ้งของผึ้งพันธุ์จาก จังหวัดขอนแก่น และน้ำผึ้งของผึ้งพันธุ์จากจังหวัดเชียงใหม่ โดยทำการหาปริมาณสารประกอบฟีนอล รวม ปริมาณฟลาโวนอยด์รวม และทดสอบฤทธิ์ในการต้านอนุมลอิสระด้วยวิธี DPPH รวมทั้งทดสอบ การดูดซับ แสงยูว ี เ อและยู ว ี บี ด้ว ยเครื่ อ ง UV-Visible sprectophotometer จากผลการทดสอบ ตั ว อย่ า งน้ ำ ผึ ้ ง ที ่ น ำมาทำการศึ ก ษามี ป ริ ม าณฟี น อลรวมอยู ่ ใ นช่ ว ง 725.818±0.001 ถึ ง 1412.109±0.006 ไมโครกรั มสมมูล ของกรดแกลลิ กต่ อ มิล ลิล ิต รของตัว อย่ าง โดยพบปริ ม าณ สารประกอบฟีนอลในน้ำผึ้งของผึ้งพันธุ์จากจังหวัดเชียงใหม่มากที่สุด ส่วนปริมาณสารประกอบ ฟลาโวนอยด์รวมจะมีค่าอยู่ในช่วง 0.6783±0.001 ถึง 6.6257±0.007 มิลกรัมสมมูลของเควอร์เซติน ต่อมิลลิลิตรของตัวอย่าง และจากการศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ พบว่า น้ำผึ้งของผึ้งพันธุ์จากจังหวัด เชียงใหม่ยังมีฤทธิ์ในการกำจัดอนุมูลอิสระ DPPH สูงที่สุด โดยมีค่า IC50 น้อยที่สุดเท่ากับ 0.34 มิล ลิกรัมต่อมิล ลิลิตร โดยใช้ บ ีเอชที เป็นตัวควบคุมเชิงบวก (IC50 เท่ากับ 0.0047 มิล ลิกรัมต่อ มิลลิลิตร) อีกทั้งยังพบว่าตัวอย่างของน้ำผึ้งทุกตัวอย่างสามารถดูดซับแสงยูวีได้ ทั้งในช่วง UVA และ UVB โดยตัวอย่างที่สามารถดูดซับแสงยูวีได้มากที่สุด คือ น้ำผึ้งของผึ้งพันธุ์จากจังหวัดเชียงใหม่ จาก ผลการทดลองข้างต้นแสดงให้เห็นว่า น้ำผึ้งป่าของประเทศไทยที่นำมาศึกษามีแนวโน้มที่จะใช้เป็น ส่วนผสมของอาหารเพื่อสุขภาพ หรือผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางต่อไปได้

BC-O-03

- หน้าที่ 41 -

สาขาวิชา: ชีวเคมี; วท.บ. (ชีวเคมี) คาสาคัญ:

น้าผึ้ง / สารประกอบฟีนอล / ฟลาโวนอยด์ / ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ 61030324 สุพัตรา เรืองช่วย ; ปริมาณสารประกอบฟีนอลและฟลาโวนอยด์รวม

และฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระของน้าผึ้งเลี้ยงจากจังหวัดสมุทรสงคราม อาจารย์ที่ปรึกษา : อ.ดร.ชัชวิน เพชรเลิศ ปีการศึกษา 2564. งานวิจัยนี้ทาการศึกษาปริมาณสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ และฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ของน้าผึ้งเลี้ยงจากจังหวัดสมุทรสงคราม ได้แก่ น้าผึ้งจากผึ้งหลวง น้าผึ้งจากผึ้งมิ้ม และน้าผึ้งจากผึ้ง โพรง โดยทาการหาปริมาณของสารประกอบฟีนอล ฟลาโวนอยด์รวม และทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูล อิสระด้วยวิธี DPPH ผลจากการทดสอบน้าผึ้ง ทั้ง 3 ตัวอย่างพบว่า มีปริมาณสารประกอบฟีนอลอยู่ ในช่ ว ง 0.407-1.005 มิ ล ลิ ก รั ม สมมู ล กรดแกลลิ ก ต่ อ มิ ล ลิ ล ิ ต รตั ว อย่ า ง ปริ ม าณสารประกอบ ฟลาโวนอยด์รวมอยู่ในช่วง 1.31636-2.57116 มิลลิกรัมสมมูลของเควอร์เซตินต่อมิลลิลิตรตัวอย่าง และจากการทดสอบความสามารถในการยับยั้งอนุมูล DPPH พบว่า น้าผึ้งจากผึ้งมิ้ม มีค่า IC50 น้อย ที่ส ุด (0.80 มิล ลิกรัมต่ อ มิล ลิ ล ิต ร) โดยมี บีเอชทีเป็ นตัว ควบคุม เชิ งบวก (IC50 เท่ากับ 0.0209 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร) และจากการนาตัวอย่างน้าผึ้งไปทดสอบคุณสมบัติในการดูดกลืนแสงยูวีด้ วย เ ค ร ื ่ อ ง UV-Visible spectrophotometer พ บ ว ่ า น ้ าผ ึ ้ ง ท ี ่ ด ู ด ก ลื น แส ง UVไ ด ้ ดี ท ี ่ สุ ด คื อ น้าผึ้งจากผึ้งหลวง (A. dorsata) จากผลการทดลองสรุปได้ว่าน้าผึ้งเลี้ยงจากจังหวัดสมุทรสงคราม สามารถที่จะนามาใช้หรือพัฒนาเป็นส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ เครื่องสาอาง หรือผลิตภัณฑ์อาหาร เสริมเพื่อสุขภาพต่อไป

BC-O-05

- หน้าที่ 42 -

สาขาวิชา : ชีวเคมี ; วท.บ. (ชีวเคมี) 61030310 นายพิชญากร ทุมวงศ์: ฐานข้อมูลฤทธิ์ทางชีวภาพของไฟโตแคนนาบินอยด์ใน กัญชา (Bioactivity Database of Phytocannabinoids in Cannabis) อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พิทักษ์ สูตรอนันต์ ปีการศึกษา 2564. กัญชาจัดเป็นสารเสพติดที่นิยมใช้เพื่อความรื่นรมย์ ปัจจุบันในหลายภาคส่วนในประเทศไทยได้มี ความพยายามในการผลักดันให้มีการใช้ประโยชน์ทางการแพทย์จากกัญชาอย่างถูกกฎหมาย ไฟโตแคนนาบิ นอยด์คือเมโรเทอร์พีนอยด์ ถูกแยกออกครั้งแรกจากกัญชา ซึ่งมีประโยชน์ในการรักษาโรคของมนุษย์ เช่น ความเจ็บปวด ความวิตกกังวล งานวิจัยนี้จึ งได้ศึกษา รวบรวมข้อมูลของไฟโตแคนนาบินอยด์ในกัญชาเพื่อ จัดทำฐานข้อมูลองค์ประกอบและอธิบายการออกฤทธิ์ของไฟโตแคนนาบินอยด์ที่ส่งผลต่อมนุษย์ โดยการ สืบค้นและคัดเลือกข้อมูลจากฐานข้อมูลสาธารณะ นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ออกแบบเชิง แนวคิด ออกแบบเชิงตรรกะ และสร้างแบบฟอร์มเพื่อการรายงานผลด้วยโปรแกรม Microsoft Access จากการรวบรวมข้อมูลของสารไฟโตแคนนาบินอยด์ทั้ง 11 ชนิดพบว่า มีความเกี่ยวข้องกับตัวรับแคนนาบิ นอยด์ ระบบเอ็นแคนนาบินอยด์ และ Transient Receptor Potential (TRP) Ion Channels นอกจากนี้ ยังมีความเกี่ยวข้องกับผลกระทบที่ทำให้เกิดอาการมึนเมาและผลกระทบทางพฤติกรรมอื่นๆ สารไฟโตแคน นาบินอยด์ยังมีทั้งผลดีผลเสียต่อมนุษย์ขึ้นอยู่กับการได้รับและปริมาณที่ได้รับ ซึ่งจะช่วยให้เห็นภาพรวมและ เป็นการจัดระเบียบองค์ความรู้ของการออกฤทธิ์ของสารไฟโตแคนนาบินอยด์ ถึงแม้ว่าจะไม่สามารถอธิบาย การออกฤทธิ์ของสารได้ครอบคลุมในทุกชนิด แต่ผู้วิจัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการจัดทำฐานข้อมูลและออกแบบ พัฒนาฐานข้อมูลจากบทความวิจัยนี้จะเป็นจุดเริ่มต้นสำหรับการพัฒนาต่อยอดเพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่ สนใจต่อไป

BC-O-07

- หน้าที่ 43 -

61030328

;

:

(Database of Nutrients and Bioactive Compounds of Certain Fruits that Popular Cultivated in the Eastern Region of Thailand) 63

2564

11

25

49

BC-O-08

- หน้าที่ 44 -

สาขาวิชา: ชีวเคมี; วท.บ. (ชีวเคมี) คาสาคัญ: Antioxidant activity / Thai medicinal plant / Curcuma longa L. 61030113 ผกาวรรณ ชารีวัน ; ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของผลิตภัณฑ์พืชสมุนไพรไทย Curcuma longa L. จากวิสาหกิจชุมชน จังหวัดสระแก้ว อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ สุนทรต์ ชูลักษณ์ อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิชุดา จันทร์ข้างแรม ปีการศึกษา 2564. ปัจจุบันขมิ้นชันเป็นพืชสมุนไพรเศรษฐกิจที่กาลังเป็นที่ต้องการสูงในอุตสาหกรรมยา แผนโบราณ ยาแผนปัจจุบัน อุตสาหกรรมเครื่องสาอาง รวมถึงผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร การศึกษาวิจัยใน ครั้งนี้ใช้ตัวอย่างของขมิ้นชัน (Curcuma longa L.) จากวิสาหกิจชุมชน จังหวัดสระแก้ว มา ทาการศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระโดยสกัดสารสาคัญด้วยเอทานอลและน้าร้อน จากนั้นนาสารสกัดมา ทาการศึกษาปริมาณสารประกอบฟีนอลิกรวมด้วยวิธี Folin- Ciocalteu method ศึกษาปริมาณฟลา โวนอยด์ด้วยวิธี Aluminium chloride colorimetric assay พบว่าสารสกัดด้วยเอทานอลมีปริมาณฟี นอลิกรวมและปริมาณฟลาโวนอยด์สูงสุดอยู่ที่เวลา 24 ชั่วโมง (49.85±0.90 mg GAE/gDW และ 7.46±0.12 mg QE/gDW) สารสกัดด้วยน้าร้อนมีปริมาณฟีนอลิกรวมและปริมาณฟลาโวนอยด์สูงสุด อยู่ที่เวลา 60 นาที 100 °C (46.98±0.55 mg GAE/gDW และ 0.51±0.12 mg QE/gDW) ศึกษาฤทธิ์ ต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี DPPH radical scavenging assay และABTS decolorization scavenging effect assay พบว่าสารสกัดด้วยเอทานอลมีความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระสูงสุดอยู่ที่เวลา 24 ชั่วโมง โดยมีร้อยละของการยับยั้งอยู่ที่ 55.30±0.32 สารสกัดด้วยน้าร้อนมีความสามารถในการต้าน อนุมูลอิสระสูงสุดอยู่ที่เวลา 20 นาที 100 °C โดยมีร้อยละของการยับยั้งอยู่ที่ 57.53±1.64 เมื่อวัดด้วย DPPH assay และสารสกัดด้วยเอทานอลมีความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระสูงสุดอยู่ที่เวลา 3 ชั่วโมง โดยมีร้อยละของการยับยั้งอยู่ที่ 6.34±0.84 สารสกัดด้วยน้าร้อนมีความสามารถในการต้าน อนุมูลอิสระสูงสุดอยู่ที่เวลา 40 นาที 80 °C โดยมีร้อยละของการยับยั้งอยู่ที่ 98.77±0.26 เมื่อวัดด้วย ABTS assay จากนั้นศึกษาฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนสด้วยวิธี Dopachrome method พบว่าสาร สกัดด้วยเอทานอลมีความสามารถในการยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนสสูงสุดที่เวลา 3 ชั่วโมง โดยมีร้อยละ ของการยับยั้งอยู่ที่ 78.06±0.63 สารสกัดด้วยน้าร้อนมีความสามารถในการยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนสสูง สุดที่เวลา 40 นาที 100 °C โดยมีร้อยละของการยับยั้งอยู่ที่ 25.56±062 ซึ่งผลจากการศึกษานี้สามารถ นาไปเป็นฐานข้อมูลและพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้เกี่ยวกับขมิ้นชันในการรักษาโรครวมไปถึงเป็น ส่วนผสมในเวชสาอางได้

BC-O-09

- หน้าที่ 45 -

สาขาวิชา: ชีวเคมี; วท.บ. (ชีวเคมี) คำสำคัญ:

Antioxidant activity /Schefflera leucantha / Thai medicinal plant 61030631 บุญรักษา พวงเกตุมงคล ; ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของผลิตภัณฑ์

พืชสมุนไพรไทย Schefflera leucantha จากวิสาหกิจชุมชน จ.สระแก้ว อาจารย์ที่ปรึกษา

: อาจารย์ สุนทรต์ ชูลักษณ์

อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วิชุดา จันทร์ข้างแรม ปีการศึกษา 2564. เนื้อหาบทคัดย่อ ในปัจจุบัน ผู้คนหันมาสนใจใช้พืชสมุนไพรเเทนการใช้ยาที่เกิดจากการสังเคราะห์ ซึ่งอาจส่งผล กระทบต่อสุขภาพได้ โดยหนุมานประสานกาย (Schefflera leucantha) เป็นสมุนไพรมากด้วย สรรพคุ ณ ทางยา โดยสามารถใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ ท ุ ก ส่ ว นของต้ น โดยใบช่ ว ยรั ก ษาโรคหอบหื ด อาเจียนเป็นเลือด และ โรคกระเพาะอาหาร เป็นต้น ในการศึกษาวิจัยครั้ง นี้ใช้ตัวอย่างสมุนไพร หนุมานประสานกายจากวิสาหกิจชุมชน จังหวัดสระแก้ว โดยทำการสกัดด้วยวิธีการแช่หมักด้วย 95% เอทิ ล แอลกอฮอลล์ ที ่ เ วลา 3/6/9/12/24 ชั ่ ว โมง จากนั ้ น นำสารสกั ด มาทำการวิ เ คราะห์ หาปริ ม าณฟี น อลิ ก รวมด้ ว ยวิ ธี Folin-Ciocaltheu reagent ซึ ่ ง พบปริ ม าณฟี น อลิ ก รวมสู ง สุ ด เมื่อทำการสกัด เป็นเวลา 12 ชั่วโมง (1.38 ± 0.26 mg GAE /g DW ) จากนั้นนำมาวิเคราะห์ห า ปริมาณฟลาโวนอยด์รวม ด้วยวิธี Aluminim Chloride assay ซึ่งพบปริมาณฟลาโวนอยด์รวมสูงสุด เมื ่ อ ทำการสกั ด เป็ น เวลา 12 ชั ่ ว โมง (4.75 ± 0.73 mg QE /g DW ) การทดสอบฤทธิ ์ ต ้ า น อนุมูลอิสระด้วยวิธี ABTS assay ซึ่งพบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระสูงสุดเมื่อทำการสกัดเป็นเวลา 24 ชั่วโมง (91.14 % ± 0.40 % inhibation ) การทดสอบฤทธิ ์ ต ้ า นอนุ ม ู ล อิ ส ระด้ ว ยวิ ธ ี DPPH assay ซึ่งพบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระสูงสุดเมื่อทำการสกัดเป็นเวลา 3 ชั่วโมง (75.21 % ± 0.84% inhibation) การศึกษาฤทธิ์การยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนสด้วยวิธี Dopachrome method ซึ่งพบฤทธิ์การยั บยั้ง สูงสุดเมื่อทำการสกัดเป็นเวลา 24 ชั่วโมง (58.09 % ± 1.15% inhibation) จากการศึกษาทดลอง ในครั ้ ง นี้ แ สดงให้ เ ห็ น ว่ า สารสกั ด จากหนุ ม านประสานกายมี ส ารออกฤทธิ ์ ท างชี ว ภาพสู ง ซึ่งสามารถใช้เป็นฐานข้อมูลพืชสมุนไพรเพื่อนำไปต่อยอดในอุตสาหกรรมยาจากสมุนไพรในปัจจุบันได้

BC-O-10

- หน้าที่ 46 -

สาขาวิชา: ชีววิทยา; วท.บ. (ชีววิทยา) คาสาคัญ:

ดีเอ็นเอบาร์โค้ด / มด / สปีชีส์ 61030655 ภธิรา วิภาสหิรัญกร; การระบุสปีชีส์มดสกุล Rhopalomastix ใน

ประเทศไทยด้วยเทคนิค DNA barcoding อาจารย์ที่ปรึกษา: ดร.สุดารัตน์ ถาราช; อาจารย์ที่รึกษาร่วม: ผศ.ดร.สาลินี ขจรพิสิฐศักดิ์ ปีการศึกษา 2564. มดสกุล Rhopalomastix Forel, 1900 พบได้ในพื้นที่เขตร้อนของเอเชียตะวันออก และอินโด-ออสเตรเลีย ในปัจจุบันมดสกุลนี้มีรายงานพบในประเทศไทยทั้งหมด 5 สปีชีส์ แต่เนื่องด้วย ลักษณะสัณฐานที่มีความใกล้เคียงกันระหว่างสปีชีสท์ าให้การจาแนกสปีชีส์ของมดด้วยอนุกรมวิธาน อาจมีความคลาดเคลื่อน ปัจจุบันจึงได้มีการใช้เทคนิคดีเอ็นเอบาร์โค้ด (DNA barcoding) ในการระบุ สปีชีส์ของสิ่งมีชีวิตมากขึ้น ยีน cytochrome c oxidase subunit I (COI) ของไมโตรคอนเดรียเป็น ยีนที่ได้รับการยอมรับในการนามาเป็นดีเอ็นเอบาร์โค้ดเพื่อระบุสปีชีส์ของสิ่งมีชีวิตร่วมกับเทคนิค ทางด้านอนุกรมวิธาน การศึกษาครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อสร้างดีเอ็นเอบาร์โค้ดของยีน COI สาหรับจัด จาแนกสปีชีสข์ องมดสกุล Rhopalomastix โดยทาการเก็บตัวอย่างมดในประเทศไทยทั้งหมด 14 ตัวอย่างเพื่อนามาสกัดดีเอ็นเอและเพิ่มจานวนยีน COI ด้วยเทคนิคปฏิกิริยาลูกโซ่โพลิเมอเรส (PCR) โดยใช้คูไ่ พรเมอร์ LepF1 และ LepR1 ที่จาเพาะกับยีน COI ซึ่งสามารถเพิ่มปริมาณยีน COI ที่มีความ ยาวประมาณ 680 นิวคลีโอไทด์จากตัวอย่างมดได้ทั้งหมด จากนั้นทาการหาลาดับนิวคลีโอไทด์ของยีน COI และเปรียบเทียบความแตกต่างของลาดับนิวคลีโอไทด์ของมดสกุล Rhopalomastix ที่พบใน ประเทศไทยทัง้ 14 ตัวอย่างเพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลในการระบุสปีชีส์ในลาดับถัดไป

BI-O-01

- หน้าที่ 47 -

สาขาวิชา: ชีววิทยา; วท.บ. (ชีววิทยา) คำสำคัญ:

หอยทากจิ๋ว / Hydrocenidae / สันฐานวิทยา 61030642 ชนาพร ชอบบุญ; การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาและความหลาก

ชนิดของหอยทากวงศ์ Hydeocenidae ตามภูเขาหินปูนบางพื้นที่ในจังหวัดชลบุรี สระบุรี และ อุทัยธานี อาจารย์ที่ปรึกษา: ผศ. พงษ์รัตน์ ดำรงโรจน์วัฒนา ปีการศึกษา 2564. หอยทากจิ๋ววงศ์ Hydrocenidae เป็นหอยทากขนาดเล็กที่มีถิ่นอาศัยจำเพาะตาม ภูเขาหินปูนมีบทบาทสำคัญต่อระบบนิเวศและมนุษย์ ปัจจุบันข้อมูลการศึกษาความหลากชนิดหอย ทากจิ๋วในวงศ์ Hydrocenidae ยังมีไม่มากเมื่อเทียบกับหอยทากจิ๋ววงศ์อื่น ๆ ในประเทศไทย ทาง คณะผู้วิจัยจึงได้มีการออกสำรวจ และสุ่มเก็บตัวอย่างหอยทากจิ๋วที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า บริเวณผนังหินปูนทั้งในถ้ำ นอกถ้ำ และโขดหินปูน ในภูเขาหินปูนบางพื้นที่ทางภาคตะวันออกและ ภาคกลางของประเทศไทย ได้แก่บริเวณถ้ำยายแม้นบนเกาะสีชังจังหวัดชลบุรี เขาปฐวี ถ้ำลมรัตนคูหา วัดเขาช่องลมจังหวัดอุทัยธานี และวัดถ้ำเขามะกา จังหวัดสระแก้ว จากนั้นนำมาศึกษาลักษณะจัด จำแนกชนิดของหอยตามหลักอนุกรมวิธานโดยใช้รายละเอียดที่ปรากฏบนสันฐานวิทยาเปลือก และ เก็บรักษาตัวอย่างไว้ ณ ห้องปฏิบัติการสัตววิทยา ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย บูรพา จังหวัดชลบุรี จากการศึกษาพบหอยทากจิ๋ววงศ์ Hydrocenidae ทั้งสิ้น 7 ชนิด

BI-O-02

- หน้าที่ 48 -

ÿć×ćüĉßćǰßĊüüĉì÷ćǰǰüìïǰ ÿć×ćüĉßćßĊüüĉì÷ć ǰ ÙĈÿĈÙĆâǰǰ

ĀĂ÷ìćÖÝĉĜüǰõćÙĔêšǰÿÖčúĒĂÙđöúúćǰÿÖčúĂîćÖúĉóĎúćǰðøąđìýĕì÷ǰ 61030358ǰîĆîìĉþćǰÿč×ĔÿǰÖćøÝĆéìĈåćîךĂöĎú×ĂÜĀĂ÷ìćÖÝĉĜüëĚĈìćÜõćÙĔêš×ĂÜðøąđìýĕì÷ǰ

ĂćÝćø÷ŤìĊęðøċÖþćǰñϚߊü÷ýćÿêøćÝćø÷ŤóÜþŤøĆêîŤǰéĈøÜēøÝîŤüĆçîćǰ ðŘÖćøýċÖþćǰ5ǰ

ÝćÖÖćøÿĈøüÝĒúąđÖĘ ï êĆ ü Ă÷Š ć ÜĀĂ÷ìćÖÝĉ Ĝ ü ÿÖč ú AcmellaǰĒúąǰAnaglyphula ĔîüÜýŤ "TTJNJOFJEBF ǰïøĉđüèóČĚîìĊęõćÙĔêšǰìĆĚÜĀöéǰǰÿëćîĊǰ4ǰÝĆÜĀüĆéǰĔîđéČĂîöĉëčîć÷îǰ–ǰóùþÝĉÖć÷îǰóýǰǰ ēé÷öĊÖćøóïĀĂ÷ìćÖÝĉĜüĔîÿÖčúǰAcmellaǰÝĈîüîǰǰĒĀŠÜǰĒúąÿÖčúǰAnaglyphula ÝĈîüîǰǰÿëćîĊǰĕéšĒÖŠǰÝĆÜĀüĆé ÿêĎúóïĀĂ÷ìćÖÝĉĜüëĚĈǰǰÿëćîĊǰ4ǰßîĉéǰÿëćîĊĒøÖđðŨîëĚĈìąúčôŜćóïĀĂ÷ìćÖÝĉĜüÿÖčúǰAnaglyphulaǰǰßîĉéǰÙČĂǰ Anaglyphula TQǰǰëĚĈēóíĉĝ÷ĂöóïÿÖčúǰAcmellaǰǰßîĉéǰÙČĂǰAcmellaǰTQǰ1ǰëĚĈđךóïÿÖčúǰAcmellaǰǰßîĉéǰ ÙČĂǰAcmellaǰTQǰǰëĚĈüĆÜÙøćöóïÿÖčúǰAcmellaǰǰßîĉéǰÙČĂǰAcmellaǰTQǰǰǰÝĆÜĀüĆéßčöóøóïÿÖčú Acmellaǰǰ ÿëćîĊǰǰßîĉéǰĕéšĒÖŠǰ ëĚĈßšćÜđñČĂÖǰßîĉéǰAcmellaǰTQǰ4ǰüĆéđìóđÝøĉâǰëĚĈøĆïøŠĂǰßîĉéǰAcmellaǰTQǰǰüĆéëĚĈÿĉÜĀŤǰ ßîĉéǰAcmellaǰTQǰǰĒúąëĚĈóĉÿéćøǰßîĉéǰAcmellaǰTQǰǰÝĆÜĀüĆéÖøąïĊęóïÿÖčú AcmellaǰǰÿëćîĊǰǰßîĉéǰĕéšĒÖŠǰ ëĚĈđóßøǰßîĉéǰAcmellaǰTQǰ8ǰǰĒúąÝĆÜĀüĆéøąîĂÜóïÿÖčúǰAcmellaǰǰÿëćîĊǰǰßîĉéǰĕéšĒÖŠëĚĈóøą×÷ćÜÙŤǰ ßîĉéǰ AcmellaǰTQǰǰÝćÖÖćøýċÖþćóïüŠćĀĂ÷ìćÖÝĉĜüìĊęóïöĊÙüćöÝĈđóćąêŠĂëĚĈĀøČĂóČĚîìĊęìĊęìĈÖćøýċÖþćǰĒúąøć÷Üćî ÖćøýċÖþćĀĂ÷ìćÖÝĉĜüëĚĈìćÜõćÙĔêšîĊĚǰ đðŨîøć÷Üćî×ĂÜĀĂ÷ìćÖÝĉĜüëĚĈÿÖčúǰAnaglyphula ×ĂÜðøąđìýĕì÷ǰǰǰ ǰ

BI-O-03

- หน้าที่ 49 -

สาขาวิชา: ชีววิทยา; วท.บ. (ชีววิทยา) คาสาคัญ: ถ้า / ประเทศไทย / หอยทากจิว๋ 61030031 อทิตยา สนใจ; ความหลากชนิดของหอยจิว๋ ในถ้าบางพืน้ ทีข่ องภาค กลางและภาคตะวันออกของประเทศไทย อาจารย์ทปี่ รึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พงษ์รัตน์ ดำรงโรจน์วัฒนา ปี การศึกษา 2564. หอยทากบก (Terrestrial gastropods หรือ Land snails) เป็นสัตว์อยู่ในไฟลัม มอลลัสกา ที่มีวิวัฒนาการอาศัยขึ้นมาอยู่บนบก ในปัจจุบันประเทศไทยมีการศึกษาเกี่ยวกับหอยทาก บกเพิ่มมากขึ้น แต่ยังมีการศึกษาหอยทากบกขนาดจิ๋วค่อนข้างน้อย เนื่องจากมีขนาดเล็กเพียง 0.5 มม. ความหลากหลายของหอยทากจิ๋วที่มีการรายงานส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่ในถ้ำเท่านั้น การศึกษา ครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาความหลากชนิดและอนุกรมวิธานของหอยทากจิ๋ว โดยเลือกทำการ สำรวจและเก็บตัวอย่างในบางพื้นที่ของภาคกลางและภาคตะวันออกของประเทศไทย บริเวณแนว ภูเขาหินปูนจังหวัดสระแก้ว ระยอง สระบุรี ลพบุรี นครสวรรค์ และอุทัยธานี ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2564 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2565 จำนวนทั้งหมด 12 สถานี และนำมาศึกษาต่อที่ห้องปฏิบัติการ โดย ใช้ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของทรงเปลือกในการจำแนกชนิด ซึ่งจากการสำรวจในครั้งนี้สรุปได้ว่าพบ หอยทากจิ๋วในถ้ำทั้งหมด 3 สกุล (genus) ได้แก่ สกุล Clostophis, Acmella และสกุล Angustopila จากนั้นจัดทำทะเบียนตัวอย่างและทำการเปรียบเทียบชนิดที่สามารถพบได้ทั้งภาค กลางและภาคตะวันออกต่อไป

BI-O-04

- หน้าที่ 50 -

สาขาวิชา : ชีววิทยา;วท.บ. (สาขาชีววิทยา) คาสาคัญ : ปัจจัยทางกายภาพ / หอยจิ๋วถ้า / ประเทศไทย 61030343 ชมพูนุท สุขสว่าง; การศึกษาปัจจัยทางกายภาพบางประการของการ ดารงชีวิตของหอยทากจิ๋วถ้าบางชนิดในประเทศไทย อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์พงษ์รัตน์ ดารงโรจวัฒนา ปีการศึกษา : 2564 บทคัดย่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาปัจจัยทางกายภาพที่ส่งผลต่อการดารงชีวิตของหอย ทากจิ๋วถ้าโดยมีการสารวจและเก็บข้อมูลปัจจัยทางกายทั้ง แสง อุ ณหภูมิ ความชื้น และเก็บตัวอย่าง หอยทากจิ๋วถ้าที่พบและดินบริเวณรอบที่พบตัวอย่างจังหวัดสระแก้ว (วัดถ้าเขาภูหีบ) และภาคใต้ ทั้งหมด 6 ที่ โดยมีจังหวัดระนอง (ถ้าพระขยางค์) และจังหวัดสตูล (ถ้าทนาน,ถ้าวัดระฆังทอง,ถ้าโพธิ์ ยอม,ถ้าผาโต๊ะโร๊ะ,ถ้าทะลุฟ้า)และมีการจัดเรียงข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยทางกายภาพที่มีความ เกี่ยวข้องกับตัวอย่างหอยทากจิ๋วถ้าที่บันทึกข้อมูลแต่ละพื้นที่ที่ส่งผลต่อการดารงชีวิตของทากจิ๋วถ้า ซึ่ง มีการดูจากค่าปัจจัยของ แสง อุณหภูมิ และความชื้นของตัวหอยทากจิ๋วถ้าเป็นหลักพบว่าค่าของความ อุณหภูมิและความชื้นมีค่าใกล้เคียงกัน ณ จุดที่พบหอยทากจิ๋วถ้าเท่ากับ 26.93 ลักซ์ (Lux) และ 85% ซึ่งปัจจัยทั้งสองนี้มีผลต่อการดารงชีวิตของหอยทากจิ๋วถ้ามากว่าปัจจัยของแสงที่มีการค่าในแต่ละจุด แตกต่างกันมาก

BI-O-05

- หน้าที่ 51 -

สาขาวิชา: ชีววิทยา; วท.บ. (ชีววิทยา) คาสาคัญ: หอยทากจิว๋ / Diplommatinidae / ความหลากชนิด / ถ้าหินปูน 61030660 วรรณวิศา ดอกไม้ขาว; สัณฐานวิทยาและความหลากชนิดของหอย กระสวยจิว๋ วงศ์ Diplommatinidae ทางภาคใต้ของประเทศไทย อาจารย์ทป่ี รึกษา : ผูช้ ่วยศาสตราจารย์พงษ์รตั น์ ดารงโรจน์วฒ ั นา ปี การศึกษา 2564. งานวิจยั นี้มวี ตั ถุประสงค์ในการศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยาและความหลากชนิด ของหอยกระสวยจิ๋ว วงศ์ Diplommatinidae ทางภาคใต้ ข องประเทศไทย โดยท าการลง ภาคสนามสารวจและเก็บตัวอย่างจากพื้นที่ภูเขาหินปูนและถ้าหินปูนทางภาคใต้ของประเทศ ไทย ได้แก่ ถ้าทะลุฟ้า (เขาโต๊ะกรัง) จังหวัดสตูล เขาเทียนเหมินซาน จังหวัดชุมพร ถ้าพระข ยางค์ จังหวัดระนอง ถ้าพุทธโคดม จังหวัดพัทลุง ถ้าพญานาคและถ้าเพชร จังหวัดกระบี่ และ นามาศึกษาต่อภายในห้องปฏิบตั กิ าร ทาการศึกษาโดยการ crack เปลือกดูบริเวณ constriction teeth ส่วนตัวอย่างที่ยงั มีชีวติ นาไปศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยาของแรดูลา โดยนาแรดูลามา สกัด เพื่อ ดูจ านวนและชนิ ด ของซี่ฟั น เพื่อ ใช้ใ นการจัด จ าแนกชนิ ด ของหอยกระสวยจิว๋ ผล การศึก ษาพบหอยกระสวยจิ๋ว วงศ์ Diplommatinidae ทัง้ สิ้น 4 ชนิ ด ได้ แ ก่ Diplommatina hidagai Panha, 1 9 9 8 , Diplommatina krabiensis Panha & Burch, 1 9 9 8 , Diplommatina canaliculata Möllendorff, 1887, Diplommatina naiyanetri Panha, 1997 และยังไม่สามารถ ระบุช่อื ได้อกี 2 ชนิด

BI-O-06

- หน้าที่ 52 -

Keyword:

Program: BIOLOGY; B.Sc. (BIOLOGY) Spermatogonial stem cells / Sertoli cells / Domestic cat

61030122 Ratchapon Prakongkaew; Isolation and characterization of testicular spermatogonial stem cells, Sertoli cells and testicular fibroblast from domestic cat testis Advisor: Asst.Prof. Woranop Sukparangsi, Ph.D. Academic year 2021. In vitro gametogenesis is an alternative approach to generate gametes in culture from pluripotent cells or other stem cell types such as spermatogonial stem cells (SSCs), which can be used for wildlife conservation. Here we aimed to investigate the methods to isolate various testicular cell sources that can be used for cellular reprogramming and in vitro gametogenesis. To derive somatic cells commonly used for cellular reprogramming, we successfully cultured testicular fibroblasts from three sources of dissected testes including testicular wall, seminiferous tubules and epididymis using tissue explant technique in primary culture. The testicular fibroblasts can be transfected with self-replicating RNA expressing reprogramming factors, resulting in the generation of cat iPSCs with alkaline phosphatase (AP) activity. For in vitro gametogenesis from stem cell-like cells from testes, we firstly detected if there was the presence of pluripotency markers in the testes by RT-PCR. We found that OCT4, a key pluripotency marker, expressed in the seminiferous tubule tissues but not in the testicular fibroblasts. So we next aimed to find which cells in the seminiferous tubules expressed OCT4 by using differential centrifugation. We can isolate SSCs and show that SSCs exhibited AP activities and OCT4 expression by qRT-PCR. Further investigation of the optimal culture medium will help to drive differentiation of SSCs towards in vitro spermatozoa. Taken together, here we highlight the methods to extract various cell types from domestic cat testes that can be used for downstream applications. For future wild felid conservation, here our study shows that testes from postmortem wild felids is another suitable somatic cell source for cellular reprogramming and cell differentiation towards gametes.

BI-O-07

- หน้าที่ 53 -

Program: BIOLOGY; B.Sc. (BIOLOGY) Keyword: Cumulus cells / Cumulus-oocyte complex / pluripotency niche 61030650 TANASUB SAKULTANASUB; PLURIPOTENCY NICHE WITHIN CUMULUS CELLS OF CUMULUS-OOCYTE COMPLEX IN DOMESTIC CAT Advisor: Asst.Prof. Dr. Woranop Sukparangsi Academic year 2021. Cumulus cells (CCs) in cumulus-oocyte complex (COCs) are essential for the survival of oocytes and oocyte competency important for early embryonic development. The pluripotency markers within CCs of domestic cats have not been investigated to understand the correlation of pluripotent markers expressing cells to follicle specific markers. So here we aimed to reveal the relationship of pluripotency markers within the CCs and oocytes to follicle markers. Firstly, we categorized the follicles from domestic cat ovaries into three patterns based on size, called small (S), medium (M), and large (L) follicles. We further aimed to understand the different expression of ovarian markers with these three follicular types by real-time PCR. We found that using ESR2, OCT4 and NANOG can confirm that these follicles were distinct in gene expression. The mediumsized follicles exhibited upregulation of ESR2. Next, we collected these high ESR2 follicles to further investigate the localization of pluripotency markers including OCT4, SOX2, NANOG within COCs using immunofluorescence and confocal imaging. Interestingly, SOX2 and OCT4 proteins can be found within a cytoplasmic project of CCs called transzonal projection (TZPs). We also found that NANOG protein localized to the nucleus of CCs from the medium-size stage, indicating the function of NANOG as a transcription factor within CCs at this ESR-high state. Thus, there is a specific feature of CCs at this medium stage showing pluripotency-like character based on NANOG protein expression. After collecting CCs for in vitro culture, the cells exhibited less expression of all pluripotency markers in both mRNA and protein levels. Strikingly, the reprogramming factors (OCT4, SOX2, KLF4 and CMYC) can rescue expression of follicle-specific marker expression, including ESR2, NANOG and INHA in the reprogrammed CCs. Taken together, here we show the clear localization of pluripotency markers with the COCs and the relation of key pluripotency or reprogramming factors in controlling the expression of follicle specific markers, providing more understanding of the nature of pluripotency gene expression within the cat follicles. BI-O-08

- หน้าที่ 54 -

Program: Biology; B.Sc. (Biology) Keyword: CRISPR activator / OCT4 / Felid species 61030647 Thitirat Luangwong; CRISPR activator system in felid species as a new tool for felid cellular reprogramming Advisor: Asst. prof. Woranop Sukparangsi Academic year 2021. The CRISPR activator system (CRISPRa) consists of a modified CAS9 protein called dead CAS9 (dCAS9) fused with an activator effector to stimulate transcription which can work with the designed guide RNA (gRNA) specific to the target gene's promoter. It has been shown that CRISPR activator can successfully reprogram human fibroblasts into induced pluripotent stem cells (iPSCs). In the generation of iPSCs, OCT4 is an essential transcription factor in cellular reprogramming. Therefore, we aimed to investigate if this CRISPR activator can activate the endogenous expression of OCT4 in domestic cat models using designed gRNA specific for two regions of the cat OCT4 promoters. Here we show that the CRISPR activator with dCAS9 can be delivered via piggyBAC transposon system and integrated into the cat cell genome. The expression of dCAS9 was under the control of the Tet-on system and also can be monitored by GFP expression. We found that transfection with reverse tetracyclinecontrolled transactivator (rtTA) and addition of doxycycline can activate the expression of dCAS9, which can be visualized by GFP expression. In addition, RNA transfection of dCAS9-transfect cells with the designed gRNA can activate the expression of endogenous OCT4. Taken together, we show that the CRISPR activator system can activate expression of genes of interest in cat cells, which can be applied to understand the reprogramming mechanism in cat as well as other felid cells and even can be used to produce iPSCs from other endangered wild felid species for conservation.

BI-O-09

- หน้าที่ 55 -

Program: BIOLOGY; B.Sc. (BIOLOGY) Keyword: Fishing cat / Primary culture fibroblast cell lines of fishing cat/ Induced pluripotent stem cells 61030665 INTIRA HENGKHUNTHOD; CELLULAR REPROGRAMMING OF TESTICULAR CELLS FROM THE FISHING CAT FOR CONSERVATION Advisor: Asst. Prof. Woranop Sukparangsi, Ph.D. Academic year 2021. Currently, the fishing cat is in vulnerable status based on IUCN red list. Zoological Park Organization of Thailand used Assisted Reproductive Technology to enhance the fertility of vulnerable and endangered species. However, there is still a limit to this technology such as the availability of gametes. The use of stem cells is another method that could be utilized to increase the number of the fishing cat in the future through the production of induced pluripotent stem cells (iPSCs) capable of differentiation into all cell types including gametes. This study aimed to establish primary culture to derive fibroblast cells from the testis of postmortem fishing cat and use the testicular fibroblasts to generate iPSCs. We successfully derived fishing cat testicular fibroblasts from the testicular wall and epididymis. We can also transfect the testicular fibroblasts with a piggyBac transposon carrying several reprogramming factors: OCT4, SOX2, KLF2, KLF4, CMYC, and NANOG and fluorescent reporter tdtomato. The expression of the reprogramming factors was under the control of the Tet-on system (addition of rtTA and doxycycline can turn on the expression of transgenes). We can monitor the expression of reprogramming factors via the detection of fluorescent tdTomato protein and found that the expression system worked well in the fishing cat cells; however, there are limitations in reprogramming including cell senescence and partially reprogramming and spontaneous differentiation. Taken together, here we show for the first time of using piggyBac system to generate putative iPS colonies from the fishing cat. Further investigation with more examination on medium and cytokines can enhance the success of reprogramming of fishing cat, which can be used for future conservation applications.

BI-O-10

- หน้าที่ 56 -

Program: BIOLOGY; B.Sc. (BIOLOGY) Keyword: Barking deer/ Muntiacus/ Fibroblast cells 61030025 YANATCHARA INTARAKUL; FIBROBLAST DERIVATION AND CELLULAR REPROGRAMMING INDUCTION FROM BARKING DEER EAR AS A MODEL FOR CONSERVATION OF ENDANGERED MUNTIACUS SPECIES Advisor Asst. Prof. Woranop Sukparangsi, Ph.D. Academic Year 2021. Several species of barking deers in genus Muntiacus are currently categorized in vulnerable or endangered status based on IUCN red list. Assisted Reproductive Technology (ART) such as artificial insemination and in vitro fertilization has been used as a general practice of zoological organization to help enhancing its fertility of barking deer in captivity. Alternative approach to ART is to use stem cell technology to generate induced pluripotent stem cells (iPSCs) that can be cryopreserved for long-term conservation. It is known that different mammalian animal species require different optimal conditions for cellular reprogramming. So here we aimed to investigate the optimal derivation approach of somatic cell source for barking dear reprogramming. At first, the fibroblast cells were generated from barking deer ear (auricles) from the postmortem animal. Here we show that the outgrowth of ear fibroblasts took 4-5 days after seeding explant tissues. We also revealed that the use of different cell culture medium can affect to outgrowth of the fibroblasts from the explant tissues. DMEM (high glucose) is optimal for fibroblast outgrowth from the explant while Advanced DMEM can also induce outgrowth from the tissue; however, the keratinocytes can outgrowth much better than the fibroblast cells. Hence, DMEM high glucose is suitable for the ear fibroblast outgrowth. As cellular reprogramming requires early passages of the fibroblasts for induction to avoid cell senescence, we next aimed to find which passages that the fibroblasts show sign of senescence. We found that from passage 3 the ear fibroblasts showed clear evidence of Beta-galactosidase activity. Lastly, we tested the reprogramming induction by delivery of reprogramming factors into the ear fibroblasts using piggyBAC transposon and showed that the fibroblasts changed in its cell morphology upon expression of stem cell-related reprogramming factors. Thus, here we provide the strategy to derive somatic cell source and transfection method for iPSC induction from barking deer which will be useful for conservation applications.

BI-O-11

- หน้าที่ 57 -

ชีววิทยา; วท.บ. (ชีววิทยา) คำสำคัญ :

จุลพยาธิวิทยา / เนื้อเยื่อไต / โรคไตจากเบาหวาน 61030640 จริยา ลาภบุญเรือง; จุลพยาธิวิทยาของเนื้อเยื่อไตในหนูที่มีภาวะ

เบาหวานชนิดที่ 2 อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุทิน กิ่งทอง อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม : ดร.ยุทธนา จันทะขิน ปีการศึกษา 2564. งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางจุลพยาธิวิทยาของเนื้อเยื่อไต ในหนูที่มีภาวะเบาหวานชนิดที่ 2 เปรียบเทียบกับหนูกลุ่มควบคุม การศึกษานี้ใช้หนูทดลองสายพันธุ์ C57BL/6 24 ตัว โดยมีหนู 12 ตัวถูกชักนำให้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ด้วยการให้อาหารที่มีไขมันสูง (High fat diet) เป็นเวลา 4 สัปดาห์ จากนั้นฉีด Streptozotocin (STZ) ขนาด 100 mg/kg 2 ครั้ง เว้นระยะเวลา 48 ชั่วโมง วัดระดับน้ำตาลในเลือดขณะอดอาหารกำหนดให้ มีภาวะเบาหวานที่ระดับ น้ ำ ตาลในเลื อ ด 200 mg/dL ขึ ้ น ไป ทำการการุ ณ ยฆาตหนู ท ั ้ ง 24 ตั ว นำไตออกมาศึ ก ษาการ เปลี่ยนแปลงทางจุลพยาธิวิทยาด้วยเทคนิคมิญวิทยาย้อมสไลด์ด้วยสี Hematoxylin และ eosin (H&E) โดยประเมินการเปลี่ยนแปลง parietal epithelial cells (PEC) ของ glomerulus การเกิด mesangial matrix expansion ที่ เ ป ็ น ล ั ก ษ ณ ะ diffuse ห ร ื อ nodular glomerulosclerosis (Kimmelstiel-Wilson lesion) การหนาตัวของ glomerular basement membrane (GBM) และ focal segmental glomerulosclerosis (FSGS) เปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม ใช้ t-test สำหรับการ วิเคราะห์ข้อมูล P < 0.05 ถือว่ามีนัยสำคัญ ผลการศึกษาในครั้งนี้ พบการเปลี่ยนแปลง PEC ของ glomerulus ในกลุ่มที่ถูกชักนำให้เป็นเบาหวานโดยมีความหนามากกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญ แต่ไม่พบการเกิด mesangial matrix expansion การหนาตัวของ GBM และ FSGS อย่างมีนัยสำคัญ ตลอดระยะการศึกษา ผลการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าภาวะเบาหวานชนิดที่ 2 ในหนูทดลองสายพันธุ์ C57BL/6 ไม่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางจุล พยาธิว ิทยาของเนื้อเยื่อไตมากนัก ผลการศึกษานี้ สอดคล้องกับ การศึกษาก่อนหน้านี้ที่พบว่าไตในหนู ทดลองสายพันธุ์นี้มีความต้านทานต่อภาวะ เบาหวานชนิดที่ 2

BI-O-12

- หน้าที่ 58 -

สาขาวิชา: ชีววิทยา; วท.บ. (ชีววิทยา) คาสาคัญ:

เบาหวาน / อินซูลิน / จุลพยาธิวิทยา 61030123 สุกัญญา ธงอาษา; จุลพยาธิวิทยาของเนื้อเยื่อตับอ่อนในหนูสายพันธุ์

C57BL6 ที่มีภาวะโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 อาจารย์ที่ปรึกษา: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุทนิ กิ่งทอง อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม : อาจารย์ ดร.ยุทธนา จันทะขิน ปีการศึกษา 2564. งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงจุลพยาธิวิยาของเนื้อเยื่อตับอ่อน ในหนูที่ได้รับการกระตุ้นให้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 เปรียบเทียบกับหนูกลุ่มปกติ เพื่อศึกษาความ เปลี่ยนแปลงและผลกระทบต่อเนื้อเยื่อตับอ่อนจากการเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ในหนูสายพันธุ์ C57BL6 โดยการกระตุ้นให้เกิดโรคเบาหวานด้วยอาหารไขมันสูงร่วมกับการฉีดยาสเตรปโทไซโทซิน (STZ) เป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ จากนั้นนาตับอ่อนของหนูทั้ง 2 กลุ่มมาศึกษาด้วยเทคนิคมิญชวิทยา โดยการฝังเนื้อเยื่อในพาราพลาสต์และนาเนื้อเยื่อมาตัดเพื่อย้อมสี hematoxylin และ eosin จากนั้น นามาศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงเพื่อถ่ายภาพและเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างตับ อ่อนของหนูทั้ง 2 กลุ่ม ผลการศึกษาพบว่าเนื้อเยื่อตับอ่อน ในหนูกลุ่มปกติและหนูที่มีภาวะ โรคเบาหวานชนิดที่ 2 มีลักษณะไม่แตกต่างกัน ไม่พบการตายของเซลล์ ไม่พบความผิดปกติของ หลอดเลือดและไฟเบอร์ ไม่พบการหดตัวหรือฝ่อตัวของเซลล์ และไม่พบความแตกต่างของขนาดและ รูปร่างของ islets of Langerhans ผลการศึกษาในครั้งนี้ต่างจากที่พบในรายงานการศึกษาก่อนหน้า ซึ่งรายงานว่าภาวะเบาหวานชนิดที่ 2 มีผลทาให้เกิดความผิดปกติของเนื้อเยื่อตับอ่อนโดยมีผลต่อ ขนาดและรูปร่างของ islets of Langerhansเนื่องจาก STZ เป็นสารเคมีที่มีผลต่อเซลล์ชนิดบีตาใน islets of Langerhans อย่างไรก็ดีผลการตรวจสอบระดับน้าตาลในเลือดพบว่า หนูกลุ่มที่ถูกกระตุ้น ให้เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 มีระดับน้าตาลในเลือดเพิ่มสูงขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม อาจ เป็นไปได้ว่า STZ ไม่มีผลต่อโครงสร้างของเนื้อเยื่อตับอ่อนในหนูสายพันธุ์ C57BL6 โดยตรงแต่อาจมีผลยับยั้งการทางาน ของเซลล์บีตาซึ่งทาให้การผลิตฮอร์โมนอินซูลินลดลง และทาให้หนูกลายเป็นเบาหวานในที่สุด นอกจากนี้อาจเป็นไปได้ว่าระยะเวลาในการกระตุ้นทาให้หนูเกิดโรคเบาหวานยังไม่นานมากพอจนทา ให้เห็นการเปลี่ยนแปลงในระดับเนื้อเยื่อของตับอ่อน ทั้งนี้ควรทาการศึกษาภาวะเบาหวานในระยะยาว เพิ่มเติมต่อไปในอนาคต

BI-O-13

- หน้าที่ 59 -

สาขาวิชา : เทคโนโลยีชวี ภาพ: วท.บ. (สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ) คาสาคัญ :

แบคทีเรียสังเคราะห์แสง/ คุณภาพน้า/ บ้าบัดน้าเสีย 61030033 วีรภัทร ค้าโมนะ : ประสิทธิภาพของแบคทีเรียสังเคราะห์แสงส้าหรับการบ้าบัด

น้าเสียจากการเพาะเลียงสัตว์น้า (Efficacy of photosynthetic bacteria for wastewater treatment from aquaculture) อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ ดร.ภรณี ศรีปรีชาศักดิ์. อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม : นักวิจัย ทิฆัมพร กรรเจียก. จ้านวน …… หน้า. ปีการศึกษา 2564. บทคัดย่อ การศึกษาในครังนีมีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาประสิทธิภาพของแบคทีเรียสังเคราะห์แสงที่ เหมาะสมในการบ้าบัดน้าเสียจากการเพาะเลียงสัตว์น้า โดยเพาะเลียงแบคทีเรียสังเคราะห์แสง AA1 ในอาหาร เลี ยงเชือตามธรรมชาติ ซึ่งใช้ โ ปรตีน เป็ น พบว่า ในวั นที่ 4 ของการเพาะเลี ยงพบการเจริ ญของแบคทีเรี ย สังเคราะห์แสง โดยสีของอาหารเลียงเชือเริ่มเปลี่ยนแปลง และการเจริญของเชือเข้าสู่ช่วง log phase และ stationary phase ในวันที่ 7 และ 14 ตามล้าดับ จากนันน้ามาศึกษาความเข้มข้นของแบคทีเรียสังเคราะห์ แสงและความเค็มที่เหมาะสม โดยตรวจสอบค่าพารามิเตอร์ในการบ้าบัดน้าเสีย ได้แก่ BOD, pH, DO อุณหภูมิ ตะกอนแขวนลอย แอมโมเนีย ไนไตรท์ ไนเตรท และฟอสเฟต พบว่าปริมาณหัวเชือแบคทีเรียสังเคราะห์แสงที่ เหมาะสมในการเพาะเลียง คือ ความเข้มข้น 108 เซลล์ต่อมิลลิลิตร

BT-O-01

- หน้าที่ 60 -

สาขาวิชา : เทคโนโลยีชีวภาพ: วท.บ. (สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ) คาสาคัญ : แอคติโนแบคทีเรีย/ สารต้านจุลินทรีย์/ กระชายขาว 61030128 สิรภพ แซ่จึง: การคัดกรองฤทธิ์ต้านจุลินทรีย์ของแอคติโนแบคทีเรียที่ คัดแยกจากกระชายขาว. (Antimicrobial activity screening of actinobacteria isolated from Boesenbergia rotunda (Linn.) Mansf). อาจารย์ที่ปรึกษา: อาจารย์ ดร.ภรณี ศรีปรีชาศักดิ์. อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนันต์ อธิพรชัย. จานวน....หน้า. ปีการศึกษา 2564. บทคัดย่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคัดแยกเชื้อแอคติโนแบคทีเรียจากพืชสมุนไพรกระชาย ขาว และบริเวณดินรอบราก จากการทดลองสามารถคัดแยกแอคติโนแบคทีเรียได้ทั้งหมด 22 ไอโซเลท จากดินบริเวณรอบราก และไม่สามารถคัดแยกแอคติโนแบคทีเรียได้จากชิ้นส่วนของต้น ใบ และราก ของพืชสมุนไพรกระชายขาว ผลการทดสอบฤทธิ์ต้านจุลินทรีย์ของสารทุติยภูมิที่ผลิตจากแอคติโน แบคทีเรียทั้ง 22 ไอโซเลท พบว่าแอคติโนแบคทีเรียจานวน 6 ไอโซเลท (BSH05, BSH09, BSH11, BSS03, BSS09 และ BSS10) สามารถผลิตสารต้านจุลินทรีย์ได้ นอกจากนี้ ยังได้ทาการสกัดแยกสาร ต้านจุลินทรีย์ที่ผลิตจากแอคติโนแบคทีเรียจานวน 3 ไอโซเลท (BSH11, BSH09 และ BSS10) ด้วยตัว ทาละลายอินทรีย์ เพื่อศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพและองค์ประกอบทางเคมีเบื้องต้น

BT-O-02

- หน้าที่ 61 -

สาขาวิชา: เทคโนโลยีชีวภาพ; วท.บ. (สาขาวิชาเทคโนโลยีชวี ภาพ) คาสาคัญ :

แอคติโนแบคทีเรีย/ กรดอินโดล-3-แอซิติก/ การส่งเสริมการเจริญของพืช 61030676 ภัทรา จันทร์ขา; ประสิทธิภาพของแอคติโนแบคทีเรียสาหรับประยุกต์

ทางการเกษตร อาจารย์ที่ปรึกษา: อาจารย์ ดร.ภรณี ศรีปรีชาศักดิ์. อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม: อาจารย์ ดร.กรประภา กาญจนะ. ปีการศึกษา 2564. งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบคุณสมบัติของแอคติโนแบคทีเรียในการส่งเสริม การเจริญเติบโตของพืช ได้แก่ การผลิตกรดอินโดล-3-แอซิติก (IAA) การละลายฟอสเฟต การผลิต แอมโมเนีย และการผลิตสารต้านเชื้อราก่อโรคพืช แอคติโนแบคทีเรียไอโซเลท 1AC-8 ซึ่งคัดแยกได้ จากปุ๋ยหมักมีประสิทธิภาพในการผลิตอินโดล-3-แอซิติกมากที่สุด นอกจากนี้ ไอโซเลท 1AC-8 ยัง สามารถละลายฟอสเฟตและผลิตสารต้านเชื้อราก่อโรคพืชได้อีกด้วย แต่ไม่พบการผลิตแอมโมเนีย จากการศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาเมื่อเจริญบนอาหารเพาะเลี้ยงและภายใต้กล้องจุลทรรศน์ พบว่าไอโซเลท 1AC-8 จัดอยู่ในสกุล Streptomyces

BT-O-03

- หน้าที่ 62 -

สาขาวิชา: เทคโนโลยีชีวภาพ: วท.บ. (สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ) คำสำคัญ :

แอคติโนแบคทีเรีย/ ฟ้าทะลายโจร/ ฤทธิ์ต้านจุลินทรีย์

61030678 ลักษณารีย์ ศรีปัญญา: ความหลากหลายทางชีวภาพของแอคติโนแบคทีเรียที่คัด แยกได้จากดินบริเวณรอบรากต้นฟ้าทะลายโจร (Biodiversity of actinobacteria isolated from Rhizosphere Andrographis paniculate) อาจารย์ที่ปรึกษา: อาจารย์ ดร.ภรณี ศรีปรีชาศักดิ์. อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนันต์ อธิพรชัย. ปีการศึกษา 2564. งานวิจ ัย นี้ มีว ัต ถุ ป ระสงค์ เ พื ่ อ คั ดแยกและศึ ก ษาความหลากหลายทางชี ว ภาพแอคติ โ น แบคทีเรียสายพันธุ์ที่มีประสิทธิภาพในการผลิตสารต้านจุลินทรีย์ จากดินบริเวณรอบรากต้น ฟ้าทะลายโจร จากการเพาะเลี้ยงแอคติโนแบคทีเรียจำนวน 26 ไอโซเลท ในอาหาร ISP2 ที่อุณหภูมิห้อง เป็นเวลานาน 7 วัน และนำน้ำหมักที่ได้ไปทดสอบฤทธิ์ต้านจุลินทีรีย์ พบว่ามีแอคติโนแบคทีเรียจำนวน 8 ไอโซเลท สามารถผลิต ต้านจุลินทรีย์ทดสอบ ได้แก่ ไอโซเลท PSS02, PSS06, PSS20, PSS21, PSS32, PSS33, PSS35 และ PSS49 ซึ่งจัดเป็นแอคติโนแบคทีเรียในสกุล Streptomyces จากผลการศึกษาลักษณะของเส้นใยอากาศภายใต้กล้อง จุลทรรศน์ นอกจากนี้ ยังได้ทำการสกัดแยกสารต้านจุลินทรีย์ที่ผลิตจากแอคติโนแบคทีเรียจำนวน 3 ไอโซเลท ประกอบด้วย ไอโซเลท PSS06, PSS21 และ PSS33 เพื่อศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพและองค์ประกอบทางเคมี เบื้องต้นอีกด้วย

BT-O-04

- หน้าที่ 63 -

สาขาวิชา: เทคโนโลยีชีวภาพ; วท.บ. (เทคโนโลยีชวี ภาพ) คำสำคัญ:

ไวเทลโลเจนิน / ELISA / ปลาดุกลูกผสม 61030387 เบญจมาพร ศรีสวัสดิ์; การตรวจสอบผลการชักนำใหเกิดไวเทลโลเจนิน

ในปลาดุกลูกผสม โดยเทคนิค ELISA อาจารยที่ปรึกษา : ผูชวยศาสตราจารย ดร.พอจิต นันทนาวัฒน ปการศึกษา 2564. ไวเทลโลเจนิน (Vitellogenin; VTG) เปนโปรตีนในพลาสมาของปลาที่ออกลูกเปนไข สังเคราะหขึ้นในตับของปลาเพศเมียภายใตการควบคุมของฮอรโมนเอสโตรเจน ถูกใชเปนตัวชี้วัดทาง ชี ว ภาพสำหรั บ การตรวจสอบสารรบกวนการทำงานของต อ มไร ท  อ (Endocrine Disrupting Chemicals; EDCs) สามารถแสดงผลกระทบของสัตวน้ำหลังจากไดรับสัมผัสสารเหลานี้ในแหลงน้ำได โครงงานวิจัยนี้ไดทำการตรวจสอบผลการชักนำใหเกิดไวเทลโลเจนินในปลาดุกลูกผสมโดยใชเทคนิค Sandwich ELISA ในการตรวจสอบปริมาณไวเทลโลเจนินที่เกิดขึ้นหลังจากสัตวน้ำไดรับการชักนำให เกิดไวเทลโลเจนินดวยฮอรโมน 17β-estradiol เมื่อปลาดุกลูกผสมไดรับฮอรโมน 17β-estradiol ระดับความเขมขน 2 มิลลิกรัมตอกิโลกรัมของน้ำหนักตัว เปนเวลา 0, 3, 6, 9 และ 12 วัน เพื่อใชไว เทลโลเจนินเปนตัวชี้วัดทางชีวภาพสำหรับการปนเปอนของสารรบกวนการทำงานของตอมไรทอใน สิ่งแวดลอม ในการทดลองเริ่มจากการหาสภาวะที่เหมาะสมในการวัดปริมาณไวเทลโลเจนินโดย เทคนิค ELISA ไดสภาวะที่เหมาะสมดังนี้ การเคลือบเพลทดวยโพลิโคลนอลแอนติบอดีที่จำเพาะตอ ไวเทลโลเจนินของปลากะพงขาวที่สรางจากกระตาย (Rabbit PAb- Sea bass VTG) ระดับการเจือ จาง 1: 5000 ใชไวเทลโลเจนินบริสุทธิ์จากพลาสมาปลาดุกลูกผสม ใชแอนติบอดีทจี่ ำเพาะตอไวเทลโล เจนิ น ของปลากะพงขาวจากหนู ขาว (MAb- Sea bass VTG 23) ระดับ การเจือจาง 1: 250 และ แอนติ บ อดี ต ิ ด ฉลากด ว ยเอนไซม (GAM-HRP) ระดั บ การเจื อ จาง 1: 10000 และใช ส ารละลาย ซับสเตรท TMB และกรดซัลฟวริกหยุดปฏิกิริยา นำไปวัดคาการดูดกลืนแสงที่ 450 นาโนเมตร และ นำไปพลอตกราฟมาตรฐานไวเทลโลเจนิน และจะใชสำหรับใชวัดตัวอยางไวเทลโลเจนินในพลาสมา ของปลาดุกเพื่อศึกษาระดับไวเทลโลเจนินที่เปลี่ยนแปลงในระหวางที่ไดรับการฉีดกระตุนดวยฮอรโมน ตอไป

BT-O-05

- หน้าที่ 64 -

สาขาวิชา: เทคโนโลยีชวี ภาพ; วท.บ. (เทคโนโลยีชวี ภาพ) คาสาคัญ: อะซิทลิ โคลีนเอสเทอเรส / ปลานิล / เวสเทิรน์ บลอท 61030391 พลอยรุง้ สุทามา; การตรวจสอบอะซิทลิ โคลีนเอสเทอเรสในปลานิล ทีไ่ ด้รบั สัมผัสไกลโฟเสทด้วยเทคนิคเวสเทิรน์ บลอท อาจารย์ทปี่ รึกษา : ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.พอจิต นันทนาวัฒน์ ปี การศึกษา 2564. ในปัจจุบนั มีการรายงานผลการใช้เอนไซม์อะซิทลิ โคลีนเอสเทอเรสเป็ นตัวชี้วดั ทางชีวภาพในได้รบั สัมผัสสารในกลุ่มสารกาจัดวัชพืช เช่น ไกลโฟเสต พาราควอต หรือ 2,4 ได เมทิลแอมโมเนียมเพิม่ มากขึน้ สารเหล่านี้มผี ลต่อการทางานของเอนไซม์อะซิทลิ โคลีนเอสเทอ เรส ซึ่งตามปกติแล้วจะทาหน้าทีเ่ ปลีย่ นอะซิทลิ โคลีนไปเป็ นโคลีนในระบบประสาทของปลา ใน งานวิจยั นี้ เป็ นการพตรวจสอบเอนไซม์อะซิทลิ โคลีนเอสเทอเรสในปลานิลทีไ่ ด้รบั สัมผัสไกลโฟ เสทโดยการแช่ทปี่ ริมาณ 0.5 ml/L ซึ่งเป็ นปริมาณทีไ่ ม่ก่อให้เกิดการตาย เป็ นเวลา 96 ชัวโมง ่ เก็บตัวอย่างสมอง เหงือก ตับ และเลือด ที่เวลา 0, 24, 48, 72 และ 96 ชัวโมง ่ มาสกัดและ ตรวจสอบเอนไซม์อะซิทลิ โคลีนเอสเทอเรส ด้วยเทคนิคเวสเทิรน์ บลอท โดยใช้แอนติบอดีที่ จาเพาะกับอะซิทลิ โคลีนเอสเทอเรสทีไ่ ด้จากปลาดุกลูกผสม และพอลิโคลนอลแอนติบอดีที่ จาเพาะต่ออะซิทลิ โคลีนเอสเทอเรสทีไ่ ด้จากปลาไหล โดยคาดว่าสามารถใช้แอนติบอดีเหล่านี้ใน การตรวจในตัวอย่างสมอง เหงือก ตับ และเลือดทีเ่ วลา 24, 48, 72 และ 96 ชัวโมงมี ่ ไกลโฟเสท ได้

BT-O-06

- หน้าที่ 65 -

สาขาวิชา: เทคโนโลยีชวี ภาพ; วท.บ. (เทคโนโลยีชวี ภาพ) คาสาคัญ: ไวเทลโลเจนิน / ปลาดุกลูกผสม / เวสเทิรน์ บลอท / ดอทบลอท 61030127 ศิรพิ าภรณ์ โอษฐิเวช ; การตรวจสอบผลการชักนาให้เกิดไวเทลโล เจนินในปลาดุกลูกผสมโดยเทคนิคเวสเทิรน์ บลอทและดอทบลอท อาจารย์ทปี่ รึกษา : ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. พอจิต นันทนาวัฒน์ ปี การศึกษา 2564. ไวเทลโลเจนิน (Vitellogenin, VTG) เป็ นโปรตีนในพลาสมาของสัตว์มกี ระดูก สันหลังเพศเมียทีอ่ อกลูกเป็ นไข่ เป็ นโปรตีนหลักในไข่แดง เป็ นแหล่งอาหารสะสมพลังงานเพื่อ ใช้ระหว่างการพัฒนาตัวอ่อน ถูกสังเคราะห์ขน้ึ ภายใต้การควบคุมของฮอร์โมนเอสโตรเจน และ เป็ นตัวชี้วดั ทางชีวภาพเมื่อได้รบั สารรบกวนการทางานของต่อมไร้ท่อ (Endocrine Disrupting Chemicals, EDCs) จากสิง่ แวดล้อม งานวิจยั นี้ศกึ ษาการชักนาให้เกิดไวเทลโลเจนินในปลาดุก ลูกผสม โดยมีการฉีดกระตุ้นปลาดุกลูกผสมด้วยฮอร์โมน 17-estradiol (E2) ปริมาณ 2 mg/kg BW ทุก ๆ 3 วัน เป็ นจานวน 4 ครัง้ และนามาการตรวจสอบผลการชักนาให้เกิดไวเทลโลเจนิน ในปลาดุกลูกผสม ในพลาสมาของปลา ด้วยเทคนิคเวสเทิร์นบลอทและเทคนิคดอทบลอท โดย ใช้โมโนโคลนอลแอนติบอดีทจี่ าเพาะกับไวเทลโลเจนิน (MAb-sea bass VTG 23) ระดับการเจือ จาง 1: 100 ใช้แอนติบอดีจาเพาะต่อ Ig ที่ตดิ ฉลากด้วยเอนไซม์ (GAM-HRP) ระดับการเจือ จาง 1: 10000 และใช้สารละลายซับสเตรท Diaminobenzidine (DAB) ซึ่งคาดว่าสามารถใช้โม โนโคลนอลแอนติบอดีทจี่ าเพาะกับไวเทลโลเจนิน (MAb-sea bass VTG 23) ในการตรวจสอบ การชักนาให้เกิดไวเทลโลเจนิน ในปลาดุกลูกผสมทีไ่ ด้รบั การฉีดกระตุ้นด้วย 17-estradiol ได้

BT-O-07

- หน้าที่ 66 -

สาขาวิชา: เทคโนโลยีชีวภาพ; วท.บ. (เทคโนโลยีชีวภาพ) คําสําคัญ:

อะซิทิลโคลีนเอสเทอเรส / ไกลโฟเสท / ปลานิล / อิมมูโนฮีสโตเคมิสทรี 61030686 แสนคํา เทอํารุง ; การตรวจสอบอะซิทิลโคลีนเอสเทอเรสในปลานิล ที่

ได้รับสัมผัสไกลโฟเสทด้วยเทคนิคอิมมูโนฮีสโตเคมิสทรี อาจารย์ที่ปรึกษา: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พอจิต นันทนาวัฒน์ ปีการศึกษา 2564. การตรวจสอบเอนไซม์อะซิทิลโคลีนเอสเทอเรส ซึ่งมีรายงานการใช้เป็นตัวชี้วัด ทาง ชีวภาพในการได้รับสารกําจัดวัชพืช เพื่อบ่งชี้การรับสัมผัสสารในระดับที่ไม่ก่อให้เกิดการตาย ในการ ทดลองในห้องปฏิบัติการ ในงานวิจัยนี้ เป็นการตรวจสอบเอนไซม์อะซิทิลโคลีนเอสเทอเรสในเนื้อเยื่อ ของปลานิลที่ได้รับสัมผัสไกลโฟเสท โดยวิธีแช่ในระดับความเข้มข้น 0.5 ml/L ซึ่งมีความเป็นพิษของ สารในระดับ ที่ไม่ก่อให้เกิดการตาย เป็นเวลา 96 ชั่วโมง โดย ทําการเก็บตัวอย่าง เนื้อเยื่อสมอง เหงือก ตับ ลําไส้ และกล้ามเนื้อ ที่เวลา 24, 48, 72 และ 96 ชั่วโมง มาตรวจสอบโดยเทคนิคอิมมูโนฮิ สโตเคมิสทรี โดยใช้ โมโนโคลนอลแอนติบอดีจําเพาะต่ออะซิทิลโคลีนเอสเทอเรสของปลาดุกลูกผสม (MAb-AChE 33) เปรียบเทียบกับการใช้พอลิโคลนอลแอนติบอดีที่จําเพาะต่ออะซิทิลโคลีนเอสเท อเรส (PAb-AChE MC2) เพื่อหาตําแหน่งที่พบอะซิทิลโคลีนเอสเทอเรสในเนื้อเยื่อและระดับความ เข้มของสีนํ้าตาลจากปฏิกิริยาของแอนติบอดีกับสับสเตรทที่อาจแตกต่างกันในเนื้อเยื่อและระยะเวลา ที่ได้รับสัมผัสสารต่อไป

BT-O-08

- หน้าที่ 67 -

สาขาวิชา: ฟิ สกิ ส์; วท.บ. (ฟิ สกิ ส์) คาสาคัญ: C4D / แคพีลารีอเิ ล็กโตรโฟรีซสิ / UV curing polymer 60030946 วรรณชนะ วรรณพาน; การพัฒนาวงจรตรวจวัดค่าการนาไฟฟ้ า ชนิดโลหะแบบไม่สมั ผัสสารละลาย (C4D) อาจารย์ทป่ี รึกษา : อาจารย์ รัฐชัย ปิ่ นชัยพัฒน์ ปี การศึกษา 2564. โครงงานนี้ได้ศกึ ษาและพัฒนาวงจรตรวจวัดค่าการนาไฟฟ้ าชนิดโลหะแบบไม่สมั ผัส สารละลาย (C4D) โดยวิเคราะห์สญ ั ญาณทีไ่ ด้จากการทดลองการแยกสีของสีผสมอาหารด้วย เทคนิคแคพีลารีอเิ ล็กโตรโฟรีซสิ บน UV curing polymer ทีส่ ร้างด้วยการพิมพ์สามมิตแิ บบ Stereolithography (SLA) ในชิปทีม่ พี น้ื ทีห่ น้าตัด 1 mm x 1 mm เป็ นท่อแคพีลารีขนาดเล็ก เมื่อนาสัญญาณจากวงจรทีพ่ ฒ ั นามาเทียบพบว่ามีการรบกวนคลื่นสัญญาณน้อยลงและวัด สัญญาณได้ดขี น้ึ มากกว่าประมาณ 1 เท่า

PY-O-02

- หน้าที่ 68 -

สาขาวิชา: ฟิสิกส์; วท.บ. (ฟิสิกส์) คาสาคัญ:

ความเข้นข้นกัมมันตภาพ / แกมมาสเปกโตรมิเตอร์ / วัสดุปลูกไม้ดอกไม้ประดับ / ความเสี่ยงทางรังสี 61030036 จรรยกร จิระโร; การตรวจวัดและวิเคราะห์ค่ากัมมันตภาพรังสีตาม ธรรมชาติในวัสดุปลูกไม้ประดับที่สามารถหาซื้อได้ในประเทศไทย

อาจารย์ที่ปรึกษา : ดร.กุลนารี วงศ์ราช อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม: ดร.ฐานวีร์ โชติจารุสวัสดิ์ ปีการศึกษา 2564. การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจวัดปริมาณกัมมันตภาพรังสีจาเพาะ และประเมิน ค่าบ่งชี้ความเป็นอันตรายทางรังสีต่าง ๆ ในวัสดุปลูกไม้ดอกไม้ประดับที่สามารถหาซื้อได้ในประเทศ ไทย โดยวัสดุที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ ดินญี่ปุ่น เวอร์มิคูไลท์ เพอร์ไลท์ และหินภูเขาไฟ การศึกษานี้จะ ทาการวัดปริมาณรังสีด้วยระบบแกมมาสเปกโตรเมตรี โดยใช้หัววัดรังสีแบบเจอร์มาเนียมความ บริสุทธิ์สูง ในการวัดปริมาณรังสีจะทาการตรวจวัดค่าความเข้นข้นของธาตุกัมมันตรังสี 238U 232Th และ 40K และทาการวิเคราะห์ค่าบ่งชี้ความเป็นอันตรายต่าง ๆ ได้แก่ ค่าดัชนีความเสี่ยงของรังสี ภายนอก ค่าปริมาณรังสีดูดกลืน และค่าอัตราปริมาณรังสียังผลที่ได้รับต่อปี โดยนาค่าที่คานวณได้นี้ มาเปรียบเทียบกับค่าที่ตรวจวัดได้กับข้อมูลของนักวิจัยจากประเทศต่าง ๆ และค่ามาตรฐานความ ปลอดภัยที่กาหนดไว้โดยคณะกรรมการวิทยาศาสตร์ขององค์กรสหประชาชาติเกี่ยวกับผลของรังสี ปรมาณู (United Nations Scientific Committee on the Effects of Atomic Radiation: UNSCEAR 2000) สาหรับผลการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ข้อมูลปริมาณกัมมันตภาพรังสีจาเพาะ และค่า บ่งชี้ความเป็นอันตรายทางรังสีต่าง ๆ ที่ได้ทาการศึกษา สามารถเก็บเป็นฐานข้อมูลสารกัมมันตรังสี ตามธรรมชาติ (Naturally Occurring Radioactive Material: NORM) ของวัสดุปลูกที่ใช้ในประเทศ ไทย และสามารถวิเคราะห์เพื่อประเมินความเป็นอันตรายทางรังสีที่อาจส่งผลต่อสุขภาพของ ประชาชนในอนาคตได้

PY-O-03

- หน้าที่ 69 -

สาขาวิชา: วาริชศาสตร; วท.บ. (วาริชศาสตร) คําสําคัญ :

แพลงกตอนพืช / บางแสน / ชลบุรี 61030432 พนิดา ใจกลา; การเปลี่ยนแปลงของแพลงกตอนพืชบริเวณหาดบางแสน (Changes in Phytoplankton at Bangsaen Beach)

อาจารยที่ปรึกษา: ดร.วิชญา กันบัว ปการศึกษา 2564.

ศึกษาองคประกอบของแพลงกตอนพืชและการเปลี่ยนแปลงของแพลงกตอนพืชบริเวณหาด บางแสน อ.เมือง จ.ชลบุรี ในเดือนเมษายนและเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2563 และศึกษาคุณภาพนํ้าบางประการ ไดแก อุณหภูมิ ความเค็ม ความเปนกรด-ดาง และปริมาณออกซิเจนละลายนํ้า โดยทําการเก็บตัวอยาง 4 สถานี 8 จุด โดยเก็บระยะใกลฝง 100 เมตร 4 จุดและระยะไกลฝง 300 เมตร 4 จุด ไดแก หาดวอนนภา วงเวียนหาดบางแสน ศาลเจาพอแสน และปลายแหลมแทน โดยใชถุงลาก 20 ไมโครเมตร นําผลมาทําการ วิเคราะห พบแพลงกตอนพืชทั้งหมด 17 สกุล 2 ดิวิชั่น แบงเปนดิวิชั่น Cyanophyta พบ 1 สกุล คิดเปนรอย ละ 5.88% และดิวิชั่น Chromophyta 16 สกุล แบงเปน 2 Class ไดแก Class Bacillariophyceae 11 สกุล คิดเปนรอยละ 64.71% และ Class Dinophyceae 5 สกุล คิดเปนรอยละ 29.41% เดือนเมษายนพบความ หนาแนนของแพลงกตอนพืช940.46 เซลลตอลิตร เดือนพฤษภาคมพบความหนาแนนของแพลงกตอนพืช 6226.97 เซลลตอลิตร แพลงกตอนพืชสกุลเดน ไดแก Prorocentrum Striatella Thalassiosira และ Pleurosigma

AQ-O-01

- หน้าที่ 70 -

สาขาวิชา: วาริชศาสตร; วท.บ. (วาริชศาสตร) คําสําคัญ:

แพลงกตอนสัตว / บางแสน / ชลบุรี 61030143 ธิติญา ทองคุม; การเปลี่ยนแปลงของแพลงกตอนสัตวบริเวณหาดบาง

แสน จังหวัดชลบุรี อาจารยที่ปรึกษา : วิชญา กันบัว ปการศึกษา 2564. ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของแพลงกตอนสัตวบริเวณหาดบางแสน จังหวัดชลบุรี ใน เดือนเมษายน-เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2563 ทําการเก็บตัวอยาง 4 สถานี 8 จุด โดยมีระยะใกลฝง 100 เมตร และ ระยะไกลฝง 300 เมตร แบงออกเปน 4 พื้นที่ คือ หาดวอนนภา วงเวียนบางแสน ศาลเจา พอแสน และแหลมแทน ทําการเก็บตัวอยางโดยใชถุงลากแพลงกตอนขนาดชองตา 330 ไมโครเมตร จากนั้นไดทําการจําแนกชนิดของแพลงกตอนสัตวและทําการวิเคราะหหาการเปลี่ยนแปลงในแตละ พื้นที่ วิเคราะหหาความอุดมสมบูรณของแพลงกตอนสัตว พบแพลงกตอนสัตวทั้งหมด 2 ไฟลัม 2 คลาส 8 กลุม โดยพบ Phylum Arthropoda Class Crustacea กลุมที่พบคือ Copepod ,Copepodite copepod ,ตัวออนของเพรียงระยะ Cypris ,ตัวออนของเพรียงระยะ Nauplius ,ตัวออนของเพรียงระยะ Zoea ,Lucifer และ Shrimp larvae และพบ Phylum Chordata Class Pisces กลุมที่พบคือ Fish egg จาก การศึกษาในเดือนเมษายน-เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2563 พบแพลงกตอนสัตวกลุม Copepod เปนกลุม เดนทั้ง 2 เดือน ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2563 พบแพลงกตอนสัตวกลุมที่มีความหนาแนนสูงสุด คือ Copepod กลุมที่มีความหนาแนนนอยที่สุด คือ Zoea โดยมีคาเฉลี่ยอยูที่ 482.97 ตัวตอลูกบาศกเมตร และ 22.01 ตัวตอลูกบาศกเมตร ตามลําดับ ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2563 พบแพลงกตอนสัตวกลุมที่ มีความหนาแนนสูงสุด คือ Copepod กลุมที่มีความหนาแนนนอยที่สุด คือ Shrimp lava โดยมีคาเฉลี่ย อยูที่ 2025.71 ตัวตอลูกบาศกเมตร และ 5.87 ตัวตอลูกบาศกเมตร ตามลําดับ โดยปจจัยสิ่งแวดลอมที่ มีผลตอการเปลี่ยนแปลงของแพลงกตอนสัตวบริเวณหาดบางแสน คือ อุณหภูมิ ความเค็ม ปริมาณ ออกซิเจนละลายนํ้า ปริมาณอาหาร และ ฤดูกาล

AQ-O-02

- หน้าที่ 71 -

สาขาวิชา: วาริชศาสตร; วท.บ. (วาริชศาสตร) คําสําคัญ:

คุณภาพนํ้า / อางเก็บนํ้านฤบดินทรจินดา / AARL – PC score / Trophic status 61030433 พรภิมล อินทรจันทร; การประเมินคุณภาพนํ้าบริเวณอางเก็บนํ้า

นฤบดินทรจินดา อาจารยที่ปรึกษา : วิชญา กันบัว ปการศึกษา 2564. การศึกษาการประเมินคุณภาพนํ้าบริเวณอางเก็บนํ้านฤบดินทรจินดา ตําบลแกง ดินสอ อําเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี โดยเก็บตัวอยางในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2564 และเดือนมกราคม พ.ศ. 2565 เก็บตัวอยาง 9 สถานี โดยการตรวจวัดคุณภาพนํ้า ไดแก อุณหภูมิ ความเปนกรด - ดาง ปริมาณออกซิเจนที่ละลายนํ้า คาการนําไฟฟา และการวิเคราะหคุณภาพนํ้าในหองปฏิบัติการ ไดแก BOD คลอโรฟลล เอ ไนเตรท - ไนโตรเจน แอมโมเนีย - ไนโตรเจน และออรโธฟอสเฟต ผลการศึกษา คุณภาพนํ้า มีคาเฉลี่ยดังนี้ อุณหภูมิ 28.53 องศาเซลเซียส ความเปนกรด -ดาง 6.86 ปริมาณ ออกซิเจนที่ละลายนํ้า 5.65 มิลลิกรัมตอลิตร คาการนําไฟฟา 41 ไมโครซีเมนสตอเซนติเมตร BOD 1.22 มิลลิกรัมตอลิตร คลอโรฟลล เอ 0.119 มิลลิกรัมตอลิตร ไนเตรท – ไนโตรเจน 0.039 มิลลิกรัมตอลิตร แอมโมเนีย – ไนโตรเจน 0.075 มิลลิกรัม และออรโธฟอสเฟต 0.028 มิลลิกรัมตอ ลิตร ผลการประเมินคุณภาพนํ้าโดยใช AARL – PC score พบวาเดือนตุลาคม พ.ศ. 2564 คุณภาพ นํ้าสวนใหญมีระดับสารอาหาร (Trophic status) นอยถึงปานกลาง (Oligotrophic-mesotrophic status) คุณภาพนํ้าดีถึงปานกลาง และในเดือนมกราคม พ.ศ. 2565 คุณภาพนํ้าสวนใหญมีระดับ สารอาหาร (Trophic status) นอย (Oligotrophic status) คุณภาพนํ้าดี ทําใหคาคุณภาพนํ้าทั้งสอง เดือนมีความแตกตางกัน เนื่องมาจากมีการเปลี่ยนแปลงของอิทธิพลฤดูกาล

AQ-O-03

- หน้าที่ 72 -

สาขาวิชา: วาริชศาสตร; วท.บ. (วาริชศาสตร) คําสําคัญ:

คุณภาพนํ้าทะเล / ชายฝง / จังหวัดชลบุรี 61030441 ศุภภร สุวรรณวงศ; การประเมินคุณภาพนํ้าทะเลบริเวณชายฝง จังหวัด

ชลบุรี อาจารยที่ปรึกษา : วิชญา กันบัว ปการศึกษา 2564. ทําการศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณภาพนํ้าทะเลบริเวณชายฝง จังหวัดชลบุรี ในพื้นที่อําเภอ ศรีราชาถึงอําเภอเมืองชลบุรี ทําการเก็บตัวอยางนํ้าในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2564 และเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2564 จํานวน 6 สถานี ไดแก เกาะลอย บางพระ หาดวอนนภา เขาสามมุก อางศิลา ทาเรือพลี โดยการตรวจวัดคุณภาพนํ้าภาคสนาม ไดแก ความเปนกรด – ดาง อุณหภูมิ ออกซิเจน ละลายนํ้า และศึกษาคุณภาพนํ้าวิเคราะหหาองคประกอบของแอมโมเนีย ไนเตรท ฟอสเฟต ปริมาณ สารแขวนลอยทั้งหมด และปริมาณแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรมทั้งหมดที่หองปฏิบัติการ ผลการศึกษา วิเคราะหคุณภาพนํ้าทะเลบริเวณชายฝง จังหวัดชลบุรี พบวา อุณหภูมิของนํ้า 25.58 – 28.89 องศาเซลเซียส ความเปนกรด – ดาง มีคา 7.49 – 8.35 ออกซิเจนละลายนํ้า 4.26 – 7.78 มิลลิกรัม ตอลิตร สารแขวนลอยทั้งหมด 27.66 – 58.39 มิลลิกรัมตอลิตร แอมโมเนีย 24.87 – 181.14 มิลลิกรัมตอลิตร ไนเตรท -0.20 – 40.85 มิลลิกรัมตอลิตร ฟอสเฟต 11.61 – 41.77 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณแบคทีเรียกลุมโคลิฟอรมทั้งหมด 3 และ 𝑝 + 4𝑎 เป็นจำนวนเฉพาะ ไม่มีคำตอบที่เป็นจำนวนเต็มบวก 𝑥, 𝑦 และ 𝑧 เมื่อ 4𝑎 − 1 เป็นจำนวนเฉพาะและ 8𝑎 − 1 เป็นจำนวนประกอบ สำหรับจำนวนเต็มบวก 𝑎

MA-P-06

- หน้าที่ 97 -

สาขาวิชา: คณิตศาสตร์; วท.บ. (คณิตศาสตร์) คาสาคัญ:

การแปลง HY / ปริพันธ์สังวัตนาการ ศิวารินทร์ แสงเพชร: การแปลง HY ของปริพันธ์สังวัตนาการและอนุพันธ์ปริพันธ์

สังวัตนาการ อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตร์ตราจารย์ ดร.ดวงกมล ผลเต็ม ปีการศึกษา 2564. งานวิจัยนี้ศึกษาการแปลงเชิงปริพันธ์รปู แบบใหม่ เรียกว่า การแปลง HY และ นาเสนอ การแปลง HY ของปริพันธ์สังวัตนาการและอนุพันธ์ปริพันธ์สังวัตนาการ พร้อมทั้งนาไป ประยุกต์กับการหาผลเฉลยของสมการเชิง (ปริพันธ์ - ) อนุพันธ์ ซึ่งจากตัวอย่าง จะแสดงให้เห็นถึง ความถูกต้องของผลการแปลง HY ที่ได้รับ

MA-P-07

- หน้าที่ 98 -

สาขาวิชา: คณิตศาสตร์; วท.บ. (คณิตศาสตร์) คำสำคัญ:

การแปลงที / ปริพันธ์สังวัตนาการ 61030169 กัลญารัตน์ การะเกต; การหาผลเฉลยของระบบสมการเชิง (ปริพันธ์ -)

อนุพันธ์โดยใช้การแปลงที อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตร์ตราจารย์ ดร.ดวงกมล ผลเต็ม ปีการศึกษา 2564. งานวิจัยนี้ศึกษาการแปลงเชิงปริพันธ์รูปแบบใหม่ เรียกว่า การแปลงที ซึ่งเป็นการ แปลงเชิงปริพันธ์แบบทั่วไป ครอบคลุมการแปลงเชิงปริพันธ์รูปแบบอื่นและนำไปใช้หาผลเฉลยของ ระบบสมการเชิง (ปริพันธ์ -) อนุพันธ์พร้อมเงื่อนไขค่าเริ่มต้น ผลเฉลยที่ได้รับเป็นผลเฉลยแบบแม่น ตรง

MA-P-08

- หน้าที่ 99 -

สาขาวิชา : คณิตศาสตร์ ; วท.บ. (สาขาวิชาคณิตศาสตร์) คำสำคัญ : ระเบียบวิธีเชิงตัวเลข, สมการเชิงอนุพันธ์, วิธีของอิตเคน, การประมาณค่าของนิวตัน รหัสนิสิต : 61030070 ชื่อ-นามสกุลนิสิต : สุวรรณี ส่องศรี ชื่อเรื่องภาษาไทย : การหาผลเฉลยของสมการเชิงอนุพันธ์อันดับหนึ่งโดยใช้การประมาณค่าของนิว ตันและวิธีของอิตเคน อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อภิชาติ เนียมวงษ์ ปีการศึกษา : 2564

ปัญหาสำคัญอย่างหนึ่งในวิชาคณิตศาสตร์คือการหาผลเฉลยของสมการเชิงอนุพันธ์ โดยวิธีวิเคราะห์และวิธีการประมาณค่าเชิงตัวเลข นักวิจัยส่วนใหญ่ใช้วิธีการประมาณค่าเชิงตัวเลขเพื่อ หาผลเฉลยของสมการเชิงอนุพันธ์สามัญอันดับหนึ่งที่มีเงื่อนไขค่าเริ่มต้น วิธีการเหล่านี้ เช่น วิธีอนุกรม เทย์เลอร์ วิธีของออยเลอร์ และวิธีของรุงเง-คุททา Nasr Al Din ได้ศึกษาปัญหานี้โดยใช้การประมาณ ค่าของนิวตัน (Newton's interpolation) และวิธีของอิตเคน (Aitken's method) เพื่อสร้างพหุนาม กำลังสอง (quadratic polynomial) ในงานวิจัยนี้ได้ศึกษาการรวมกันของการประมาณค่าของนิวตัน และวิธีของอิตเคนเพื่อสร้างพหุนามกำลังสาม (cubic polynomial) สำหรับการหาผลเฉลยของสมการ เชิงอนุพันธ์อันดับที่หนึ่งที่มีเงื่อนไขค่าเริ่มต้น และตัวอย่างบางส่วนแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพของ วิธีการนี้ว่ามีค่าใกล้เคียงกับวิธีการของออยเลอร์ (Euler’s method)

MA-P-09

- หน้าที่ 100 -

สาขาวิชา: คณิตศาสตร์; วท.บ. (คณิตศาสตร์) คำสำคัญ:

สามเหลี่ยมด้านเท่า / สามเหลี่ยมหน้าจั่ว 61030190 ปุณิกา ทองสุขใส; สามเหลี่ยมที่อยู่ในสามเหลี่ยมที่กำหนดให้

อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมคิด อินเทพ ปีการศึกษา 2564. ในงานปัญหาพิเศษนี้ เราทำการศึกษาชนิดของสามเหลี่ยม ซึ่งเกิดจากการเชื่อมเส้น แบ่งมุมภายในที่อยู่ใกล้กันของแต่ละมุมของสามเหลี่ยมด้านเท่าและสามเหลี่ยมหน้าจั่ว โดยแบ่งมุม ออกเป็นอัตราส่วน 1: 𝑛: 1 สำหรับ 𝑛 ∊ ℕ ผลการศึกษาพบว่า สามเหลี่ยมใหม่ที่เกิดขึ้นภายใน สามเหลี่ยมด้านเท่าและสามเหลี่ยมหน้าจั่ว เป็นสามเหลี่ยมด้านเท่าและสามเหลี่ยมหน้าจั่ว ตามลำดับ

MA-P-10

- หน้าที่ 101 -

สาขาวิชา: เคมี; วท.บ. (เคมี) คาสาคัญ:

บิส(อินโดลลิว)มีเทน / ซิลิกา-กรดซัลฟิวริก / นิวคลีโอไฟล์ 61030011 ศศิรัตน์ เขียวสนาม; ปฏิกริ ิยาการแทนที่บิส(อินโดลลิว)มีเทนด้วยนิวคลี

โอไฟล์ อาจารย์ที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.จเร จรัสจรูญพงศ์ ปีการศึกษา 2564. บิส(อินโดลลิว)มีเทนเป็นสารอินทรีย์กลุ่มหนึ่งที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพและฤทธิ์ทางยา อย่างมากมาย เช่น มีฤทธิ์ในการยับยั้งเนื้องอก ฤทธิ์ต้านการอักเสบ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีรายงาน การพัมนาสารกลุ่มนี้เป็นเซนเซอร์ทางเคมีด้วย ด้วยเหตุผลนี้จึงทาการสังเคราะห์สารกลุ่มบิส(อินโดล ลิ ว )มีเทนที่ กาลั ง ได้ รั บ ความสนใจจากนั กเคมี อ ย่า งมากในปั จจุบั น ในงานวิจัยนี้ส นใจศึ กษาการ สังเคราะห์ สาร 3-(1-(1เฮช-อินโดล-3-อิว)ไซโคลเฮกซิล)-5-เมทอกซี-1เฮช-อินโดล (5) ซึ่งเป็นอนุพันธ์ ของสารบิส(อินโดลลิว)มีเทนแบบไม่สมมาตรชนิดใหม่ มีลักษณะโครงสร้างที่สาคัญคือคาร์บอนที่ต่อ ระหว่างวงอินโดลสองวงเป็นคาร์บอนชนิดจตุรภูมิ โดยทาการสังเคราะห์ผ่านปฏิกิริยาทรานส์อินโดล ลิ ล เลชั น ของสารบิ ส (อิ น โดลลิ ว )มี เ ทนแบบสมมาตร (3) ด้ ว ย 5-เมทธอกซี อิ น โดล (4) ในตั ว ท า ละลายอะซีโ ทไนไทรล์ โดยใช้ซิลิกา-กรดซัลฟิวริกเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาภายใต้สภาวะที่ไม่รุนแรงที่ อุณหภูมิห้อง พบว่าจะให้ผลิตภัณฑ์เป็นสารบิส(อินโดลลิว)มีเทนแบบไม่สมมาตรที่มีประสิทธิภาพ ใช้ ตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีราคาไม่แพง เป็นมิ ตรต่อสิ่งแวดล้อม และสามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ ซึ่งทาให้มี แนวโน้มสามารถประยุกต์ใช้วิธีการนี้ในการสังเคราะห์สารบิส(อินโดลลิว)มีเทนแบบไม่สมมาตรทั้ง ทางด้านวิชาการ และ อุตสาหกรรม

CH-P-01

- หน้าที่ 102 -

สาขาวิชา: เคมี; วท.บ. (เคมี) คาสาคัญ: บิส(อินโดลลิว)อัลเคน / ซิลกิ า-กรดซัลฟิ วริก / เมทิลอินโดล 61030227 ปั ฐธวีกานต์ ศรีภกั ดี; การสังเคราะห์ทไ่ี ม่สมมาตรของบิส(อินโดลลิว) อัลเคนทีป่ ระกอบด้วยคาร์บอนจตุรภูมิ อาจารย์ทป่ี รึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร. จเร จรัสจรูญพงศ์ ปี การศึกษา 2564. บิส(อินโดลลิว)อัลเคนเป็ นสารแอลคาร์ลอยด์ในกลุ่มเฮทเทอโรไซคลิกชนิดหนึ่ง ทีม่ ฤี ทธิทางชี ์ วภาพและฤทธิทางยาอย่ ์ างมากมาย นอกจากนี้ยงั มีรายงานการสังเคราะห์สารทาง เภสัชกรรมอีกด้วย ด้วยเหตุผลนี้จงึ ทาการสังเคราะห์สารกลุม่ บิส(อินโดลลิว)อัลเคนทีก่ าลังได้รบั ความสนใจจากนักเคมีอย่างมากในปั จจุบนั ในงานวิจยั นี้สนใจศึกษาการสังเคราะห์สาร เติรต์ บิวทิล 4-(1เฮช-อินดอล-3-อิล)-4-(1-เมทิล-1เฮช-อินดอล-3-อิล)ไพเพอริดนี -1-คาร์บอกซีเลต (5) ซึง่ เป็ นอนุพนั ธ์ของสารบิส(อินโดลลิว)อัลเคนแบบไม่สมมาตร มีลกั ษณะโครงสร้างทีส่ าคัญคือ คาร์บอนทีต่ อ่ ระหว่างอินโดลสองวงเป็ นคาร์บอนนิลจตุรภูมิ โดยทาการสังเคราะห์ผ่านปฏิกริ ยิ าท รานส์อนิ โดลลิลเลชันของสารบิส(อินโดลลิว)อัลเคนแบบสมมาตร (3) ด้วย 1-เมทิลอินโดล (4) ในตัวทาละลายอะซีโทไนไทรล์ โดยซิลกิ า-กรดซัลฟิ วริกเป็ นตัวเร่งปฏิกริ ยิ าภายใต้สภาวะการทา ความร้อน พบว่าจะให้ผลิตภัณฑ์เป็ นสารบิส(อินโดลลิว)อัลเคนแบบไม่สมมาตรทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ใช้ตวั เร่งทีป่ ฏิกริ ยิ าทีร่ าคาไม่แพง เป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม และสามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ ซึ่งมี แน้วโน้มสามารถประยุกต์ใช้วธิ กี ารนี้ในการสังเคราะห์สารบิส(อินโดลลิว)อัลเคนแบบไม่สมมาตร ได้

CH-P-02

- หน้าที่ 103 -

สาขาวิชา: เคมี; วท.บ. (เคมี) คาสาคัญ: วิธีการผลิตอุปกรณ์ตรวจวัดแบบใหม่ / อุปกรณ์ตรวจวัดแบบผ้า / พอลิแลคติกแอซิด 61030202 กุลวรินทร์ ศิรจิ นั ทร์; การสร้างอุปกรณ์ตรวจวัดแบบผ้าด้วยวิธกี าร พิมพ์ผา่ นแม่แบบด้วยพอลิแลคติกแอซิด อาจารย์ทป่ี รึกษา: รองศาสตราจารย์ ดร.ยุภาพร สมีน้อย ปี การศึกษา 2564. งานวิจยั นี้ได้พฒ ั นาวิธกี ารสร้างอุปกรณ์ตรวจวัดแบบผ้า โดยอาศัยวิธกี ารพิมพ์ ผ่านแม่พมิ พ์แผ่นใสทีฉ่ ลุลวดลายคล้ายกับการพิมพ์ผา่ นสกรีนด้วยพอลิเมอร์ทางการแพทย์พอลิ แลคติกแอซิด (Polylactic acid, PLA) สร้างอุปกรณ์โดยสร้างส่วนกัน้ ทีไ่ ม่ชอบน้า (Hydrophobic barrier) บนอุปกรณ์แบบผ้าด้วยการเทสารละลาย PLA ลงแม่พมิ พ์ทว่ี างบนผ้า สารละลาย PLA จะไหลผ่านลวดลายของแม่พมิ พ์และซึมผ่านผ้าเกิดเป็ นส่วนกัน้ ทีไ่ ม่ชอบน้า ส่วนบริเวณทีเ่ หลือ จะเป็ นบริเวณทดสอบ วิธดี งั กล่าวสามารถสร้างส่วนกัน้ ทีไ่ ม่ชอบน้าและบริเวณตรวจวัดได้ขนาด เล็กสุดอยูท่ ่ี 1.23±0.01 และ 1.9±0.06มิลลิเมตร ตามลาดับ (n=15) มีความสามารถในการทาซ้า โดยมีคา่ เบีย่ งเบนมาตรฐานสัมพัทธ์อยูใ่ นช่วงร้อยละ 5.47–7.59 (n=80) อุปกรณ์ตรวจวัด สามารถใช้งานได้กบั สารละลายอินทรียห์ ลากหลายชนิด นาอุปกรณ์ตรวจวัดแบบผ้าทีส่ ร้างได้ไป ตรวจวัด pH ของสารละลายโดยการตรึงอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติลงบนอุปกรณ์แบบผ้า พบว่า อุปกรณ์ดงั กล่าวสามารถวัดค่าพีเอชได้ตงั ้ แต่ 1.0-14.0 โดยการเทียบแถบสีบนอุปกรณ์กบั แถบสี มาตรฐาน ทัง้ นี้อุปกรณ์ดงั กล่าวจะได้มกี ารพัฒนาต่อเพือ่ สร้างเป็ นอุปกรณ์ตรวจวัดพีเอชในเหงือ่ แบบสวมใส่เพือ่ ติดตามภาวะเมตาบอลิซมึ (Metabolism) ของผูใ้ ช้งานต่อไป

CH-P-03

- หน้าที่ 104 -

สาขาวิชา: เคมี; วท.บ. (เคมี) คาสาคัญ:

อุปกรณ์แบบผ้า / ยาฆ่าแมลง / ไมโครโฟลอินเจคชันอะนาไลสิส 61030587 ธนพร บุญนิคม; ไมโครโฟลอินเจคชันอะนาไลสิสบนอุปกรณ์แบบผ้า

สาหรับการตรวจวัดยาฆ่าแมลง อาจารย์ที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร. ยุภาพร สมีน้อย ปีการศึกษา 2564. งานวิ จ ั ย นี ้ ไ ด้ พ ั ฒ นาการวิ เ คราะห์ ร ะบบไมโครโฟลอิ น เจคชั น อะนาไลสิ ส (Microflow injection analysis, µFIA) บนอุปกรณ์แบบผ้าโดยอาศัยการตรวจวัดทางเคมีไฟฟ้า ออกแบบอุปกรณ์ แบบผ้าให้มีลักษณะเป็นท่อความกว้าง 0.3 cm ความยาว 12 cm สร้างอุปกรณ์ด้วยเทคนิคพิมพ์ สกรีนด้วยพอลิเมอร์โดยใช้พอลิสไตรีนเป็นวัสดุไม่ชอบน้า สร้างขั้วไฟฟ้าที่ด้านปลายของอุปกรณ์ด้วย เทคนิคการพิมพ์สกรีนผ่านแม่แบบพีวีซีบนอุปกรณ์แบบผ้า โดยใช้ซิลเวอร์ -ซิลเวอร์คลอไรด์ คาร์บอน เพสผสมพรัสเชียนบลู และคาร์บอนเพส เป็นขั้วอ้างอิง ขั้วใช้งาน และขั้วช่วย ตามลาดับ สร้างระบบ µFIA โดยการจุ่มท่อด้านบนในไมโครทิวบ์ที่ บรรจุสารละลายตัวพาอยู่ บริเวณถัดมาจนไปถึงขั้วไฟฟ้า เอียงทามุม 50 องศา กับแนวระนาบและบริเวณสุดท้ายจนถึงปลายอีกด้านหนึ่งอยู่ในแนวตั้งฉาก โดย ส่วนปลายจุ่มอยู่ในอ่างด้านล่าง จากนั้นฉีดสารละลายตัวอย่างปริมาตร 2 µL โดยห่างจากขั้วไฟฟ้า อ้างอิง 0.4 cm สารละลายจะเคลื่อนที่บนท่อด้วยแรงคาปิลลารีและแรงโน้มถ่วงจากอ่างด้านบนผ่าน ขั้วไฟฟ้าไปยังอ่างด้านล่าง ภายใต้สภาวะที่เหมาะสมทาการศึกษาประสิทธิภาพในการวิเคราะห์ โดยมี ช่วงความเป็นเส้นตรงที่ความเข้มข้น 0.5-50 mM มีค่า R2 = 0.9904 วิธีดังกล่าวสามารถตรวจวัด ปริมาณของไฮโดรเจนเปอร์ ออกไซด์ได้ต่าถึง 0.5 mM แสดงให้เห็นว่าสามารถน าไปตรวจวัดยาฆ่า แมลงโดยอาศัยวิธีทางเอนไซม์ได้ในอนาคต

CH-P-04

- หน้าที่ 105 -

สาขาวิชา: เคมี; วท.บ. (เคมี) คาสาคัญ:

ฟอร์มัลดีไฮด์ / อุปกรณ์แบบกระดาษ / โซเดียมคาร์บอกซีเมทิล เซลลูโลส 61030599 ;วรรณนิศา สร้อยสาริกา; อุปกรณ์แบบกระดาษสาหรับวิเคราะห์ฟอร์มัล

ดีไฮด์ในระดับต่าแบบขั้นตอนเดียว อาจารย์ที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.ยุภาพร สมีน้อย ปีการศึกษา 2564. โครงงานวิจัยนี้เป็นการพัฒนาอุปกรณ์แบบกระดาษสาหรับวิเคราะห์ฟอร์มัลดีไฮด์ใน ระดับต่าแบบขั้นตอนเดียวใช้งานง่าย และมีราคาถูก หลักการการวิเคราะห์อาศัยปฏิกิริยาระหว่างฟอร์ มัลดีไฮด์กับอะเซตติลอะซิโตนในสภาวะที่มีแอมโมเนียมอะซิเตต (Nash’s reagent) ได้ผลิตภัณฑ์เป็น ไดอะเซตติลไดไฮโดรลูทิดีนที่มีสีเหลือง อุปกรณ์แบบกระดาษมีลักษณะเป็นแผ่นทดสอบแบบจุ่ม สี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาดยาว 7.5 cm กว้าง 1 cm ซึ่งประกอบไปด้วยบริเวณทดสอบ และบริเวณควบคุม โดยแต่ละด้านขนาดยาว 1.5 cm กว้าง 1 cm สร้างอุปกรณ์ด้วยเทคนิคการพิมพ์ขี้ผึ้ง ทาการบรรจุ Nash’s reagent ลงบนบริเวณทดสอบ และบริเวณควบคุม จากนั้นทาการเคลือบทั้งบริเวณทดสอบ และบริเวณควบคุมด้วยไฮโดรเจล โซเดียมคาร์บอกซีเมทิล เซลลูโลส (NaCMC) และนาไปอบให้แห้งที่ อุณหภูมิประมาณ 35oC ทาการทดสอบฟอร์มัลดีไฮด์โดยการเอาด้านที่เป็นบริเวณทดสอบจุ่มลงใน ตัวอย่างสารละลายฟอร์มาลีน และบริเวณควบคุมจุ่มลงในน้าปราศจากไอออน จากนั้นบริเวณทดสอบ จะปรากฏสีเหลืองขึ้นเมื่อสารละลายที่นามาทดสอบมีฟอร์มัลดีไฮด์ โดยความเข้มสีที่ปรากฏจะแปรผัน ตรงกับปริมาณฟอร์มัลดีไฮด์ที่มีในตัวอย่างที่นามาทดสอบ ทาการวิเคราะห์ความเข้มสีด้วยโปรแกรม ImageJ ภายใต้สภาวะที่เหมาะสมพบว่าอุปกรณ์ที่พัฒนาขึ้นสามารถตรวจวัดฟอร์มัลดีไฮด์ช่วงความ เป็นเส้นตรงที่ช่วงความเข้มข้น 10-100 ppm มีค่า R2 = 0.9932 มีขีดจากัดการตรวจวัดเท่ากับ 5 ppm ความสามารถในการทาซ้าที่ความเข้มข้นในช่วงความเป็นเส้นตรงรายงานด้วยค่าเบี่ยงเบน มาตรฐานสัมพัทธ์ (%RSD) ในช่วง 0.48-4.87% (n=3) และเมื่อนาตัวอย่างอาหารที่สไปค์มาวิเคราะห์ หาฟอร์มัลดีไฮด์พบว่าตัวอย่างสไบนาง และหมึก ให้ร้อยละการได้กลับคืนประมาณ 95 และ97 ตามลาดับ ซึ่งผลการทดสอบเบื้องต้นนี้แสดงให้เห็นว่าอุปกรณ์ตรวจวัดแบบกระดาษที่พัฒนาขึ้นมี แนวโน้มสามารถใช้เพื่อตรวจวัดฟอร์มัลดีไฮด์ในตัวอย่างจริงได้

CH-P-05

- หน้าที่ 106 -

สาขาวิชา: เคมี; วท.บ. (เคมี) คำสำคัญ:

อุปกรณ์แบบกระดาษ / ยาฆ่าแมลงกลุ่มออร์กาโนฟอสเฟต / ปฏิกิริยาการยับยั้งการ

ทำงานของเอนไซม์ 61030601 วั น เฉลิ ม มั ่ น จั น ทร์ ; อุ ป กรณ์ แ บบกระดาษสำหรั บ การวิ เ คราะห์ ยาฆ่าแมลง อาจารย์ที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.ยุภาพร สมีน้อย ปีการศึกษา 2564. งานวิจัยนี้ได้พัฒนาอุปกรณ์แบบกระดาษเพื่อตรวจวัดยาฆ่าแมลงกลุ่มออร์กาโน ฟอสเฟตโดยอาศัยปฏิกิริยาการยับยั้งการทำงานของเอนไซม์เอนไซม์อะซิทิลโคลีนเอสเทอเรส (AChE) สร้างอุปกรณ์โดยทำการตรึงเอนไซม์ AChE และเอลแมนรีเอเจนต์ (DTNB) ลงบนบริเวณตรวจวัดของ อุปกรณ์แบบกระดาษ ในสภาวะที่ไม่มียาฆ่าแมลง เอนไซม์ AChE จะเร่งการเกิดปฏิกิริยาของอะซิทิล ไทโอโคลีน (ATC) ได้ผลิตภัณฑ์เป็นไทโอโคลีน (TC) ที่ทำปฏิกิริยากับ DTNB แล้วได้ผลิตภัณฑ์ที่มีสี เหลือง (TNB-) เมื่อมียาฆ่าแมลงกลุ่มออร์กาโนฟอสเฟตการทำงานของเอนไซม์ AChE จะถูกยับยั้ง ทำ ให้เร่งปฏิกิริยาการเปลี่ยนจาก ATC ไปเป็น TC ได้น้อยลง และเกิดปฏิกิริยากับ DTNB ได้ผลิตภัณฑ์ที่ มีสีเหลืองลดลง ติดตามความเข้มสีที่เปลี่ยนแปลงไปด้วยโปรแกรมอิ มเมจเจ วิธีที่พัฒนาขึ้นสามารถ วิเคราะห์ยาฆ่าแมลงในกลุ่มออร์กาโนฟอสเฟตได้โดยมีขีดจำกัดการตรวจวัดของการวิเคราะห์เมทิลพา ราออกซอน และคลอร์ไพริฟอสออกซอนเท่ากับ 25.0 ng/mL และ 6.1 ng/mL ตามลำดับ นอกจากนี้ วิธีที่พัฒนาขึ้นสามารถประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์เมทิลพาราออกซอนในตัวอย่างกะหล่ำปลี และเคล พบว่าให้ร้อยละการได้กลับคืนเท่ากับ 94 และ 95 ตามลำดับ จากผลการทดลองข้างต้นแสดงให้เห็น ว่าวิธีที่พัฒนาขึ้นให้การวิเคราะห์ที่มีความแม่นยำที่ดีและเหมาะสมที่จะนำไปวิเคราะห์ยาฆ่าแมลงใน กลุ่มออร์กาฟอสเฟตในตัวอย่ างได้ ให้ผลการวิเคราะห์ ท ี่รวดเร็ว และสามารถพกพาไปตรวจวั ด ภาคสนามได้

CH-P-06

- หน้าที่ 107 -

สาขาวิชา: เคมี; วท.บ. (เคมี) คำสำคัญ:

อุปกรณ์แบบกระดาษ / น้ำกระด้าง / การอ่านผลจากเส้นผ่านศูนย์กลาง 61030611 อลิชา เมรุด; อุปกรณ์แบบกระดาษสำหรับวิเคราะห์ความกระด้างของน้ำ

อาจารย์ที่ปรึกษา: รองศาสตราจารย์.ดร.ยุภาพร สมีน้อย ปีการศึกษา 2564. งานวิจัยนี้เป็นการพัฒนาอุปกรณ์แบบกระดาษโดยการอ่านผลจากการวัดขนาดเส้น ผ่านศูนย์กลางเพื่อวิเคราะห์ความกระด้างในน้ำ สร้างอุปกรณ์แบบกระดาษให้มีบริเวณตรวจวัดเป็น วงกลมเส้ น ผ่ า นศู น ย์ ก ลางขนาด 3 cm. × 3 cm. บรรจุ ส ารละลายอิ ร ิ โ ครมแบลคที (EBT) ใน สารละลายไกลซีนบัฟเฟอร์ pH 10 ลงในบริเวณตรวจวัดทำให้แห้งและนำไปเคลือบด้วยแผ่นพลาสติก ที่เจาะรูเล็กๆ ตรงกลางอุปกรณ์แบบกระดาษสำหรับเป็นบริเวณใส่ตัวอย่างจะได้อุปกรณ์กระดาษ สำหรับวิเคราะห์น้ำกระด้าง หลักการตรวจวัดอาศัยการทำปฏิกิริยาการเกิดสารเชิงซ้อนของแคลเซียม และแมกนีเซียม กับ EBT ที่ pH 10 โดยเมื่อหยดสารละลายที่มีแคลเซียมและแมกนีเซียมลงบริเวณ ใส่ตัวอย่างที่อยู่ตรงกลางของอุปกรณ์ สารละลายจะแพร่ในแนววงกลมไปยังขอบของบริเวณตรวจวัด พร้อมทั้งทำปฏิกิริยากับ EBT มีสีแดงเกิดขึ้น พบว่าขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางที่ปรากฏสีแดงสัมพันธ์กับ ความเข้มข้นของแคลเซียมและแมกนีเซียมที่มีในตัวอย่างซึ่งสามารถนำไปคำนวณหาความกระด้าง ของน้ำได้ วิธีดังกล่าวให้ขีดจำกัดในการตรวจวัดหาปริมาณแคลเซียม แมกนีเซียม และความกระด้าง รวม เท่ากับ 0.03 , 0.025 และ 0.013 mM ตามลำดับ ผลของการทดลองแสดงให้เห็นว่าอุปกรณ์ กระดาษที่พัฒนาขึ้นมีแนวโน้มสามารถใช้สำหรับตรวจวัดความกระด้างของน้ำ ในสถานที่ต่างๆ ได้ อย่างรวดเร็ว

CH-P-07

- หน้าที่ 108 -

สาขาวิชา: เคมี; วท.บ. (เคมี) คาสาคัญ:

เบนซิมิดาโซล / ไทรอะโซล / ของเหลวไอออนิกชนิดกรด 61030081 พิชามญชุ์ มาศงูเหลือม; การสังเคราะห์สารกลุ่ม benzimidazole-

triazole สาหรับตรวจสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อุทัยวรรณ ศิริอ่อน ปีการศึกษา 2564. สารอินทรีย์ที่แสดงฤทธิ์ทางชีวภาพที่น่าสนใจในปัจจุบันเป็นสารที่มีไนโตรเจนเป็น องค์ประกอบ ยกตัวอย่าง เบนซิมิดาโชลและไทรอะโซล โดยเบนซิมิดาโซล พบว่ามีรายงานแสดงฤทธิ์ ต้านมะเร็ง ฤทธิ์ต้านโรคความจาเสื่อม และฤทธิ์ต้านพยาธิ เป็นต้น ส่วนของวงไทรอะโซลมีรายงาน แสดงฤทธิ์ต้านเชื้อรา ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และฤทธิ์ต้านแบคทีเรีย เป็นต้น โดยในงานวิจัยนี้สนใจทา การสังเคราะห์อนุพันธ์ของสารประกอบที่มีส่วนของเบนซิมิดาโซลและไทรอะโซลในโมเลกุลเดียวกัน เพื่อนาไปตรวจสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ โดยผู้วิจัยคาดว่าสารอินทรีย์ที่มีส่วนประกอบของเบนซิมิดา โซลและไทรอะโซลสามารถช่วยเพิ่มฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระที่สูงขึ้น ซึง่ ที่ผ่านมามีงานวิจัยที่ศึกษา การสังเคราะห์สารดังกล่าวอยู่หลายวิธี โดยส่วนใหญ่ทาในสภาวะที่รุนแรง ใช้โลหะเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ที่มีความเป็นพิษสูง ดังนั้นงานวิจัยนี้สนใจทาการสังเคราะห์สาร benzimidazole-triazole ผ่านสาม ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่หนึ่ง เป็นการทาปฏิกิริยาระหว่างสารประกอบ 1,2-phenylenediamine (1) กับ แอลดีไฮด์ชนิดต่างๆ (2) ผ่านปฏิกิริย าการควบแน่น ใช้ของเหลวไอออนิก ชนิดกรดเป็นตัวเร่ง ปฏิกิริยาที่มีความเป็นพิษต่า ในตัวทาละลาย 95% ethanol ที่อุณหภูมิห้อง ซึ่งได้ผลิตภัณฑ์เป็นสาร หมายเลข 3 ในร้อยละของสารผลิตภัณฑ์ที่สูง จากนั้นทาปฏิกิริยาต่อในขั้นที่สองกับสารโพรพากิวโบร ไมด์ (4) ผ่านปฏิกิริยาอัลคิลเลชัน ที่อุณหภูมิห้องได้ผลิตภัณฑ์ เป็นสารหมายเลข 5 ในร้อยละของสาร ผลิตภัณฑ์ที่สูง ตามด้วยการทาปฏิกิริยาต่อในขั้นที่สามกับ benzyl azide (6) ผ่านปฏิกิริยาคลิก ได้ ผลิตภัณฑ์ เป็น สารหมายเลข 7 ในร้อยละของสารผลิตภั ณ ฑ์ป านกลางถึ งสู ง จากนั้นจะน าสาร ผลิตภัณฑ์ที่สังเคราะห์ได้ไปตรวจสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ

CH-P-08

- หน้าที่ 109 -

สาขาวิชา: เคมี; วท.บ. (เคมี) คาสาคัญ: พอลิเมอร์ซบั พอร์ต / ไตรเอริลมีเทน / พอลิสไตรีน 61030573 กมลลักษณ์ ชาติรงั สรรค์; การเตรียม primary aniline functionalized polymer สาหรับใช้เป็ นตัวเข้าทาปฏิกริ ยิ าแบบนากลับมาใช้ใหม่ได้ในปฏิกริ ยิ า การสังเคราะห์สารประกอบไตรเอริลมีเทน อาจารย์ทป่ี รึกษา : ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. อุทยั วรรณ ศิรอิ ่อน ปี การศึกษา 2564. สารประกอบไตรเอริลมีเทนเป็ นสารอินทรีย์ทม่ี คี วามสาคัญในด้านต่างๆ และ พบว่าสารประกอบไตรเอริลมีเทนทีม่ สี ่วนของวงอินโดลเป็ นองค์ประกอบแสดงฤทธิทางชี ์ วภาพที่ น่ าสนใจ โดยการสังเคราะห์สารประกอบไตรเอริลมีเทนดังกล่าว ทาผ่านปฏิกริ ยิ าเอซ่า-ฟรีเดลคาร์ฟแอลคิเลชัน ระหว่างสารตัง้ ต้นประเภท แอลดีไฮด์ อนิลนี และอนุพนั ธ์ของอะโรมาติกชนิด ต่างๆ ซึ่งปฏิกิรยิ าส่วนใหญ่นิยมใช้ตวั เข้าทาปฏิกริ ยิ าชนิดอนิลนี ทีม่ ากเกินพอ เพื่อให้ได้รอ้ ยละ ของผลิตภัณฑ์ทส่ี งู ทาให้มกี ารสูญเสียอนิลนี ทีเ่ หลือจากปฏิกริ ยิ าสู่สงิ่ แวดล้อม ดังนัน้ ในงานวิจยั นี้ผู้วิจยั จึงสนใจทาการสังเคราะห์อนิลนี ชนิดปฐมภูมติ ่อ บนโครงสร้างของพอลิเมอร์ (primary aniline functionalized polymer) เพื่อสามารถนาอนิลนี ที่เหลือจากปฏิกริ ยิ ากลับมาใช้ใหม่ได้ใน ปฏิกริ ยิ าฟรีเดลคาร์ฟแอลคิเลชัน โดยผูว้ จิ ยั จะทาการสังเคราะห์ primary aniline functionalized polymer 4 จากปฏิกริ ยิ าแอลคิเลชันระหว่างพอลิเมอร์ 1 กับสารประกอบไนโตร 2 ได้ผลิตภัณฑ์ เป็ นสารหมายเลข 3 จากนัน้ ตามด้วยปฏิกิริยารีดกั ชัน ได้ผลิตภัณฑ์หมายเลข 4 ซึ่งเป็ นการ เปลี่ยนหมู่ไนโตรเป็ นเอมีนชนิดปฐมภูมิ และนาไปใช้เป็ นตัวเข้าทาปฏิกิรยิ าในปฏิกิรยิ าเอซ่า ฟรีเดลคาร์ฟแอลคิเลชันต่อไป

CH-P-09

- หน้าที่ 110 -

สาขาวิชา: เคมี; วท.บ. (เคมี) คาสาคัญ: ไตรเอริลมีเทน / ของเหลวไอออนิกชนิดกรด / ปฏิกริ ยิ าแบบขัน้ ตอนเดียว 61030574 กมลลักษณ์ วิทยสุทธาพร; การสังเคราะห์สารกลุ่มไตรเอริลมีเทน ผ่านปฏิกริ ยิ าแบบขัน้ ตอนเดียว โดยใช้ตวั เร่งปฏิกริ ยิ าเป็ นของเหลวไอออนิกชนิดกรด อาจารย์ทป่ี รึกษา : ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. อุทยั วรรณ ศิรอิ ่อน ปี การศึกษา 2564. ไตรเอริลมีเทนเป็ นสารประกอบอินทรียท์ ม่ี ฤี ทธิทางชี ์ วภาพทีน่ ่าสนใจ เช่น ฤทธิ ์ ต้านการอักเสบ ฤทธิต้์ านไวรัส และฤทธิยั์ บยัง้ เชือ้ รา เป็ นต้น นอกจากนี้ยงั สามารถนาไปใช้ ประโยชน์ทางด้านอุตสาหกรรมสียอ้ ม โดยพบว่าสารประกอบไตรเอริลมีเทนทีม่ คี วามสาคัญจะมี ส่วนของวงอินโดลเป็ นองค์ประกอบหลัก เนื่องจากวงอินโดลมีบทบาทสาคัญในการออกฤทธิทาง ์ ชีวภาพ และทีผ่ ่านมามีรายงานการวิจยั ทีศ่ กึ ษาเกีย่ วกับการสังเคราะห์อนุพนั ธ์ไตรเอริลมีเทนทีม่ ี วงอินโดลเป็ นองค์ประกอบอยู่หลายวิธี ซึง่ ส่วนใหญ่เป็ นวิธที ่ียุ่งยาก หลายขัน้ ตอน และมีการใช้ โลหะเป็ นตัวเร่งปฏิกริ ยิ า ซึง่ มีความเป็ นพิษสูง และราคาแพง ดังนัน้ ในงานวิจยั นี้จงึ สนใจ สังเคราะห์สารประกอบไตรเอริลมีเทนทีม่ วี งอินโดลเป็ นองค์ประกอบ ด้วยวิธที ง่ี า่ ย ผ่านปฏิกริ ยิ า Friedel–Crafts แบบขัน้ ตอนเดียว โดยใช้ของเหลวไอออนิกชนิดกรดเป็ นตัวเร่งปฏิกริ ยิ า ซึง่ มี ความเป็ นพิษต่า และราคาไม่แพง จากสารตัง้ ต้นสีช่ นิด ได้แก่ แอลดีไฮด์ 1 อะนิลนี 2 อินโดล 3 และ 5-เมทอกซีอนิ โดล 4 โดยปฏิกริ ยิ าจะเกิดผ่านสารตัวกลางหมายเลข 5 ทาการตรวจสอบร้อย ละของสารผลิตภัณฑ์ทเ่ี กิดขึน้ ด้วยเทคนิค Quantitative Nuclear Magnetic Resonance Spectroscopy (qNMR) พบว่าได้รอ้ ยละของสารผลิตภัณฑ์ (6) ปานกลางถึงดี

CH-P-10

- หน้าที่ 111 -

สาขาวิชา: เคมี; วท.บ. (เคมี) คำสำคัญ: คาร์โบไฮเดรตที่ใช้เป็นสารลดแรงตึงผิว / สารลดแรงตึงผิว / triazoylglycosides 61030242 วิไลรัตน์ ขันพิมูล; การสังเคราะห์สารกลุ่ม long alkyl chain triazoylglycosides สำหรับตรวจสอบความเป็นสารลดแรงตึงผิว อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.อุทัยวรรณ ศิริอ่อน ปีการศึกษา 2564. สารลดแรงตึงผิวมีบทบาทสำคัญในการดำรงชีวิตของมนุษย์ เช่น เป็นส่วนผสมใน ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาด ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง และผลิตภัณฑ์ยา นอกจากนี้ยัง ใช้ในกระบวนการ บำบัดน้ำเสีย กำจัดมลพิษทางดิน ดูดซับของเสีย และอุตสาหกรรมสีย้อม เป็นต้น สารลดแรงตึงผิวมี หลายประเภท โดยประเภทที่ได้รับความนิยมจะมีโมเลกุลของน้ำตาลเป็นองค์ประกอบ ที่เรียกว่า carbohydrate surfactant ซึ่งเป็นสารลดแรงตึงผิวที่มีความปลอดภัย ย่อยสลายได้ง่าย และสามารถ สังเคราะห์จากสารตั้งต้นที่ได้มาจากธรรมชาติ ดังนั้นในงานวิจัยนี้จึงสนใจทำการศึกษาการสังเคราะห์ สารลดแรงตึงผิวประเภท carbohydrate surfactant โดยวิธีการต่อโมเลกุลของ carbohydrate ซึ่ง ทำหน้าที่เป็นส่วนของ hydrophilic เข้ากับ long chain hydrocarbon ที่ทำหน้าที่เป็นส่ว นของ hydrophobic ทำปฏิกิริยาผ่านสามขั้นตอน ได้แก่ ขั้นแรกทำปฏิกิริยาระหว่าง azidation ระหว่าง สารตั้งต้น glycosyl bromide (1) กับ sodium azide (2) ได้ผ ลิตภัณฑ์เป็น azidogylcoside (3) จากนั้นนำไปทำปฏิกิริยาต่อในขั้นที่ สองกับ long chain hydrocarbon (4) ผ่านปฏิกิริยาคลิก (click reaction) ได้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ป็ น สารหมายเลข 5 นำไปทำปฏิ ก ิ ร ิ ย า deacetylation ในขั ้ น ที่ ส ามได้ ผลิตภัณฑ์เป็นสารลดแรงตึงผิวชนิด triazolylglycoside ซึง่ เป็นกลุ่มของ carbohydrate surfactant ที ่ ม ี โ มเลกุ ล ของวง triazole เป็ น องค์ ป ระกอบจากนั ้ น จะ triazolylglycoside ที่ ส ั ง เคระห์ ไ ด้ ไ ป ตรวจสอบความเป็นสารลดแรงตึงผิว

CH-P-11

- หน้าที่ 112 -

สาขาวิชา: เคมี; วท.บ. (เคมี) คาสาคัญ: ไตรเอริลมีเทน / ของเหลวไอออนิกชนิดกรด / ปฏิกริ ยิ าฟรีเดล-คราฟ 61030207 ฐิตมิ า หาดซาย; การสังเคราะห์สารกลุ่มไตรเอริลมีเทนจากสารตัง้ ต้นประเภทแอลฟาบรานเอมีนโดยใช้ของเหลวไอออนิกชนิดกรดเป็ นตัวเร่งปฏิกริ ยิ า อาจารย์ทป่ี รึกษา :ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.อุทยั วรรณ ศิรอิ ่อน ปี การศึกษา 2564. สารประกอบไตรเอริล มีเ ทน เป็ น สารอิน ทรีย์ ส ามารถน ามาใช้ป ระโยชน์ ไ ด้ หลากหลาย ทัง้ ด้านอุต สาหกรรมสีย้อ ม เภสัชกรรม และพบว่า มีรายงานฤทธิท์ างชีว ภาพที่ น่าสนใจ เช่น ฤทธิต้์ านการอักเสบ ฤทธิยั์ บยัง้ วัณโรค และยับยัง้ ไวรัส เป็ นต้น การสังเคราะห์ไตร เอริลมีเทนส่วนใหญ่ใช้โลหะเป็ นตัวเร่งปฏิกริ ยิ าในตัวทาละลายอินทรียท์ เ่ี ป็ นพิษต่อสิง่ แวดล้อม ดังนัน้ ในงานวิจยั สนใจศึกษาการสังเคราะห์ไตรเอริลมีเทนที่ง่าย ใช้ของเหลวไอออนิกชนิดกรด เป็ นตัว เร่งปฏิกิริย า ซึ่ง เป็ นตัว เร่ง ที่ไ ม่เ ป็ นอันตรายและยัง เป็ น มิต รต่อ สิ่ง แวดล้อ ม ทาผ่ า น ปฏิกริ ยิ าฟรีเดล-คราฟ โดยใช้สารตัง้ ต้นประเภทแอลฟาบรานเอมีน (1) กับ 5-เมทอกซีอนิ โดล (2) ที่อุณหภูม1ิ 00 องศาเซลเซียสในตัวทาละลายน้ า ได้ผลิตภัณฑ์เป็ นสารกลุ่มไตรเอริลมีเทน (3) ให้รอ้ ยละผลิตภัณฑ์อยู่ในช่วงปานกลางถึงสูง

CH-P-12

- หน้าที่ 113 -

สาขาวิชา: เคมี; วท.บ. (เคมี) คำสำคัญ:

แคปปา-คาร์ราจีแนน / คาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลส / แมงจิเฟอริน 61030012 อนงค์นาถ สัญญกาย; การเตรียมและวิเคราะห์ลักษณะของเม็ดพอลิ

เมอร์ชีวภาพที่บรรจุสารสกัดจากธรรมชาติ อาจารย์ที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.ธนิดา ตระกูลสุจริตโชค ปีการศึกษา 2564. งานวิจัยนี้ได้ศึกษาการเตรียมเม็ดพอลิเมอร์ชีวภาพ (biopolymeric beads) จาก พอลิเมอร์ผสมระหว่างแคปปา-คาร์ราจีแนน (kappa-carrageenan) และคาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลส (carboxymethyl cellulose) โดยทำให้ เ กิ ด การเชื ่ อ มโยงระหว่ า งโมเลกุ ล ของคาร์ บ อกซี เ มทิ ล เซลลูโลสด้วยกรดซิตริก และเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุลของแคปปา-คาร์ราจีแนนด้วยระบบสารละลาย ไอออนิกของโพแทสเซียมคลอไรด์/อะลูมิเนียมคลอไรด์ และนำไปบรรจุแมงจิเฟอริน (mangiferin) สารธรรมชาติที่สกัดได้จากใบมะม่วงซึ่งมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญของจุลินทรีย์หลายชนิด เม็ดพอลิเมอร์ที่ เตรียมขึ้นถูกวิเคราะห์ด้วยเทคนิค ATR-FTIR, SEM-EDX และ TGA เพื่อศึกษาอิทธิพลของอัตราส่วน ของคู่พอลิเมอร์ การเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุล และองค์ประกอบของแมงจิเฟอริน ที่มีผลต่อสัณฐาน วิทยา (morphology) สมบัติทางเคมี สมบัติทางกายภาพ และเสถียรภาพทางความร้อนของเม็ดพอลิ เมอร์ผสม พบว่าการเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุล ส่งผลให้เม็ดพอลิเมอร์มีความแข็งแรง คงรูปในน้ำได้ดี เสถียรภาพทางความร้อนดีขึ้น เมื่อศึกษาพฤติกรรมการปลดปล่อยสารสกัดแมงจิเฟอริน จากเม็ดพอลิ เมอร์ในน้ำ กลั่น ที่ อุณหภูมิห้อง และที่อุณหภูมิ 4 oC พบว่าอัตราการปลดปล่อ ย (release rate) ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของการเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุล อุณหภูมิ และความเข้มข้นของแมงจิเฟอริน ผลจากการศึกษาแสดงให้เห็น ถึงความเป็นได้ในการนำเม็ดพอลิเมอร์ชีวภาพที่ บรรจุแมงจิเฟอรินไป ประยุกต์ใช้ในการควบคุมการปลดปล่อยสารสกัดธรรมชาติออกฤทธิ์ทางชีวภาพเพื่อรักษาคุณภาพของ อาหารทะเล

CH-P-13

- หน้าที่ 114 -

สาขาวิชา: เคมี; วท.บ. (เคมี) คำสำคัญ:

โซเดียมแอลจิเนต / เจลาติน / แมงโกสติน 61030575 กมลวรรณ กันภัย; การพัฒนาและสมบัติของฟิล์มไบโอพอลิเมอร์ที่เป็น

มิตรต่อสิ่งแวดล้อมจากเจลาตินและโซเดียมแอลจิเนต อาจารย์ที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.ธนิดา ตระกูลสุจริตโชค ปีการศึกษา 2564. งานวิจัยนี้ได้พัฒนาฟิล์มพอลิเมอร์ผสมระหว่างเจลาติน (gelatin: G) และโซเดียม แอลจิเนต (sodium alginate: A) ที่มีอัตราส่วนของคู่พอลิเมอร์เท่ากับ 30G/70Al และ 50G/50Al โดยใช้กลีเซอรอลเป็นพลาสติไซเซอร์ ด้วยเทคนิคการหล่อขึ้นรูปจากสารละลาย (solution casting) ฟิล์มที่เตรียมขึ้นถูกนำไปศึกษาสมบัติการบวมตัว ในน้ำ สมบัติการป้องกันความชื้น ความสามารถใน การซึมผ่านของไอน้ำ สมบัติเชิงกล และวิเคราะห์หมู่ฟัง ก์ชัน พบว่าฟิล์มพอลิเมอร์ผสมระหว่าง เจลาตินและโซเดียมแอลจิเนตมีสีเหลืองใส แข็ง (rigid) ยืดออกได้น้อย ละลายและบวมตัวได้ดีในน้ำ เมื่อเพิ่มปริมาณกลีเซอรอลส่งผลให้ฟิล์มมีสมบัติเชิงกลดีขึ้น มีความยืดหยุ่นได้มากขึ้น ค่าการซึมผ่าน ของไอน้ำสูงขึ้น และองค์ประกอบของฟิล์มสามารถผสมเข้ากันได้ดีเป็นเนื้อเดียวกัน นอกจากนี้ยังได้ พัฒนาสารละลายพอลิเมอร์ผสมระหว่างเจลาตินและโซเดียมแอลจิเนต ที่มีการเชื่อมโยงโมเลกุลแบบ ไอออนิก และผสมสารสกัดแมงโกสติน (mangostin) ที่สกัดได้จากจากเปลือกมังคุด สำหรับใช้เคลือบ ผลไม้ เพื่อยืดอายุการเก็บรักษา และชะลอการสุกของกล้วยไข่ จากนั้นติดตามการเปลี่ยนสีของผล กล้วยด้วยเครื่องวัดสี (colorimeter) และการวิเคราะห์ความแน่นเนื้อ (firmness) ของกล้วย พบว่า สารละลายพอลิเมอร์ผสมอัตราส่วน 30G/70Al ที่ผสมสารสกัดแมงโกสตินสามารถชะลอการสุกและ ยืดอายุการเก็บรักษาของกล้วยได้

CH-P-14

- หน้าที่ 115 -

สาขาวิชา: เคมี; วท.บ. (เคมี) คาสาคัญ: ฟิ ล์มคอมโพสิต / เหง้าไพล / ไคโตซาน 61030017 วรรณาลักษณ์ จันทรี; การเตรียมและสมบัตขิ องฟิ ล์มคอมโพสิต ชีวภาพสาหรับใช้เป็ นบรรจุภณ ั ฑ์ อาจารย์ทป่ี รึกษา: รองศาสตราจารย์ ดร.ธนิดา ตระกูลสุจริตโชค ปี การศึกษา 2564. งานวิจยั นี้ได้พฒ ั นาฟิ ล์ม คอมโพสิต (composite) ของพอลิเมอร์ผสมระหว่าง ไคโตซาน (chitosan) และเจลาติน (gelatin) ซึ่งเป็ นพอลิเมอร์ท่เี ตรียมได้จากวัสดุธรรมชาติ สามารถผลิตขึ้นมาทดแทนได้ในระยะเวลาสัน้ ย่อยสลายได้รวดเร็ว ไม่ก่อให้เกิดมลพิษใน สิง่ แวดล้อมหลังการใช้งาน ไม่เป็ นพิษ แต่พอลิเมอร์ทงั ้ สองมีขอ้ ด้อยในเรื่องความเปราะ ความ แข็งแรงเชิงกลต่ า และไม่ทนต่อการใช้งาน จึงนามาทาให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุล (crosslinking) เพื่อเปลี่ยนโครงสร้างโมเลกุลของพอลิเมอร์จากแบบเส้นตรง (linear structure) ให้ เ ป็ น แบบร่ า งแห (network structure) และผสมกับ พอลิ( ไวนิ ล แอลกอฮอล์ ) (poly(vinyl alcohol) ซึ่งเป็ นพอลิเมอร์สงั เคราะห์ท่ลี ะลายได้ในน้ า สามารถเกิดการย่อยสลายได้ในสภาวะ ธรรมชาติ เพื่อให้ฟิล์มมีสมบัตเิ ชิงกลดีขน้ึ นอกจากนี้ยงั ได้นากากเหลือทิง้ จากเหง้าไพลหลังผ่าน การสกัดสารสาคัญในเหง้าไพลออกไปแล้วมาใช้เป็ นสารตัวเติม (filler) ซึง่ อนุภาคของกากเหลือ ทิ้ง นี้ เ ป็ น พอลิเ มอร์ป ระเภทเซลลู โ ลส (cellulose) สามารถใช้เ ป็ น สารตัว เติมเพื่อ เพิ่มความ แข็งแรงให้กับคอมโพสิตของพอลิเมอร์ผสม ผลจากการวิเคราะห์สมบัติทางกายภาพ สมบัติ ความทนต่อแรงดึง (tensile strength) และลักษณะสัณฐานวิทยาด้วยเทคนิค กล้องจุลทรรศน์ อิเ ล็ ก ตรอนแบบส่ องกราด (scanning electron microscopy, SEM) พบว่ า ฟิ ล์ ม คอมโพสิตมี ศักยภาพทีจ่ ะนาไปใช้เป็ นบรรจุภณ ั ฑ์ทเ่ี ป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมเพื่อลดการใช้พลาสติกสังเคราะห์ ได้

CH-P-15

- หน้าที่ 116 -

สาขาวิชา: เคมี; วท.บ. (เคมี) คาสาคัญ:

ไคโตซาน / เจลาติน / ฟิล์มพอลิเมอร์ชีวภาพ 61030606 สุภัสสร เรือนวิลัย; ฟิล์มบรรจุภัณฑ์ที่ย่อยสลายได้ทางชีวภาพที่มี

องค์ประกอบของเส้นใยธรรมชาติและสารสกัดจากพืช อาจารย์ที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.ธนิดา ตระกูลสุจริตโชค ปีการศึกษา 2564. งานวิจัยนี้ได้พัฒนาฟิล์ม พอลิเมอร์ผสมระหว่างไคโตซาน เจลาติน และพอลิ (ไวนิล แอลกอฮอล์) ที่ ผสมสารสกัดจากผลดีปลี กากเหลือทิ้ง หลังการสกัด ส าคัญออกจากผลดีปลี และ พลาสติไซเซอร์ ด้วยเทคนิคการหล่อขึ้นรูปจากสารละลาย (solution casting) ฟิล์มที่พัฒนาขึ้นถูก นาไปศึกษาอิทธิพลขององค์ประกอบพอลิ(ไวนิล แอลกอฮอล์) การเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุลของพอลิ เมอร์ (crosslinking) ด้วยเจเนพิน และการผสมกากเหลือทิ้งจากผลดีปลี ที่มีต่อสมบัติทางเคมี สมบัติ ทางกายภาพ สมบัติเชิงกล รวมถึง ความเป็นไปได้ในการน าฟิล ์ม ไปใช้เป็น บรรจุภัณฑ์ ผลการ วิเคราะห์หมู่ฟังก์ชันด้วยเทคนิค ATR–FTIR การบวมตัวในตัวทาละลาย การละลายในน้า การดูดซึม ความชื้น สมบัติความทนต่อแรงดึง และวิเคราะห์ด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด (SEM) พบว่าการผสมพอลิ (ไวนิล แอลกอฮอล์) มีผลทาให้สมบัติเชิงกลของฟิล์ม ดีขึ้น ความยืดหยุ่น (flexibility) ความทนต่ อ แรงดึ ง ณ จุ ด ขาด (tensile strength) และร้ อ ยละการยื ด ณ จุ ด ขาด (%elongtion at break) สูงขึ้น เมื่อเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุลของพอลิเมอร์ด้วยเจเนพิน (genipin) มีผลให้ฟิล์มคงรูปได้ดีขึ้น การบวมตัว (swelling) ในน้าลดลง และค่ามอดูลัส (modulus) ของฟิล์ม สูงขึ้น การผสมกากเหลือทิ้งของดีปลีร่ว มกับกลีเซอรอล (glycerol) ซึ่งท าหน้าที่เป็นสารตัว เติม (fillers) และพลาสติไ ซเซอร์ (plasticizer) ตามล าดับ ส่งผลให้ ส มบัติเชิง กลของฟิล ์ ม ดี ขึ้ น จาก ผลการวิจัยพบว่าฟิล์มที่พัฒนาขึ้นนี้สามารถประยุกต์ใช้เป็นบรรจุภัณฑ์ที่มีส่วนร่วมในการลดปัญหา สิ่งแวดล้อมจากขยะพลาสติกสังเคราะห์ได้

CH-P-16

- หน้าที่ 117 -

สาขาวิชา: เคมี; วท.บ. (เคมี) คำสำคัญ:

ไฮบริดไบโอคอมโพสิต / โซล-เจล/ ตรวจสอบ pH 61030226 ปรียาภัทร เรือนรื่น; การพัฒนาฟิล์มไฮบริดคอมโพสิตชีวภาพแบบ

ไฮบริดที่บรรจุสารธรรมชาติออกฤทธิ์ และการนำไปใช้ อาจารย์ที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์.ดร.ธนิดา ตระกูลสุจริตโชค ปีการศึกษา 2564. ฟิล์มพอลิเมอร์ผสมระหว่างพอลิ(ไวนิล แอลกอฮอล์) และคาราจีแนน ที่เชื่อมโยง ระหว่างโมเลกุลด้วยเตตระเอทิล ออร์โทซิลิเกต (tetraethyl orthosilicate : TEOS) ถูกเตรียมขึ้น ด้ว ยเทคนิคโซล-เจล (sol-gel) ผ่านปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส (hydrolysis) และพอลิ คอนเดนเซชั น (polycondensation) ทำให้เกิดองค์ประกอบอนิน ทรีย์ข องพันธะ -Si-O- ที่ใช้เชื่อมโยงระหว่า ง โมเลกุลของพอลิเมอร์ จากนั้นนำมาขึ้นรูป ด้วยเทคนิคการหล่อขึ้นรูป จากสารละลาย (solution casting) ฟิล์มที่พัฒนาขึ้นถูกนำไปศึกษาอิทธิพลของอัตราส่ว นพอลิ(ไวนิล แอลกอฮอล์) การเชื่อมโยง ระหว่างโมเลกุลด้วยเตตระเอทิล ออร์โทซิลิเกต และที่มีต่อลักษณะของฟิล์ม สมบัติทางกายภาพ สมบัติทางเคมี และสมบัติเชิงกล โดยวิเคราะห์ด้วยเทคนิคฟูเรียร์ทรานสฟอร์มอินฟราเรดสเปกโตร สโคปี (ATR-FTIR) เทคนิคกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด (SEM) วิเคราะห์ การบวมตัว ความชื้นและการละลายในน้ำ สมบัติความทนต่อแรงดึง พบว่าฟิล์มพอลิเมอร์ผสมที่พัฒนาขึ้นมี ศักยภาพในการประยุกต์ใช้เป็นบรรจุภัณฑ์ ทีเ่ ป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้เมื่อผสมสารธรรมชาติ สกัดจากดอกต้อยติ่งฝรั่ง (Ruellia tuberosa L.) ลงในสารละลายพอลิเมอร์หลังผ่านกระบวนการ โซล-เจลแล้วนำไปขึ้นรูป พบว่าฟิล์มที่เตรียมได้สามารถเปลี่ยนสีตามค่า pH ของสภาพแวดล้อม และ สามารถนำไปใช้เป็นบรรจุภัณฑ์ที่แสดงการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของอาหารได้

CH-P-17

- หน้าที่ 118 -

สาขาวิชา: เคมี; วท.บ. (เคมี) คาสาคัญ: แอนโดรกราโฟไลด์ / dithiocarbamate / ปฏิกริ ยิ า epoxidation / ปฏิกริ ยิ า addition-elimination 61030080 พรรษชล อินทะมาลี; การสังเคราะห์สารอนุพนั ธ์ Dithiocarbamate Epoxy-Andrographolide. อาจารย์ทป่ี รึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.รุ่งนภา แซ่เอ็ง ปี การศึกษา 2564. ฟ้ าทะลายโจรเป็ นพืชสมุนไพรที่ใช้กนั อย่างแพร่หลายในหลายประเทศไทยจัด อยู่ในบัญชียาหลักแห่งชาติ ถูกนามาใช้รกั ษาไข้หวัด เจ็บคอ และล่าสุดใช้ในการักษาโรคโควิด 19. โดยสารแอนโดรกราโฟไลด์เป็ นสารสาคัญทีพ่ บในส่วนสกัดของฟ้ าทะลายโจรซึ่งมีฤทธิทาง ์ ชีวภาพทีส่ าคัญมากมาย ได้แก่ การต้านแบคทีเรีย ต้านมะเร็ง และกระตุน้ ภูมคิ ุม้ กัน. ในงานวิจยั นี้ได้ออกแบบและสังเคราะห์สารอนุพนั ธ์แอนโดรกราโฟไลด์ชนิดใหม่ดว้ ยปฏิกริ ยิ าทางเคมี ผ่าน ปฏิกริ ยิ า silylation ทีต่ าแหน่ง C-19, ปฏิกริ ยิ า acetylation ทีต่ าแหน่ง C-3 และ C-14, ปฏิกริ ยิ า epoxidation ที่ต าแหน่ ง C-8 และสุ ด ท้ า ยท าปฏิกิริย า addition-elimination กับ สารในกลุ่ ม dithiocarbamate โดยไม่ใช้ตวั เร่งปฏิกริ ยิ าภายใต้สภาวะทีไ่ ม่รุนแรง ทีต่ าแหน่ง C-12 ของแอน โดรกราโฟไลด์. จะได้ส ารผลิต ภัณ ฑ์ใ หม่ ข องสารอนุ พ ัน ธ์ 12-dithiocarbamate-17-epoxyandrographolide ทีร่ อ้ ยละผลิตภัณฑ์สงู และนาไปศึกษาฤทธิทางชี ์ วภาพต่อไป

CH-P-18

- หน้าที่ 119 -

คาสาคัญ:

สาขาวิชา: เคมี; วท.บ. (เคมี) สะเดา (Azadirachta indica A. Juss. Var. indica) / ไล่มด / การสกัด

61030585 นายถิรวัฒน์ อินทะสอน; การสกัดและแยกสารขับไล่มดจากสะเดา (Azadirachta indica) อาจารย์ทป่ี รึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.รุ่งนภา แซ่เอ็ง ปี การศึกษา 2564. สะเดา (Azadirachta indica A. Juss. var. indica) เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ใช้เป็นยาที่ช่วยทำให้เจริญอาหารได้เป็นอย่างดี ใบและเปลือกต้นมีสารจำพวก อะซาไดแรกติน (Azadirachtin) และ ลิโมนอยด์ (limonoids) ได้แก่ นิมโบไลด์ (nimbolide) และ เกดูนิน (gedunin) ซึ่งเป็นสารประเภทไตรเทอร์พีน มีฤทธิ์ในการฆ่าแมลง ยับยั้งการเจริญเติบโต ป้องกันและกำจัดแมลง ได้หลายชนิด จากภูมิปัญญาชาวบ้านมีการนำสารสกัดจากสะเดาใช้ในการป้องกันและกำจัดแมลง ศัตรูพืช โดย มด (Ants) จัดเป็นแมลงในวงศ์ Formicidae ที่มีความสำพันธ์เกี่ยวข้องกับมนุษย์ ในแง่ที่ เป็นโทษและก่อให้เกิดความรำคาญ ในงานวิจัยนี้ผู้วิจัยสนใจในการสกัดสารจากสะเดาเพื่อทำเป็น ผลิตภัณฑ์ไล่มดที่มีความปลอดภัยต่อสุขภาพ โดยศึกษาประสิทธิภาพในการไล่มดจากสารสกัดสะเดา โดยศึกษาวิธีการสกัดที่แตกต่างกัน 2 วิธี คือ วิธีการสกัดแบบแช่หมัก และวิธีการแบบซอกห์เลต ด้วย ตัวทำละลายเอทานอล และเอทิล อะซิเตท พบว่าวิธีการสกัดที่แตกต่างกัน 2 วิธี ให้ร้อยละผลิตภัณฑ์ ของส่วนสกัดหยาบอยู่ในช่วง 5.04% ถึง 15.38% เมื่อนำสารสกัดมาทดสอบประสิทธิภาพโดยทำแผ่น ไล่มด พบว่าผลิตภัณฑ์แผ่นสมุนไพรไล่มด มีอัตราการไล่มดเฉลี่ยที่ 55.00 ถึง 96.67% โดยวิธีการสกัด แบบซอกห์เลตด้วยตัวทำละลายเอทิล อะซิเตท มีอัตราการไล่มดเฉลี่ยที่ดีที่สุด คือ 96.67±2.04% และ ทำการวิเคราะห์องค์ประกอบของสารสกัดจากใบสะเดาด้วยเทคนิค HPLC พบสารอินทรีย์ที่เป็น องค์ประกอบอยู่ประมาณ 11 ถึง 27 ชนิด ผลจากการวิจัยแสดงให้เห็นว่า สารสกัดสะเดามีฤทธิ์ในการ ขับไล่และป้องกันมดอย่างมีประสิทธิภาพ

CH-P-19

- หน้าที่ 120 -

สาขาวิชา: เคมี; วท.บ. (เคมี) คาสาคัญ: มะนาว lime, Citrus aurantifolia (Christm.) Swingle / ขับไล่/ป้ องกันมด / 5,7-ไดเมทอกซีคูมาริน 61030232 นายพิสษิ ฐ์ จาดแก้ว; การสกัดและการแยกสารประกอบจากเปลือก มะนาว (Citrus aurantifolia (Christm.) Swingle) เพือ่ ศึกษาประสิทธิภาพการขับไล่มด อาจารย์ทป่ี รึกษา : รศ.ดร. รุ่งนภา แซ่เอ็ง ปี การศึกษา 2564. มะนาว (Key lime, Citrus aurantifolia (Christm.) Swingle) จัดเป็นผลไม้ตระกูล ส้ม มีคุณค่าทางโภชนาการและทางการแพทย์ในการรักษาโรค โดยเปลือกมะนาวมี “น้ำมันหอม ระเหย” เป็นองค์ประกอบที่มีกลิ่นฉุนซึ่งเป็นเอกลักษณ์เฉพาะที่สามารถป้องกันและขับไล่สัตว์จำพวก แมลงได้ ซึ่งมดจัดเป็นแมลงส่วนใหญ่ที่เข้ามาหาอาหารในที่อยู่อาศัยของมนุษย์อาจก่อในเกิดความ เสี่ยงต่อสุขภาพ ในการศึกษานี้ผู้วิจัยสนใจศึกษาประสิทธิภาพการขับไล่และป้องกันมดของสารสกัด จากเปลือกมะนาว โดยใช้วิธีการสกัดด้วยที่แตกต่างกัน 2 วิธี คือ วิธีการสกัดแบบแช่หมัก และ วิธีการ สกัดแบบซอกห์เลต โดยใช้เอทานอลและอะซิโตนเป็นตัวทำละลาย ให้ร้อยละผลิตภัณฑ์ของส่วนสกัด หยาบอยู่ในช่วง 3.37 ถึง 25.04 % เมื่อนำสารสกัดมาทดสอบประสิทธิภาพโดยนำมาทำผลิตภัณฑ์แผ่น ไล่มด พบว่าผลิตภัณฑ์แผ่นสมุนไพรไล่มด มีอัตราการไล่มดเฉลี่ยที่ 70.83 ถึง 95.42 % โดยวิธีการ สกัดแบบซอกห์เลตและแบบแช่หมักโดยใช้อะซิโตนทำละลาย มีอัตราการไล่มดเฉลี่ยที่ดีที่สุดอยู่ที่ 95.42 ± 1.82 % และ 95.42 ± 2.98 % ตามลำดับ นอกจากนี้ได้ทำการศึกษาแยกองค์ประกอบของ สารสกัดจากเปลือกมะนาวด้วยเทคนิคคอลัมน์โครมาโตกราฟี (Column chromatography) ซึ่งพบ สาร 5,7-ไดเมทอกซีคูมาริน (5,7-Dimethoxycoumarin) 0.32% จากผลการศึกษาสรุปได้ว่าสาร สกัดจากเปลือกมะนาวมีฤทธิ์ในการขับไล่และป้องกันมดอย่างมีประสิทธิภาพ

CH-P-20

- หน้าที่ 121 -

คาสาคัญ: elimination

สาขาวิชา: เคมี; วท.บ. (เคมี) แอนโดนกราโฟไลด์ / ไดไธโอคาร์บาเมต / ปฏิกริ ยิ า tandem Michael and

61030582 ชนิดาภา ทองลอย; การออกแบบและการสังเคราะห์สารอนุพนั ธ์ C19 cinnamoyl และ benzoyl ของแอนโดรกราโฟไลด์ ทีต่ ่อกับสารกลุ่ม dithiocarbamate อาจารย์ทป่ี รึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.รุ่งนภา แซ่เอ็ง ปี การศึกษา 2564. แอนโดรกราโฟไลด์ (andrographolide) เป็ น สารส าคัญ ในกลุ่ ม diterpenoid lactone ทีส่ กัดได้จากฟ้ าทะลายโจร เป็ นสารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติทม่ี ฤี ทธิทางชี ์ วภาพที่น่าสนใจ ในงานวิจยั นี้มุ่งเน้นการปรับเปลีย่ นโครงสร้างของสารแอนโดรกราโฟไลด์ โดยปฏิกริ ยิ าทางเคมี เพื่อเพิม่ ฤทธิในการต้ ์ านมะเร็ง โดยสังเคราะห์อนุพนั ธ์ชนิดใหม่ของ 12-((carbonothioyl)thio)-3Ac-19-cinnamoyl แ ล ะ benzoyl-14-deoxyandrographolide analogues โ ด ย ก า ร เ ติ ม ห มู่ benzoyl และ cinnamoyl ที่ตาแหน่ ง C-19 บนโครงสร้างแอนโดรกราโฟไลด์ และหมู่ acetyl ที่ ต าแหน่ ง C-3 และ C-14 ตามด้ว ยการท าปฏิกิริย ากับ หมู่ dithiocarbamate ผ่ า นปฏิกิริย า tandem Michael และ elimination ที่ตาแหน่ ง C-12 ของแอนโดรกราโฟไลด์ โดยใช้ปฏิกริ ยิ าที่ เป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ได้ผลิตภัณฑ์ท่มี รี ้อยละผลิตภัณฑ์ปานกลางถึงดีมาก สารสังเคราะห์ ทัง้ หมดจะถูกนาไปศึกษาฤทธิต้์ านมะเร็งต่อไป

CH-P-21

- หน้าที่ 122 -

สาขาวิชา: เคมี; วท.บ. (เคมี) คาสาคัญ:

ปฏิกิริยาดีคาร์บอกซิเลชัน / พทาลิไมด์เอสเทอร์ / รีดอกซ์แอคทีฟเอสเทอร์ 61030579 ขนิษฐา งามมั่ง ; ปฏิกิริยาการสังเคราะห์สารประกอบอัลคิลพทาลิไมด์

เอสเทอร์ อาจารย์ที่ปรึกษา : รองศาสตราจารย์ ดร.รุ่งนภา แซ่เอ็ง ปีการศึกษา 2564. ปฏิกิริยาดีคาร์บอกซิเลชันของกรดคาร์บอกซิลิก เป็นหนึ่งในวิธีการที่มีประสิทธิภาพในการ สังเคราะห์สารในกลุ่มแอลคิลแรดิคัล งานวิจัยนี้ได้มุ่งเน้นการสังเคราะห์สารประกอบ พทาลิไมด์เอส เทอร์ ที่สามารถเตรียมได้จากปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน โดยใช้กรดคาร์บอกซิลิกชนิดต่างๆ ไม่ว่าจะ เป็ น อะลิฟาติก , อะโรมาติก , หรือ อะมิ โ นแอซิด เป็นสารตั้งต้น ท าปฏิกิริยากับแอลกอฮอล์ (Nhydroxyphthalimide) โ ด ย ใ ช้ N,N′-dicyclohexylcarbodiimide ( DCC) ห ร ื อ 1-ethyl-3-(3dimethylaminopropyl)carbodiimide (EDCI) เป็นคัปปลิ้งรีเอเจนต์ (coupling reagent) และใช้ 4-dimethylaminopyridine (DMAP) เป็นเบส ในตัวทาละลายไดคลอโรมีเทน (DCM) โดยวิธีการนี้ สามารถสังเคราะห์ได้สารผลิตภัณฑ์ใหม่ทั้งหมดจานวน 18 อนุพันธ์ โดยให้ร้อยละผลิตภัณฑ์ปานกลาง ถึงสูง

CH-P-22

- หน้าที่ 123 -

สาขาวิชา: เคมี; วท.บ. (เคมี) คาสาคัญ: คาร์บอนดอท / อนุภาคนาโนคาร์บอน / เทคนิคทางเคมีไฟฟ้า 61030204 จิราพร ฤทธิ์เต็ม; การเตรียมคาร์บอนดอทสาหรับการประยุกต์ใช้ทางเคมีไฟฟ้า อาจารย์ที่ปรึกษา: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศศิธร มั่นเจริญ ปีการศึกษา 2564. คาร์บอนดอท (carbon dots) เป็นอนุภาคนาโนคาร์บอนที่มี ขนาดเล็ก และมีคุณสมบัติโดด เด่นในการเรืองแสง อีกทั้งมีความสามารถในการละลายน้า นาความร้อนและไฟฟ้าได้อย่างดีเยี่ยม มีต้นทุนการ ผลิตต่า และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม คาร์บอนดอทได้ถูกรายงานครั้งแรกในปี ค.ศ 2004 และในช่วงหลายปี ต่อมามีการนาคาร์บอนดอทไปประยุกต์ใช้ร่วมกับงานวิจัยหลากหลายด้าน ในโครงงานวิจัยนี้ได้ ศึกษาการ สั ง เคราะห์ ค าร์ บ อนดอทแบบ bottom – up จากกรดซิ ต ริ ก (citric acid) และ เอทิ ล ี น ไดเอมี น (ethylenediamine) โดยมีการศึกษาอุณหภูมิ และระยะเวลาในการสังเคราะห์คาร์บอนดอท อีกทั้งได้ศึกษา การพิสูจน์เอกลักษณ์ของคาร์บอนดอทที่สังเคราะห์ขึ้นด้วยการศึกษาการเรืองแสงโดยการส่องแสงอัลตร้าไวโอ เลต การวัดค่าการดูดกลืนแสงด้วยเทคนิค ยูวี - วิสิเบิลสเปกโทรโฟโตเมทรี และภาพถ่ายจากกล้องจุลทรรศน์ อิเล็กตรอนแบบส่องผ่าน (TEM) จากผลการศึกษาพบว่าอุณหภูมิและเวลาที่เหมาะสมในการสังเคราะห์ คือ 165 °C และ 30 นาที ตามลาดับ สาหรับการศึกษาการเรืองแสงพบว่า คาร์บอนดอทให้การเรืองแสงสีฟ้า และ มีค่าความยาวคลื่นที่มีการดูดกลืนแสงสูงสุด ที่ 352 นาโนเมตร นอกจากนี้โครงงานวิจัยนี้ยังได้ศึกษาศักยภาพ ในการนาคาร์บอนดอทมาประยุกต์ใช้สาหรับเทคนิคทางเคมีไฟฟ้าต่อไปอีกด้วย

CH-P-23

- หน้าที่ 124 -

สาขาวิชา: เคมี; วท.บ. (เคมี) คำสำคัญ:

อนุภาคนาโนซีเรียมออกไซด์ / ไนไตรท์ / ขั้วไฟฟ้า 61030223 เบญญาภา ลอยป้อม; การสังเคราะห์ซีเรียมออกไซด์เพื่อการประยุกต์ใช้

สำหรับเซนเซอร์ทางเคมีไฟฟ้า อาจารย์ที่ปรึกษา : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศศิธร มั่นเจริญ ปีการศึกษา 2564. โครงงานวิจ ัย นี้ได้นําเสนอการสังเคราะห์อนุภ าคนาโนซีเรียมออกไซด์เพื่อเป็น เซนเซอร์ทางเคมี ไฟฟ้าสำหรับการวิเคราะห์ไนไตรท์ โดยได้ทำการสังเคราะห์อนุภาคนาโนซีเรียม ออกไซด์ และพิสูจน์เอกลักษณ์ทางกายภาพของอนุภาคนาโนซีเรียมออกไซด์ที่สังเคราะห์ขึ้นด้วย กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด (SEM) และกล้องจุลทรรศน์ อิเล็กตรอนแบบส่องผ่าน (TEM) จากการศึกษาพบว่าอนุ ภาคนาโนซีเรียมออกไซด์มี ลักษณะเป็นลูกบาศก์ และมีขนาดเท่ากับ 17.14 ± 8.27 nm นอกจากนี้ย ังได้ศึกษาความเป็นไปได้ในการนํา อนุภ าคนาโนซีเรียมออกไซด์ มาสร้ า งเป็ น ขั ้ ว ไฟฟ้ า เพื ่ อ เป็ น เซนเซอร์ ใ นการวิ เ คราะห์ ท างเคมี ไ ฟฟ้ า ซึ ่ ง ให้ ผ ลการวิ เ คราะห์ เป็นที่น่าพอใจ

CH-P-24

- หน้าที่ 125 -



 SX5XPY9X_6LZPCF_6LZ 6gXSgX6W; cEcANC36XN3FUE@UCM^PZ PYS_Y FYOS_G4aCNaJaA_LCNZ     ?WcYHOcfZDHQF- 9QDHaQ8P>XDU^N=a QLQFL.P8;S@^ +Q=;aQ[M,>FRLV;G;

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.