63แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2563 2563-2566 แก้ไข 2 ธค 63 Flipbook PDF


41 downloads 98 Views 1MB Size

Recommend Stories


Nº 63
PAT REPORTAJE Cómo y cuánto lo protegemos CHILE 32 Invierno, 2015 / Nº 63 NATURAL Tan valiosos como un poema de Neruda, el Museo Nacional de Bel

K:63
Pantone CMYK C:55/M:0/Y:52/K:0 C:26/M:100/Y:17/K:63 2 SOBRE RESIDENCIAL DUQUESA Residencial Duquesa ofrece apartamentos de alta calidad en una ub

98 63'
M I R E N A R E N Z A N A M I R E N JAIO M.A.-M.J. 10/10/98 63' M i r e n Arenzana y M i r e n Jaio han v i v i d o en Londres y Nueva York d u r

KIT '63 CORVETTE CONVERTIBLE
KIT 1934 85193420200 '63 CORVETTE ® CONVERTIBLE Your new Revell Kit and just a little of your time will allow you to build an authentic replica. Th

Story Transcript

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2563-2566

บทที่ 1 บทนา 1.ข้อมูลโรงเรียน ชื่อโรงเรียน e-mail Facebook เปิดการสอน

: วัดหนองใหญ่ ตั้งอยู่เลขที่ ๑ ถนนสุขาภิบาล 5 ซอย 94 แขวงสายไหม เขตสายไหม กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์ ๑๐๒๒๐ สังกัด สานักการศึกษากรุงเทพมหานคร :[email protected]: โทรศัพท์ 02-533-3493 : โรงเรียนวัดหนองใหญ่สานักงานเขตสายไหม : ระดับชั้นอนุบาล 1 ถึง มัธยมศึกษาปีที่ 3

ประวัติโรงเรียนวัดหนองใหญ่ โรงเรียนวัดหนองใหญ่ เขตสายไหม กรุงเทพมหานคร จัดตั้งโดยพระอธิการเกิด เกสโร เจ้าอาวาส วัดหนองใหญ่ ในปี พ.ศ. 2484 โดยอาศัยศาลาการเปรียญเป็นสถานที่เรียน ต่อมาได้รับการแต่งตั้งเป็น โรงเรียนถูกต้องตามระเบียบของทางราชการ เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2486พระอธิการเกิด เกสโรเจ้าอาวาส ได้สร้างอาคารเรียนชั่วคราวเป็นเรือนปั้นหยา ขนาด 6x9 เมตร ตั้งอยู่ภายในพื้นที่ของวัด ปี พ.ศ. 2510 พระครูใบฎีกาไสว เจ้าอาวาสวัดหนองใหญ่ รูปต่อมาได้บอกบุญประชาชนร่วมกันซื้อ ที่ดิน จานวน 4 ไร่ เป็นเงิน 12,000-บาท (หนึ่งหมื่นสองพันบาทถ้วน) ยกให้โรงเรียน และทาการขุดดินถม เพื่อสร้างสนาม และอาคารเรียน ซึ่งได้รับงบประมาณจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดพระนคร สร้างอาคาร เรียน แบบ ป.1 ข. กว้าง 85x45 เมตร ก่อสร้างเป็นอาคารไม้ชั้นเดียวขนาด 5 ห้องเรียน พร้อมสร้างส้วม 2 ที่ เป็นเงินงบประมาณ 204,000-บาท (สองแสนสี่พันบาทถ้วน) ต่อมาได้รับงบประมาณสร้างบ่อน้าบาดาล บ้านพักครู 2 หลัง สร้างรั้วลวดหนามรอบๆ พื้นที่ของโรงเรียนและได้รับงบประมาณ 1,463,00 0 บาท (หนึ่งล้านสี่แสนหกหมื่นสามพันบาทถ้วน) สร้างอาคารเรียนแบบ กทม.ร .ร.900 พร้อมติดตั้งไฟฟูานาทางให้ แสงสว่างรอบๆอาคารเรียน (ปัจจุบันรื้อจาหน่ายตามสภาพ) ในปี พ.ศ.2535 ได้รับงบประมาณเป็นเงิน 6,572,800 บาท (หกล้านห้าแสนเจ็ดหมื่นสองพันแปด ร้อยบาทถ้วน) ก่อสร้างสนามกีฬาคอนกรีต ต่อน้าประปาใช้แทนน้าบาดาล ปี พ.ศ. 2536 ได้รับความอนุเคราะห์ที่ดินจากพระครูปิยธรรมรังษี (พระมหาคง ปิยวัณโณ) เจ้า อาวาสให้ใช้ที่ดินของวัดสร้างอาคารเรียน สนศ. 264 4 ชั้น จานวน 12 ห้องเรียน (อาคาร 1 ช่วง 1) และ ถนน จานวนเนื้อที่รวม 2 ไร่ ปี พ.ศ.2537 ได้รับงบประมาณเพิ่มเติม ก่อสร้างอาคารเรียนส่วนต่อ อาคาร 1 (แบบ สนศ.264) อีกจานวน 6 ห้องเรียน ใช้เป็นอาคารเรียน และ สร้างถนนหน้าอาคารเข้าโรงเรียนความยาวประมาณ 163 เมตร อาคาร 1 ปัจจุบันใช้เป็นห้องเรียน จานวน 18 ห้องเรียน สาหรับ นักเรียนประถมศึกษาปีที่ 4-6 และห้องพิเศษ ได้แก่ ห้องเรียนจริยธรรม ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ส่วนชั้นล่างจัดเป็น ห้องสมุด สาหรับ นักเรียนประถมศึกษา,ธนาคารโรงเรียน ,ห้องพยาบาล ห้องพลศึกษาห้องลูกเสือ และห้องรับรอง ปี พ.ศ. 2538 ได้รับงบประมาณสร้างอาคารฝึกงานเอนกประสงค์ (ปัจจุบัน คือ โรงอาหาร)และ ได้รับบริจาคที่ดินจากคุณภาวดี เชื้อแก้ว กรรมการอุปถัมภ์ของโรงเรียนมอบที่ดินให้โรงเรียนอีก ๑ ไร่ เพื่อ ก่อสร้างอาคารเรียน ๑

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2563-2566

ปี พ.ศ. 25 39 ได้รับงบประมาณก่อสร้างเพิ่มเติม อาคารเรียนแบบ สนศ. 384 จานวน 4 ชั้น (อาคาร 2) ปัจจุบันเป็นอาคารเรียนสาหรับนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 2-3 ห้องดนตรีสากล ชั้นล่างเป็นห้อง นาฏศิลป์ และสหกรณ์ร้านค้าโรงเรียน โดยมีการเชื่อมต่อทางเดินอาคารกับอาคาร 1 ที่ชั้น 3 ปัจจุบันเรียกว่า “อาคาร 2” ปี พ.ศ.2541 ได้รับงบประมาณ อาคารเรียนแบบ สนศ. 385 ก่อสร้างบนที่ดินของ คุณภาวดี เชื้อแก้ว กรรมการอุปถัมภ์ของโรงเรียน จานวน 5 ชั้น เชื่อมต่อจากอาคาร สนศ.384 (อาคาร2) ตัง้ ชื่อว่า อาคารเทพบดินทร์เดชาภาวดีอุปถัมภ์) ปัจจุบันชั้นล่างเป็นอาคารเรียนอนุบาล ชั้นที่ 2 เป็นห้องประชุม โรงเรียน “ พุฒ เชื้อแก้ว” ตามเจตนารมณ์ผู้บริจาค ชั้น ที่ 3 และ 4 เป็นห้องดนตรีไทยและนาฏศิลป์ ห้อง ศิลปะ ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ และห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ชั้นที่ 5 เป็นห้องเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีการเชื่อมต่อทางเดินอาคารกับอาคาร 2 ที่ชั้น 3และ 4 ปัจจุบันเรียกว่า “อาคาร 3” ปี พ.ศ.2553 ได้รับงบประมาณ ก่อสร้าง อาคารเรียนแบบ สนศ. 505 จานวน 5 ชั้น เพิ่มเติมใช้ เป็นอาคารเรียน ดังนี้ ชั้นล่างเป็นห้องสมุดมัธยมศึกษา ชั้นที่ 2 เป็นห้องเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 ชั้นที่ 3 เป็น ห้องเรียนประถมศึกษาปีที่ 1/4 ห้องสื่อและห้องห้องการศึกษา พิเศษ ชั้น 4 เป็นห้องเรียน มัธยมศึกษา ปีที่ 1/4 ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ระดับมัธยมศึกษา และห้องคณิตศาสตร์ชั้น 5 เป็นห้องเรียน มัธยมศึกษาปีที่ 2/4 ห้องแนะแนว และห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ เ รียกว่า “อาคาร 4 ”มีการเชื่อมต่อทางเดินอาคารกับ อาคาร 3 ตั้งแต่ชั้นที่ 3-5 และต่อมาปี พ.ศ.2555 ได้รับงบประมาณ ก่อสร้าง อาคารเรียนแบบ สนศ. 505 จานวน 5 ชั้น เชื่อมต่อ จากอาคาร 4 เรียกว่า “อาคาร 5”โดยจัด ห้องเรียน ดังนี้ ชั้นล่างเป็นสานักงาน ธุรการและฝุายบริหารของ โรงเรียนชั้นที่ 2 เป็นห้องการศึกษา พิเศษ ห้อง ทะเบียน-วัดผลและห้องศักยภาพปฐมวัย ชั้นที่ 3 เป็น ห้องเรียนประถมศึกษาปีที่ 1/1-1/3 และชั้นที่ 4-5 เป็นห้องเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1/1-1/3 และ2/1-2/3 และก่อสร้างอาคารบ้านพักครู 4 ชั้น จานวน 18 ห้อง พร้อมกันโดย ชั้นล่าง ของอาคาร ใช้เป็นโรงอาหาร นักเรียนประถมศึกษาปีที่1-2 ปัจจุบันโรงเรียนมีเนื้อที่โดยรวม 8 ไร่ 2 งาน 57 ตารางวา เปิดทาการเรียนการสอนตั้งแต่ ระดับชั้นอนุบาล ๑ ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปรัชญาโรงเรียน การศึกษาคือการพัฒนาคุณภาพชีวิต คาขวัญประจาโรงเรียน ลูกหนองใหญ่ ต้องใหญ่ในความดี ความเก่งและมีคุณธรรม สีประจาโรงเรียน สีขาว - แดง สีขาว ความหมายจริยธรรม คุณธรรม ความบริสุทธิ์ สีแดง ความหมาย ความเข้มแข็ง กาลังใจ สดใส



แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2563-2566

ดอกไม้ประจาโรงเรียน ดอกพุทธรักษา ดอกพุทธรักษาเป็นดอกไม้ที่มีความหลากหลายสี หลากหลายสายพันธุ์ ออกดอกตลอดทั้งปี มีความสดใส เป็นสัญลักษณ์ของวันพ่อ เป็นดอกไม้คุณธรรมและความดี

ต้นไม้ประจาโรงเรียน มะค่าโมง มะค่าโมงเป็นไม้ยืนต้น มีสรรพคุณมากมายใช้ประโยชน์ได้ตั้งแต่รากจรดดอกผล เนื้อไม้ (wood)มีความทนทานและแข็งแรงดีใช้ทาเสา ทาไม้หมอนรองรางรถไฟ ใช้ในการก่อสร้าง ต่าง ๆ เครื่องเรือน ไม้บุผนัง สร้างเรือใบเดินทะเล ไม้พื้นเรือ ทาไถ คราด ครกกระเดื่อง ลูกหีบ ส่วนประกอบ ต่าง ๆ ของเกวียน และตัวถังรถ งานกลึง แกะสลัก ทาพานท้ายและรางปืน กลอง โทน รามะนา ด้ามปากกา ปุุมไม้มะค่ามีลวดลายสวยงามดีและราคาแพง ใช้ทาเครื่องเรือน เปลือก (bark) ให้น้าฝาดชนิด Pyrogallolและ Catechol สาหรับใช้ฟอกหนัง ปุ่มไม้ ต้มรับประทาน ฆ่าพยาธิในท้องแก้โรคผิวหนังต้ม ใช้ควันรมให้หัวริดสีดวงทวารฝุอแห้ง เมล็ดเนื้อในเมล็ดอ่อนใช้รับประทานได้ กทม สม.นญ.

อักษรย่อ สัญลักษณ์โรงเรียน

พระพุทธรูปประจาโรงเรียน พระพุทธรูปปางประทานพร



แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2563-2566

รายนามผู้บริหารโรงเรียน ๑. นายจุเลี่ยน สุวรรณทัต รักษาการครูใหญ่ พ.ศ.๒๔๘๖-๒๔๙๙ ๑. นายจุเลี่ยน สุวรรณทัต รักษาการครูใหญ่ พ.ศ.๒๔๘๖-๒๔๙๙ ๒. นายเก็บ แบนจาก รักษาการครูใหญ่ พ.ศ.๒๔๙๙-๒๕๐๔ ๓. นายเติม ขุนทอง รักษาการครูใหญ่ พ.ศ.๒๕๐๔-๒๕๐๗ ๔. นายประสิทธิ์ พิทักษ์ธรรม ครูใหญ่ พ.ศ.๒๕๐๗-๒๕๑๔ ๕. นายเยี่ยม ทองน้อย อาจารย์ใหญ่ พ.ศ.๒๕๑๔-๒๕๓๒ ๖. นางโนรี ศรีรัตน์ อาจารย์ใหญ่ พ.ศ.๒๕๓๒-๒๕๔๐ นางโนรี ศรีรัตน์ ผู้อานวยการ พ.ศ.๒๕๔๐-๒๕๔๑ 7. นางธนวรรณ วรรณกร ผู้อานวยการ พ.ศ.๒๕๔๑-๒๕๔๒ 8. นายบุญมี คาวิสัย ผู้อานวยการ พ.ศ.๒๕๔๒-๒๕๔๖ 9. นายมนัส แสงเพ็ญฉาย ผู้อานวยการ พ.ศ.๒๕๔๖-๒๕๕๐ ๑0. นางอุไรวรรณ อภัยเสวตร์ ผู้อานวยการ พ.ศ.๒๕๕๐-๒๕๕๔ ๑1. นายรุ่งโรจน์ แจ่มจันทร์ ผู้อานวยการ พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๕๗ ๑2. นายอดิศักดิ์ เลขะวัฒนะ ผู้อานวยการ พ.ศ. ๒๕๕๗ -๒๕๖๑ ๑3. นางปริษา ทองช่างเหล็ก ผู้อานวยการ พ.ศ. ๒๕๖๑-ปัจจุบัน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน (เริ่มปฏิบัติหน้าที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖2 ) ๑.นางอุบล ศรีทองสุก ผู้ทรงคุณวุฒิ ประธานกรรมการ 2.นายสุรินทร์ มีเงิน ผู้ทรงคุณวุฒิ รองประธานกรรมการ 3.นายอุทิศ รองรัตน์ ผู้แทนกรุงเทพมหานคร รองประธานกรรมการ 4.นายไพรวัลย์ อัศฤกษ์ ผู้แทนครู กรรมการ 5.นายวงศกร วิเศษสัจจา ผู้แทนองค์กรชุมชน กรรมการ 6.นางสาวรัตติกาล แก้วเกิดมี ผู้แทนกรุงเทพมหานคร กรรมการ 7.นายไพรวัลย์ แสงน้อย ผู้แทนศิษย์เก่า กรรมการ 8.พระครูปิยะธรรมรังษี ผู้แทนพระภิกษุสงฆ์ กรรมการ 9.นางสาวเสาวลักษณ์ แก้วปลั่ง ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ ๑๐.นางจาปา บุญหวาน ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ ๑๑.นางอุไรวรรณ อภัยเสวตร์ ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ ๑๒.นางสาวปริญญา รองรัตน์ ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ ๑๓.นางสาววณิชยา ต้นประสงค์ ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ ๑๔.นายเสกสรรค์ แจ้งจิตร ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ 15.นางปริษา ทองช่างเหล็ก ผู้อานวยการโรงเรียน กรรมการและเลขานุการ



แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2563-2566

แผนที่ตั้งโรงเรียนวัดหนองใหญ่ เขตดอนเมือง อาเภอลาลูกกา

แยก คปอ

เขตบางเขน

๒. ข้อมูลด้านการบริหาร 2.1 ข้อมูลผู้บริหาร 1.ชื่อ-สกุล ผูบ้ ริหาร นางปริษา ทองช่างเหล็ก วุฒิการศึกษาสูงสุด ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม.) ดารงตาแหน่งที่โรงเรียนนี้ตั้งแต่ วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๑ จนถึงปัจจุบัน ๒.รองผู้อานวยการสถานศึกษา ๑. นายวีรพงษ์ วงษ์ชาลี วุฒิการศึกษา ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต ( ศษ.ม.) ๒. นายอาทิตย์ วงศ์กาภู วุฒิการศึกษา ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต ( ศษ.ม.) ๓. นายจเร อบทอง วุฒิการศึกษา ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม.) 2.2 โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนวัดหนองใหญ่



โครงสร้างกา

ปีการศึกษ คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครอง

ผู้ปกครอง นายอาทิตย์ วงศ์กาภู รองผู้อานวยการสถานศึกษา ฝุายบริหารวิชาการ-งานบุคคล ๑.การวางแผนงานวิชาการ ๒.การบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา ๓. การบริหารการจัดการเรียนรู้ ๔.การจัดระบบการบริหารและการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน โรงเรียน 5.การนิเทศงานวิชาการในโรงเรียน 6.การวัดผลประเมินผลการเรียน 7.การพัฒนาสื่อนวัตกรรมเทคโนโลยี และแหล่งการเรียนรู้ 8.การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ๘.การให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางวิชาการ 9.การพัฒนาเครือข่ายทางการศึกษา ๙. การประกันคุณภาพการศึกษากับงานวิชาการ ๑๐. งานนโยบายและงานอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย การบริหารงานบุคคล ๑. การวางแผนอัตรากาลังและกาหนดตาแหน่ง -การวิเคราะห์และวางแผนอัตรากาลัง -การประเมินวิทยฐานะครู ๒. การส่งเสริมประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน -การพัฒนาข้าราชการครู และบุคลากร ๓. การประกันคุณภาพบุคลากร 4.ที่ปรึกษาสายชั้นประถมศึกษาปีที่ 3-6

นางปริษา ทอง

ผู้อานวยการสถานศึกษา โร

นายจเร อ

รองผู้อานวยการสถานศึกษา ฝ

๑. การพัฒนาระบบและเครือข่ายสา 2.การบริหารงานธุรการ 3. การบริหารงานกิจการนักเรียน 4. การพัฒนาอาคารสถานศึกษา สิ่งแ 5. งานจัดระบบควบคุมภายใน 6. งานนโยบายและงานอื่น ๆ ที่ได้รับ

การบริหารงานบุคคล ๑. การสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง ๒. การส่งเสริมประสิทธิภาพในการป -การจัดทาระเบียนประวัติ -การขอพระราชทานเครื่องราชอิสร 3.การประเมินผลการปฏิบัติงาน เพื่อ 4. การประกันคุณภาพบุคลากร 5. การลาและการออกจากราชการ 6. ที่ปรึกษาสายชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2563

ารบริหารงาน

ษา 2563

งช่างเหล็ก

คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

รงเรียนวัดหนองใหญ่

อบทอง

ฝุายบริหารทั่วไป-งานบุคคล

ารสนเทศ

แวดล้อม และยานพาหนะ

บมอบหมาย

ปฏิบัติงาน

ริยาภรณ์ อเลื่อนขั้นเงินเดือน

นายวีรพงษ์ วงษ์ชาลี รองผู้อานวยการสถานศึกษา ฝุายบริหารงบประมาณ-งานบุคคล

บุคคล ๑.การบริหารงบประมาณ -การจัดทาแผนบริหารงบประมาณ -การดาเนินงานเกี่ยวกับงบประมาณ ๒. การบริหารการเงิน และการบัญชี ๓.การบริหารพัสดุ (วัสดุ ครุภัณฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง) ๔. การประเมินและการรายงานงบประมาณ ๕. งานนโยบายและงานอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย การบริหารงานบุคคล ๑. การส่งเสริมประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ๒. การประกันคุณภาพบุคลากร ๓. วินัย และการรักษาวินัย ๔. การลาและการออกจากราชการ 4. ที่ปรึกษาสายชั้นอนุบาล -ประถมศึกษาปีที่ 1-2

1-3



แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2563-2566

๒.๓ อาคารเรียน มีอาคารเรียนจานวน ๕ หลัง (อาคารเรียน ๔ ชั้น 2 หลัง,อาคารเรียน ๕ ชั้น 3 หลัง) อาคารประกอบ 2 หลังได้แก่ อาคารโรงอาหาร หอสมุดเฉลิมพระเกียรติ ๒.๔ จานวนห้องเรียน และห้องสนับสนุนการสอน ๒.๔.๑จานวนห้องเรียน ระดับอนุบาล จานวน ระดับประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ จานวน ๒๔ ระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ จานวน



๑๒ รวม ๔๔ ๒.๔.๒ห้องสนับสนุนการสอน ประกอบด้วย ๑. ห้องนาฏศิลป์ 2 ๒. ห้องศิลปะ ๓. ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ๔.ห้องสมุด ๕. ห้องคอมพิวเตอร์ ๖. ห้องประชุม ๗. ห้องวิถีพุทธ/จริยธรรม ๘. ห้องแนะแนว และห้อง QAD ๙. ห้องลูกเสือ ยุวกาชาด ๑๐.ห้องพลศึกษา ๑๑. ห้องสื่อการเรียนการสอน ๑๒. ห้องทะเบียน วัดผล ๑๓. ห้องปฏิบัติการดนตรีสากล ๑๔. ห้องปฏิบัติการดนตรีไทย ๑๕.ห้องศักยภาพปฐมวัย ๑7.ห้องพัสดุ

2.4.3 ห้องพิเศษ จานวน ๔ ห้อง ประกอบด้วย ๑. ห้องพยาบาล ๒. สหกรณ์ร้านค้า ๓. สหกรณ์ธนาคารโรงเรียน(ออมสิน) 4. อาคารหอสมุดเฉลิมพระเกียรติ 1 ห้อง

ห้องเรียน ห้องเรียน ห้องเรียน ห้องเรียน ห้อง ๒ห้อง ๓ห้อง ๒ห้อง ๒ห้อง ๑ ห้อง ๑ ห้อง ๒ ห้อง ๑ ห้อง ๑ ห้อง ๑ ห้อง ๑ ห้อง ๑ ห้อง ๑ ห้อง ๑ ห้อง ๑ ห้อง ๑ ห้อง ๑ ห้อง ๑ ห้อง



แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภา

2.5 แผนผังอา

าพการศึกษา

2563-2566

าคารสถานที่



แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

ไม่มี

คศ.๔

คศ.๓

คศ.๒

คศ.๑

-

1

-

-





-

-

-



-

-

-

รองผู้อานวยการ

3

-

-

-







-

-





-

-

ครูประจาการ

7

55

-

44

18

17

38

7

-

17 38

7

-

ครูผู้ช่วย

3

8

-

11

-

-

-

11

-

-

11

รวมข้าราชการ 13 64 ครู 77

-

55

22

19

40

18

-

7

11

-

-

77 -

19

33

-

-

18

21

-

-



รองผู้อานวยการ

3

-

-

-



ครูประจาการ

7

52

-

45

14

ครูผู้ช่วย

3

8

-

11

รวมข้าราชการ 13 61

-

56

2

คศ.๑

คศ.๔

-

1

คศ.๒

ไม่มี



-

-

คศ.๓

ชานาญการ

-

ผู้อานวยการ

-

ตาแหน่ง

-

หญิง

สูงกว่า ปริญญาตรี ชานาญการ พิเศษ

-

-

ชาย

ตากว่า ปริญญาตรี ปริญญาตรี

19 40

77

พี่เลี้ยงเด็ก - ๗ ๔ ๓ นักการ/ภารโรง ๔ ๓ ๗ ธุรการ/การเงิน - 1 1 รวม ๔ ๑1 ๑๑ 4 รวมบุคลากร 17 ๗5 ๑๑ 59 22 รวมบุคลากร 92 92 92 ตารางที่ 1 แสดงข้อมูลบุคลากร ปี ๒๕๖3 (พฤศจิกายน 2563) ประเภท เพศ ระดับการศึกษาสูงสุด วิทยฐานะ บุคลากร

-

ครูผู้ช่วย

77

-

ครูผู้ช่วย

ชานาญการ

ผู้อานวยการ

ตากว่า ปริญญาตรี ปริญญาตรี

หญิง

ตาแหน่ง

ชาย

บุคลากร

สูงกว่า ปริญญาตรี ชานาญการ พิเศษ

๓. ข้อมูลบุคลากร : ตารางข้อมูลบุคลากรปี ๒๕๖3 ตารางที่ 1 แสดงข้อมูลบุคลากร ปี ๒๕๖3 ( 1 กรกฎาคม 2563) ประเภท เพศ ระดับการศึกษาสูงสุด วิทยฐานะ

2563-2566

2

-

-

-

-



-

-

7

-

19 33

7

-

-

11

-

-

11

35

18

-

7

11

-

-

21 35



แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

ครู

74

พี่เลี้ยงเด็ก นักการ/ภารโรง 3 ธุรการ/การเงิน รวม 3

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 74

74

2563-2566 74

8 ๓ 1 ๑2

๔ 6 ๑0

4 1 5

-

-

-

-

-

-

-

-

-

รวมบุคลากร

16 ๗3

๑0

61

18

-

-

-

-

-

-

-

-

รวมบุคลากร

89

-

89

๔.ข้อมูลนักเรียน ตารางแสดงจานวนห้องเรียน ครู และนักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๖-๒๕๖3 พ.ศ. ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ 2562 2563

ห้องเรียน ๔๔ ๔๔ ๔๔ ๔๔ 44 44

ครู ๗๒ ๗๕ ๗๐ ๗๑ 78 77

ชาย ๘๒๑ ๗๗๗ ๗๘๘ ๗๙๒ 798 768

จานวนนักเรียน หญิง รวม ๗๕๕ ๑,๕๗๖ ๗๕๓ ๑,๕๓๐ ๗๓๗ ๑,๕๒๕ ๗๑๕ ๑,๕๐๗ 723 1,521 671 1,439

หมายเหตุ

ณ วันที่25 /๐7/๒๕๖3

๑๐

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2563-2566

5. โครงสร้างเวลาเรียนของหลักสูตรโรงเรียน ตารางแสดงหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดหนองใหญ่กาหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียนดังนี้ เวลาเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้/ กิจกรรม ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓  วิชาพื้นฐาน ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ภาษาไทย ๒๐๐

๒๐๐

๒๐๐

๑๖๐

๑๖๐

๑๖๐

๒๐๐

๒๐๐

๒๐๐

๑๖๐

๑๖๐

๑๖๐

๘๐

๘๐

๘๐

๘๐

๘๐

๘๐

-

-

-

๔๐

๔๐

40

สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

๔๐

๔๐

๔๐

๘๐

๘๐

๘๐

ประวัติศาสตร์

๔๐

๔๐

๔๐

๔๐

๔๐

๔๐

สุขศึกษาและพลศึกษา

๘๐

๘๐

๘๐

๘๐

๘๐

๘๐

ศิลปะ

๘๐

๘๐

๘๐

๘๐

๘๐

๘๐

การงานอาชีพและ เทคโนโลยี

๔๐

๔๐

๔๐

๔๐

๔๐

40

ภาษาต่างประเทศ

๘๐

๘๐

๘๐

๘๐

๘๐

๘๐

๘๔๐

๘๔๐

๘๔๐

๘๔๐

๘๔๐

๘๔๐

คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาการคานวณ

รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - ลูกเสือ-ยุวกาชาด - แนะแนว/ทักษะชีวิต - ชมรม/ทักษะชีวิต - กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์

รายวิชาเพิ่มเติม ตามความ พร้อมและจุดเน้น รวมเวลาเรียนทั้งหมด

(๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๔๐ (๑นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๔๐ (๑นก.) ๘๐ (๒นก.) ๘๐ (๒นก.) ๔๐ (1นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๘๘๐

(๓ นก.) (๓ นก.) ๑๒๐ ๑๒๐ (๓ นก.) (๓ นก.) ๑๒๐ ๑๒๐ (๓ นก.) (๓ นก.) ๔๐ ๔๐ (๑นก.) (๑นก.) ๑๒๐ ๑๒๐ (๓ นก.) (๓ นก.) ๔๐ ๔๐ (๑นก.) (๑นก.) ๘๐ ๘๐ (๒นก.) (๒นก.) ๘๐ ๘๐ (๒นก.) (๒นก.) ๔๐ ๔๐(1นก.) (1นก.) ๑๒๐ ๑๒๐ (๓ นก.) (๓ นก.) ๘๘๐ ๘๘๐(๒๒

(๒๒ นก.)

(๒๒ นก.)

นก.)

(๑๒๐) 30 ๔๐ ๓๐ ๑๐

(๑๒๐) 30 ๔๐ ๓๐ ๑๐

๒๐๐

๒๐๐

(๑๒๐) (๑๒๐) (๑๒๐) (๑๒๐) (๑๒๐) (๑๒๐) (๑๒๐) 30 30 30 30 30 30 30 ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๔๐ Eng

๔๐ Eng

๔๐ Eng

๔๐ Eng

๑,๐๐๐ ชั่วโมง/ปี

๔๐ Eng

๔๐ Eng

๒๐๐

งานเลือก หน้าที่ ไทยเพิ่ม จีน

๑,๒๐๐ ชั่วโมง/ปี ๑๑

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2563-2566

บทที่ 2 การศึกษาสถานภาพของสถานศึกษา 1. ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม โรงเรียนวัดหนองใหญ่ ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกจากสานักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน) สมศ. ในรอบที่สามเมื่อวันที่ ๗-๙ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๕ ผ่านการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา๓ ด้าน คือ ผู้บริหาร ครู และด้านผู้เรียน ซึ่งสรุปผลการ ประเมินโดยภาพรวมตามมาตรฐาน ดังแสดงในตารางต่อไปนี้ 1.1 ตาราง สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาจาแนกเป็นรายมาตรฐานตาม กฎกระทรวงฯการศึกษาขั้นพื้นฐาน: ระดับการศึกษาปฐมวัย ชื่อตัวบ่งชี้ มาตรฐานที๑่ มาตรฐานที่ว่าด้วยผลการจัดการศึกษา กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ ๑ เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย ตัวบ่งชี้ที่ ๒ เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจสมวัย ตัวบ่งชี้ที่ ๓ เด็กมีพัฒนาการด้านสังคมสมวัย ตัวบ่งชี้ที่ ๔ เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญาสมวัย ตัวบ่งชี้ที่ ๕ เด็กมีความพร้อมศึกษาต่อในขั้นต่อไป กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ ตัวบ่งชี้ที่ ๙ ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจ และ วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ ๑๐ ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของ สถานศึกษา กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม ตัวบ่งชี้ที่ ๑๑ ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา มาตรฐานที่ ๒ มาตรฐานที่ว่าด้วยการบริหารจัดการศึกษา กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ ๗ ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม ตัวบ่งชี้ที่ ๑๒ ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษา มาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศที่สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา

น้าหนัก คะแนน

คะแนน ที่ได้

ระดับ คะแนน

๕.๐๐ ๕.๐๐ ๕.๐๐ ๑๐.๐๐ ๑๐.๐๐

๔.๕๐ ๔.๕๐ ๔.๕๐ ๙.๐๐ ๑๐.๐๐

ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก

๒.๕๐

๒.๕๐

ดีมาก

๒.๕๐

๒.๕๐

ดีมาก

๒.๕๐

๒.๕๐

ดีมาก

๑๕.๐๐

๑๔.๕๐

ดีมาก

๒.๕๐

๒.๕๐

ดีมาก

๑๒

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

ชื่อตัวบ่งชี้ มาตรฐานที่ ๓ มาตรฐานที่ว่าด้วยการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ ๖ประสิทธิภาพผลการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เน้นเด็กเป็นสาคัญ มาตรฐานที่ ๔ มาตรฐานที่ว่าด้วยการประกันคุณภาพภายใน กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ ๘ประสิทธิภาพผลของระบบการประกันคุณภาพภายใน

2563-2566

น้าหนัก คะแนน

คะแนน ที่ได้

ระดับ คะแนน

๓๕.๐๐

๓๓.๐๐

ดีมาก

๕.๐๐

๔.๙๔

ดีมาก

ผลรวมคะแนนทั้งหมด ๑๐๐.๐๐ ๙๔.๙๔ ดีมาก การรับรองมาตรฐานสถานศึกษาระดับปฐมวัย สถานศึกษามีผลคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้ ตั้งแต่ ๘๐ คะแนนขึ้นไป ใช่  ไม่ใช่ สถานศึกษามีตัวบ่งชี้ที่ได้ระดับดีขึ้นไป ๑๐ ตัวบ่งชี้จากทั้งหมด๑๒ ตัวบ่งชี้ ใช่  ไม่ใช่ สถานศึกษาไม่มีตัวบ่งชี้ใดที่มีระดับคุณภาพต้องปรับปรุง หรือ ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ใช่  ไม่ใช่ สรุปผลการจัดการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษาในภาพรวม  สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา  ไม่สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกัน คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ จากการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ๑. ด้านผลการจัดการศึกษา ๑) เด็กควรได้รับการปลูกฝังให้มีมารยาทการรับประทานอาหาร โดยครูควรให้เด็ก รับประทานอาหาร ของหวานและขน มที่ซื้อให้หมดที่โต๊ะอาหารก่อนไปแปรงฟัน พัฒนาให้ทางานเสร็จ ทันเวลา โดยครูควรตรวจสอบดูแลเด็กที่ยังทางานช้า ไม่ทันเพื่อน และช่วยเหลือโดยให้กาลังใจ เสริมแรงให้ เด็กเกิดแรงบาดาลใจ มีความมุ่งมั่นในการทางานต่อไปจนเสร็จทันเพื่อนปลูกฝังด้านการพูด ขอบคุณ ขอโทษ รู้จักขออนุญาต โดยการใช้นิทานหรือคาคล้องจอง ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม สอดแทรกในการจัด ประสบการณ์ประจาวัน ครูเสริมแรงให้รางวัลเป็นคาชม ควรฝึก การขอยืมก่อนหยิบของเพื่อนมาใช้ และ กล่าวคาขอบคุณเมื่อส่งของคืน ฝึกปฏิบัติจนเป็นนิสัย ๒) เด็กควรได้รับการปลูกฝังให้มีความสามัคคีกัน รู้จักแบ่งปันสิ่งของแก่เพื่อนและผู้อื่น ความเมตตากรุณา รู้จักช่วยเหลือซึ่งกันและกัน โดยการใช้นิทานหรือคาคล้องจอง ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม สอดแทรกในการจัดประสบการณ์ประจาวัน ส่งเสริมให้ทางานเป็นกลุ่มย่อย กลุ่มใหญ่ เพื่อฝึกแบ่งหน้าที่ ความรับผิดชอบ ให้เด็กมีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรมร่วมกัน ฝึกการทดลอง ลงมือปฏิบัติจริงอย่างต่อเนื่อง ๓) เด็กควรได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยครูควรสังเกตเด็กที่พัฒนาช้ากว่าเพื่อน ๆ ในชั้น และพัฒนาด้วยการเสริมแรง กระตุ้นให้ปฏิบัติกิจกรรมได้ทันเพื่อน ๆ ทั้งด้านการเคลื่อนไหว และการ ปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน และควรฝึกวิธีการจับดินสอที่ถูกวิธีและพัฒนาจนปฏิบัติได้เป็นนิสัย และฝึกการเขียน ๑๓

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2563-2566

พยัญชนะไทยที่ถูกต้องตามลักษณะตัวอักษรไทยทุกคน ๒. ด้านการบริหารจัดการศึกษา การปฏิบัติงานโครงการ/กิจกรรม ควรมีการนิเทศติดตามอย่างเป็นระบบ บันทึกข้อมูลไว้เป็น หลักฐานเพื่อนาผลมาพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ให้การพัฒนาบรรลุตามวัตถุประสงค์ และการประเมินผลควร เปรียบเทียบกับเปูาหมายและวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้นาผลมาพัฒนาในปีต่อไป ๓. ด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ครูควรจัดทาแบบบันทึกพัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคลและบันทึกอย่างต่อเนื่องทุกวัน เพื่อส่งเสริม พัฒนาการเด็กได้ถูกต้องรายวัน ๔. ด้านการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาควรนาผลการประกันคุณภาพของสถานศึกษา โดยวิเคราะห์จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา มาดาเนินการ จัดทาเป็นโครงการเพื่อการพัฒนาในระดับสถานศึกษา มีการนิเทศติดตามและประเมินผลอย่าง เป็นระบบ นาผลมาใช้พัฒนาในปีต่อไป รวมทั้งการนาข้อเสนอของ สมศ. มาใช้เป็นข้อมูลเพื่อการพัฒนาอย่าง ต่อเนื่อง นวัตกรรมหรือตัวอย่างการปฏิบัติที่ดี (Good Practice) ของสถานศึกษาที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม โครงการส่งเสริมพัฒนาศักยภาพผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของนักเรียนทุกกลุ่มสาระ โดยบุคลากร ทางการศึกษา และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกคน ให้ความสาคัญกับผลสาเร็จทางการศึกษาของนักเรียนทุกคน มุ่งเน้นให้นักเรียน เรียนรู้อย่างมีความสุข ได้ปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อค้นพบศักยภาพของตนเองโดยครู ผู้ปกครอง และชุมชนเป็นที่ปรึกษา จัดสภาพแวดล้อม บรรยากาศการเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนการสอน จัดหา สื่อ เทคโนโลยีและแนวทางพัฒนานักเรียนทุกระดับ ดังนี้ มีการวัดและประเมินความรู้พื้นฐานนักเรียน ก่อน เรียน – หลังเรียน ทุกกลุ่มสาระ จัดหาเทคนิควิธีการสอนหลากหลายมากระตุ้นการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้ นักเรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเองและฝึกฝนการทาแบบฝึกหัดบ่อย ๆ ให้แรงเสริม มอบรางวัล เด็กที่ ทาสาเร็จ และให้กาลังใจเด็กที่ต้องได้รับการพัฒนาเพิ่มเติม

๑๔

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2563-2566

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

1.2 ตาราง สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาจาแนกเป็นรายมาตรฐานตาม กฎกระทรวงฯการศึกษาขั้นพื้นฐาน: ระดับประถมศึกษาและ มัธยมศึกษา การศึกษาขั้นพื้นฐาน (ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา) กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ ๑ ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๒ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ที่ ๓ ผู้เรียนมีความใฝุรู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ ๔ ผู้เรียนคิดเป็น ทาเป็น ตัวบ่งชี้ที่ ๕ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ตัวบ่งชี้ที่ ๖ ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ตัวบ่งชี้ที่ ๗ ประสิทธิผลของการบริหารจัดการและพัฒนาสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ ๘ พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้นสังกัด กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ ตัวบ่งชี้ที่ ๙ ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจ และ วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ ๑๐ ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของ สถานศึกษา กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม ตัวบ่งชี้ที่ ๑๑ ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ ๑๒ ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษา มาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศที่สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา

คะแนนรวม

น้าหนัก คะแนน

คะแนน ระดับ ที่ได้ คะแนน

๑๐.๐๐ ๑๐.๐๐ ๑๐.๐๐ ๑๐.๐๐ ๒๐.๐๐ ๑๐.๐๐ ๕.๐๐ ๕.๐๐

๙.๔๙ ๙.๒๖ ๘.๙๙ ๘.๔๔ ๑๐.๑๒ ๘.๐๐ ๕.๐๐ ๔.๙๔

๕.๐๐

๔.๐๐

๕.๐๐

๕.๐๐

๕.๐๐

๕.๐๐

ดีมาก

๕.๐๐

๕.๐๐

ดีมาก

๑๐๐.๐๐ ๘๓.๒๔

ดีมาก ดีมาก ดี ดี พอใช้ ดี ดีมาก ดีมาก ดี ดีมาก

ดี

สรุปตัวบ่งชี้ที่มีคุณภาพระดับดีขึ้นไป ได้แก่ ลาดับที่ ตัวบ่งชี้ที่ 1 1 2 2 3 7 4 8 5

10

ชื่อตัวบ่งชี้ ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ ประสิทธิผลของการบริหารจัดการและพัฒนาสถานศึกษา พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษา และต้นสังกัด ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็น เอกลักษณ์ของสถานศึกษา

ระดับคุณภาพ ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก

๑๕

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

ลาดับที่ ตัวบ่งชี้ที่ ชื่อตัวบ่งชี้ 6 11 ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของ สถานศึกษา 7 12 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศที่สอดคล้องกับ แนวทางการปฏิรูปการศึกษา 8 3 ผู้เรียนมีความใฝุรู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 9 4 ผู้เรียนคิดเป็น ทาเป็น 10 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ 11 9 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์ พันธ กิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่มีคุณภาพต่ากว่าระดับดี ได้แก่

2563-2566

ระดับคุณภาพ ดีมาก ดีมาก ดี ดี ดี ดี

ลาดับที่ ตัวบ่งชี้ที่ ชื่อตัวบ่งชี้ ระดับคุณภาพ 1 5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน พอใช้ สรุปผลการจัดการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษาในภาพรวม สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา  ไม่สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา จุดเด่น ด้านผลการจัดการศึกษา ผู้เรียนมีสุขภาพร่างกา ยแข็งแรง มีสุนทรียภาพด้านดนตรี ศิลปะและกีฬา มีคุณธรรม จริยธรรม และ ค่านิยมที่พึงประสงค์ ผู้เรียนมีความใฝุรู้ รักการเรียนรู้ คิดเป็นทาเป็น มีผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจและวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของ สถานศึกษา ด้านการบริหารจัดการศึกษา สถานศึกษามีประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา มีผลการส่งเสริมพัฒนา สถานศึกษา เพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ ที่สอดคล้องกับแนวทางการ ปฏิรูปการศึกษา ด้านการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และพัฒนาผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง ๑๖

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2563-2566

ด้านการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษามีพัฒนาการของการประกันคุณภาพภายใน จุดที่ควรพัฒนา ด้านผลการจัดการศึกษา พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนโดยเฉพาะกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย การานอาชีพ และเทคโนโลยี ด้านการบริหารจัดการศึกษา การนาผลจากการประกันคุณภาพภายในมาวิเคราะห์จุดเด่น จุดควรพัฒนาและข้อเสนอแนะ เพื่อ การพัฒนา ด้านการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ การพัฒนาครูในการเตรียมการสอน ผลิตและใช้สื่อในการสอนเพื่อกระตุ้นความสนใจผู้เรียน จัดการ เรียนรู้โดยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม และประเมินผู้เรียนขณะสอนเพื่อการเปลี่ยนการสอน ด้านการประกันคุณภาพภายใน การนาผลการประเมินคุณภาพภายในไปวางแผนในการพัฒนาสถานศึกษาอย่างต่อเนื่องเป็นระบบ ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกัน คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ จากการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ๑. ด้านผลการจัดการศึกษา ๑) ผู้เรียนควรวางเปูาหมายในการเรียนและอนาคต กระตุ้นให้ผู้เรียนที่มีผลการเรียน ค่อนข้างต่าพัฒนาตนเองและจัดทาโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพื่อพัฒนาคุณภาพการ ศึกษาให้สูงขึ้นทุกกลุ่มสาระ โดยเฉพาะกลุ่มสาระภาษาไทย การงานอาชีพและเทคโนโลยี ผู้เรียนควรมีความ ตระหนักในความปลอดภัยของตนเอง การข้ามถนนโดยใช้สะพานลอย รวมทั้ง การหลีกเลี่ยงจากอบายมุขทั้ง ปวง เช่น เกม สิ่งเสพติดมึนเมา สิ่งเสพติดให้โทษ และปลูกฝังสุขอนามัย การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร การแปรงฟันให้ถูกวิธีหลังรับประทานอาหาร และผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาควรได้รับการพัฒนาด้านมารยาท การพูด การทาความเคารพผู้ใหญ่ และความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย ๒) ผู้เรียนควรมีทักษะการฟัง การสรุปความรู้จากการฟังเสียงตามสาย และจัดกิจกรรม เสียงตามสาย ควรให้ผู้เรียนหลากหลายกลุ่มและระดับชั้น หมุนเวียนเป็นผู้จัดรายการในเวลาเช้าและพัก กลางวัน ผู้เรียนควรได้รับการพัฒนาด้านทักษะกระบวนการคิด โดยการทาโครงงานการทดลองที่หลากหลาย ตามศักยภาพของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง และส่งเสริมการนาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน ๓) สถานศึกษาควรดาเนินการพัฒนาผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้เรียนมีมารยาทที่ดี มี มารยาทในการทาความเคารพ รักษาความเป็นเอกลักษณ์ของไทย และเป็นตัวตนของผู้เรียนจนเป็นนิสัย ๑๗

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2563-2566

ที่ดี ที่น่าชื่นชมของผู้พบเห็นโดยทั่วไป และควรจัดทาโครงการเพื่อส่งเสริมและรักษาเอกลักษณ์ของ สถานศึกษา จัดระบบการนิเทศติดตามโครงการทุก ๆ โครงการอย่างเป็นระบบ เพื่อพัฒนาที่ต่อเนื่องและเป็น ระบบ PDCA ๒. ด้านการบริหารจัดการศึกษา สถานศึกษาควรนาผลจากการประกันคุณภาพภายใน วิเคราะห์จุดเด่น จุดควรพัฒนาและ ข้อเสนอแนะในการดาเนินการวางแผนพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยจัดทาเป็นโครงการ/กิจกรรม นิเทศติดตาม เพื่อให้พัฒนาให้บรรลุเปูาหมาย ๓. ด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ๑) สถานศึกษาควรนาผลจากการประเมินการจัดกระบวนการเรียนรู้ของครู เช่น คุณภาพ แผนการจัดการเรียนรู้กิจกรรมการเรียนรู้ในชั้นเรียน คุณภาพแบบวัดผลประเมินผล ไปเป็นข้อมูลในการ พัฒนาครูเป็นรายบุคคลอย่างเป็นระบบ ๒) ครูควรปรับการสอน โดยเตรียมการสอน ผลิต และใช้สื่อในการสอนเพื่อกระตุ้นความ สนใจผู้เรียน จัดการเรียนรู้โดยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม ครูควรประเมินผู้เรียนขณะสอนเพื่อการปรับเปลี่ยนการ สอนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เต็มศักยภาพ รวมทั้งบันทึกหลังการสอนอย่างเป็นระบบ บันทึกการจัดกิจกรรม ระบุปัญหาอุปสรรคและการแก้ไข ๔. ด้านการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาควรนาผลการประกันคุณภาพของสถานศึกษา โดยเฉพาะจุดที่ควรพัฒนา และ ข้อเสนอแนะจากการประเมินคุณภาพภายนอกไปวางแผนในการพัฒนาสถานศึกษาอย่างต่อเนื่องเป็นระบบ นวัตกรรมหรือตัวอย่างการปฏิบัติที่ดี(Good Practics)ของสถานศึกษาที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม โครงการธนาคารโรงเรียนโดยร่วมกับธนาคารออมสินดาเนินการโดยผู้เรียนเป็นเจ้าหน้าที่ คณะกรรมการปฏิบัติหน้าที่ประจาวัน คือ ผู้จัดการ 1 คน พนักงานการเงิน 1คน พนักงานบัญชี 1 คน พนักงานติดต่อ 2 คน และพนักงานลงรายการ 1 คน เปิดรับฝากเงินทั้งภาคเช้า 07.00-07.50 น. และพัก กลางวัน 11.30-12.30 น. รับฝากเงินขั้นต่า 5 บาท ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรม โดยนาฝากเงินมีสมุดเงินฝาก จานวน 1,378 คน คิดเป็นร้อยละ 94.90 และมีเงินในบัญชีทั้งสถานศึกษารวม 1,225,660 บาท ส่งเสริม ให้ผู้เรียนฝากเงินเป็นประจา กับธนาคารออมสินที่เปิดให้บริการภายในสถานศึกษา

๑๘

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2563-2566

2.การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก (SWOT Analysis) จุดแข็ง ด้านบริหาร 1. ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์กว้างไกลมีภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลง มีความรู้ความสามารถในการ บริหารงาน ส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการทางานเป็นทีม เพื่อยกระดับคุณภาพโรงเรียนมีมาตรฐานที่สูงขึ้น 2.มีการจัดโครงสร้างและการวางแผนการทางานอย่างมีระบบ ชัดเจนและต่อเนื่อง 3. มีการพัฒนาครูอย่างต่อเนื่องให้ได้มีและเลื่อนวิทยฐานะที่สูงขึ้น 4. ส่งเสริมให้ครูพัฒนาตนเองในด้านวิชาการ วิชาชีพ มีวิสัยทัศน์ในการพัฒนาทรัพยากรใน โรงเรียนได้อย่างคุ้มค่า เน้นความพอเพียง 5. มีการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ สภาพแวดล้อมภายในโรงเรียน ให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่าง หลากหลาย ร่มรื่นมีการบริหารงบประมาณได้อย่างคุ้มค่าและทั่วถึงโรงเรียนได้รับการยอมรับจากหน่วยงาน ทั้งภายในและภายนอกได้รับรางวัลการประกวด แข่งขัน ด้านนาฏศิลป์ กีฬา วิชาการ และอื่นๆ ด้านครู 1. มีความรู้ความสามารถในวิชาชีพ การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และมีความพยายามในการทางานสูงมีคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพ 2. สอนตรงตามวิชาเอกและความสามารถ ครูมีความรัก สามัคคี และทางานเป็นทีม 3. ครูพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง และดูแลรับผิดชอบเอาใจใส่ผู้เรียนอย่างทั่วถึงเสมอภาค ด้านนักเรียน 1. มีความสามารถด้าน ศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์และกีฬา 2. มีสุขภาพอนามัยสุขภาพจิตที่ดี ร่าเริงแจ่มใส 3. ให้ความร่วมมือในการทากิจกรรม กล้าคิดและแสดงออกได้เหมาะสมกับวัย 4. รู้จักปูองกันตนเองจากสิ่งเสพติด อบายมุข มีความสามารถในการใช้สื่อเทคโนโลยี จุดอ่อน ด้านนักเรียน 1.มาจากหลากหลายครอบครัวที่อพยพย้ายถิ่น นักเรียนย้ายตามผู้ปกครอง ทาให้การเรียนการสอน ไม่ต่อเนื่อง ย้ายเข้า ๆ ออก ๆตลอดปีการศึกษา 2.นักเรียนยังต้องได้รับการพัฒนาเรื่องระเบียบวินัย ความรับผิดชอบและตรงต่อเวลาอย่างเข้มข้น 3.ผู้ปกครองมีภาระเรื่องการประกอบอาชีพ ทาให้ไม่มีเวลาเอาใจใส่ ด้านการเรียน ส่งเสริม การอ่าน และให้คาปรึกษาแนะนาการคิดวิเคราะห์เลือกตัดสินใจทีเ่ หมาะสม 4.แหล่งที่อยู่เสี่ยงต่อพฤติกรรมการติดเกมและสิ่งเสพติด โอกาส ด้านผู้ปกครอง 1.ให้ความร่วมมือ สนับสนุนการจัดกิจกรรมของโรงเรียน 2.มีความศรัทธา ให้เกียรติครูและบุคลากร ๑๙

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2563-2566

ด้านชุมชน 1.วัดหนองใหญ่ให้การสนับสนุนการศึกษาในทุกด้าน 2.มีภูมิปัญญาท้องถิ่น และเป็นแหล่งเรียนรู้ที่สาคัญของโรงเรียน 3.ชุมชน กรรมการสถานศึกษา กรรมการเครือข่ายให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียนอย่างสม่าเสมอ 4.การคมนาคมสะดวก ด้านหน่วยงานอื่น โรงเรียนได้รับความร่วมมือ และการสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆอย่างดียิ่ง ได้รับการ สนับสนุนสื่อ จากสานักการศึกษา กรุงเทพมหานคร และหน่วยงานภายนอก ฯลฯ อุปสรรค ด้าน ผู้ปกครอง 1. มีเวลาให้การดูแลบุตรหลานน้อย 2. ปัญหาครอบครัวที่แตกแยก 3. ขาดความร่วมมือในการดูแลนักเรียนด้านวิชาการ 4. ปัญหาสภาพเศรษฐกิจต้องย้าย ที่อยู่อาศัยทาให้การเรียนไม่ต่อเนื่อง 5. ความรู้ความเข้าใจในการดูแลบุตรหลานที่เหมาะสม ด้านชุมชน 1. ชุมชนมีภาวะเสี่ยง เช่น ร้านเกมอินเตอร์เน็ต และเป็นรอยต่อของเขตสายไหม กรุงเทพมหานคร และตาบลบึงคาพร้อย อาเภอลาลูกกา จังหวัดปทุมธานี มีความเสี่ยงต่อการแพร่ ระบาดของยาเสพติด 2. มลภาวะทางอากาศและเสียงเนื่องจากมีโรงงานผลิตเฟอร์นิเจอร์ใกล้โรงเรียน

๒๐

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2563-2566

บทที่ 3 ทิศทางการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา สาระสาคัญของแผนพัฒนาคุณภาพโรงเรียน4 ปี (พ.ศ. ๒๕๖3–๒๕๖6) 1. ทิศทางแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔ กรอบทิศทางแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔ เป็นเสมือนหนึ่งแผนที่นาทางให้ระบบ การศึกษาไทยสามารถพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถของทุนมนุษย์ที่มีอยู่ในตัวตนของแต่ละบุคคลให้ เต็มตามศักยภาพสาหรับประชากรทุกช่วงวัย ภายใต้บริบทเศรษฐกิจและสังคมของประเทศและของโลกที่เป็น พลวัต การศึกษาจึงนับเป็นปัจจัยพื้นฐานของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในการสร้างความได้เปรียบเชิง เปรียบเทียบ (comparative advantage) เพื่อให้ประเทศสามารถแข่งขันในเวทีโลก และเป็นกลไกที่ส่งผลต่อ การพัฒนาประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม จึงมีความสาคัญอย่างมากกับทุกกลไกในการขับเคลื่อนประเทศ ที่แต่ละประเทศทั่วโลกต่างให้ความสาคัญและทุ่มเทกับการพัฒนาการศึกษาเพราะเป็นกลไกสาคัญในการ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยให้ความสาคัญกับการพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถของมนุษย์ให้มีทักษะ ความรู้ความสามารถ และสมรรถนะที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศที่ เป็นพลวัตของโลกศตวรรษที่ ๒๑ (สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ , ๒๕๕๙) โดยการ เปลี่ยนแปลงที่สาคัญคือ 1.1 วิสัยทัศน์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ (Vision) สร้างระบบการศึกษาที่รองรับการศึกษา การเรียนรู้ตลอดชีวิต และความท้าทายที่เป็นพลวัตของโลก ศตวรรษที่ ๒๑ อย่างมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ เพื่อเป็นกลไกหลักของการพัฒนาศักยภาพและขีด ความสามารถของคนไทย และการดารงชีวิตอย่างเป็นสุข ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คว ามก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแบบก้าวกระโดดที่ส่งผลต่อระบบ เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ภูมิภาคและของโลก การปฏิวัติดิจิทัล ( Digital Revolution) ต่อการเปลี่ยนแปลงสู่อุตสาหกรรม ๔.๐ (The Forth Industrial Revolution) การพัฒนาอย่างก้าวกระโดดของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารส่งผลให้ ประเทศต่าง ๆ บนโลกต้องเผชิญกับระบบเศรษฐกิจ โลกที่มีการแข่งขันอย่างเสรีและไร้พรมแดนที่ไม่อาจ หลีกเลี่ยงได้ และเป็นความท้าทายของทุกประเทศทั่วโลกต่อกระแสโลกาภิวัฒน์รอบใหม่ที่ก้าวเข้าสู่ยุค Internet of things ซึ่งการปรับเปลี่ยนดังกล่าวจะเป็นแรงผลักดันให้ประชากรสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร และแหล่งเรียนรู้ที่ไร้ขีดจากัด สามารถพัฒนาองค์ความรู้ และการสร้างปัญญาที่เพิ่มขึ้นเป็นทวีคูณ มีการนา เทคโนโลยีและการสื่อสารและระบบเรียนรู้แบบเคลื่อนที่ ( Mobile learning) มาใช้มากขึ้น ดังนั้น การจัดการ ศึกษาของไทยจาเป็นต้องกาหนดเปูาหมายการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ วางแผนพัฒนาและเตรียมกาลังคนที่จะ เข้าสู่ตลาดงานเมื่อสาเร็จการศึกษาในระดับต่างๆ ปรับหลักฐานและวิธีการเรียนการสอนที่มีความยืดหยุ่น หลากหลาย เพื่อพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถของทรัพยากรมนุษย์ให้มีทักษะ ความรู้ความสามารถ และสมรรถนะที่พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงและการแข่งขันอย่างเสรีในยุคเศรษฐกิจและสังคม ๔.๐ ๒๑

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2563-2566

1.2 การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร สถานการณ์สังคมสูงวัยในประเทศไทย สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้ ประมาณการสัดส่วนผู้สูงอายุไว้ว่า ในปี ๒๕๕๘ ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์ การเป็นสังคมสูงวัยส่งผลให้อัตราการพึ่งพิงสูงขึ้น กล่าวคือ วัยแรงงานต้องแบกรับดูแลผู้สูงอายุเพิ่ม สูงขึ้น ดังนั้นการพัฒนาประเทศให้มีความเจริญเติบโตด้านเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องจาเป็นต้องเตรียมกาลังคน ให้ มีสมรรถนะเพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ ( Productivity) ที่สูงขึ้น การจัดการศึกษาจึงจาเป็นต้องวางแผนและพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ ให้มีทักษะและสมรรถนะสูงและปรับหลักสูตรการเรียนการสอนให้บูรณาการกับ การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อพร้อมรับการพัฒนาประเทศอย่างต่อเนื่อง 1.3 ทักษะของประชากรในศตวรรษที่ ๒๑ ผลจากการเปลี่ยนแปลงระบบเศรษฐกิจสังคม และสถานการณ์สังคมสูงวัย ส่งผลให้ประเทศทั่วโลกต่าง กาหนดทิศทางการผลิตและสามารถพัฒนากาลังคนของประเทศที่มีทักษะและสมรรถนะสูงมีความสามารถ เฉพาะทางมากขึ้น ในขณะที่ความต้องการกาลังคนที่ไร้ผีมือ มีทักษะต่าจะถูกแทนที่ด้วยหุ่นยนต์และเทคโนโลยี ใหม่ๆ มากขึ้น การจัดการศึกษาในปัจจุบันต้องปรับเปลี่ยนให้ตอบสนองกับทิศทางการผลิตและพัฒนาแรงงาน ดังกล่าวการจัดการศึกษาทั่วโลกจึงมุ่งเน้นการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ เพื่อให้ได้ทั้งความรู้และทักษะที่จาเป็นต้องใช้ในการดารงชีวิตท่ามกลางกระแสแห่งการเปลี่ยนแปลงอัน ประกอบด้วย 3Rs + 8Cs 3Rs ประกอบด้วย- อ่านออก (Reading) - เขียนได้(Writing) - คิดเลขเป็น (Arithmetic) 8Cs ประกอบด้วย - ทักษะในการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา ( Critical Thinking and Solving Problem) - ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) - ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีม และภาวะผู้นา ( Collaboration Teamwork and Leadership) - ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์(Cross Cultural Understanding) - ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ ( Communication, Information and Media Literacy) - ทักษะด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ( Computing and Media Literacy) - ทักษะอาชีพและการเรียนรู้(Career and Learning Self-reliance) - ความมีเมตตา กรุณา วินัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion)

๒๒

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2563-2566

สมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน สมรรถนะสาคัญ ๕ ประการ 1. ความสามารถในการสื่อสารตัวชี้บ่งความสามารถในการรับ และสื่อสาร การใช้ ภาษา ถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจ และทัศนคติในเชิงสร้างสรรค์วิเคราะห์ข่าวสารด้วยหลักเหตุผลถูกต้อง และ เลือกวิธีสื่อสารคานึงถึงผลกระทบต่อตนเอง และลดความขัดแย้งในโรงเรียนและชุมชน 2. ความสามารถในการคิด ตัวชี้บ่งความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ คิด อย่างมีวิจารณญาณ และคิดเป็นระบบเพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้ในการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคม อย่างเหมาะสมนาไปสู่การมีทักษะในการดาเนินชีวิตที่ดีต่อไป ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา ตัวชี้บ่งสามารถแก้ปัญหาที่เผชิญได้อย่างเหมาะสม ประยุกต์ความรู้ ในการปูองกันตนเองให้พ้นจากความเสี่ยงต่างๆได้อย่างเหมาะสม ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ตัวชี้บ่งสามารถในการนากระบวนการเรียนรู้ต่างๆไปประยุกต์ใช้ ในการดาเนินชีวิตประจาวัน เรียนรู้การอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม มีส่วนสร้างเสริมความสัมพันธ์ที่ดี เข้าใจและรู้ วิธีลดความขัดแย้ง สามารถหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ได้เมื่อมีการชี้แนะ ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ตังชี้บ่งสามารถเลือกใช้เทคโนโลยีในด้านต่างๆ เช่นเพื่อการ สืบค้น เพื่อการเรียนรู้ เพื่อความเพลิดเพลิน และเพื่อการสื่อสารได้ถูกต้องเหมะสมและมีคุณธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๘ ประการ ๑. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ๒.ซื่อสัตย์สุจริต ๓. มีวินัย ๔. ใฝุเรียนรู้ ๕. อยู่อย่างพอเพียงทางาน ๖.มุ่งมั่นในการ ๗.รักความเป็นไทย ๘. มีจิตสาธารณะ ตัวชี้บ่ง ๑. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ยืนตรงเมื่อได้ยินเพลงชาติ และเพลสรรเสริญพระบารมี ร้องได้ถูกต้อง บอกความหมายได้ และแสดงความคิดเห็นเชิงบวก เคารพสิทธิของผู้อื่น ร่วมกิจกรรมเทิดทูน สถาบัน เป็นสมาชิกที่ดีในการร่วมพัฒนาห้องเรียน ๒. ซื่อสัตย์สุจริต ปฏิบัติตนได้ตามสัญญาของโรงเรียนในระดับน่าพอใจ ซื่อตรง ซื่อสัตย์ มีความละอาย ต่อความผิด ไม่นาสิ่งของผู้อื่นมาเป็นของตน ๒๓

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2563-2566

๓. มีวินัยปฏิบัติตนตามข้อตกลงของครอบครัว และระเบียบของโรงเรียน ตรงต่อเวลามาปฏิบัติ กิจกรรมหน้าเสาธงเป็นประจาสม่าเสมอ ไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น รับผิดชอบหน้าที่นักเรียนอย่างต่อเนื่อง ๔. ใฝุเรียนรู้รักการอ่าน ตั้งใจเรียน เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนสม่าเสมอ สามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม เข้าเรียนตรงเวลา สนใจเรียนรู้อย่างหลากหลายทั้ง ภายในและภายนอกโรงเรียน ๕. อยู่อย่างพอเพียงรักการออม มีความฉลาดในการเลือกซื้อและการรับประทาน มีจิ ตสานึกอนุรักษ์ พลังงาน ใช้และดูแลรักษาทรัพย์สินของโรงเรียนอย่างประหยัดและคุ้มค่า มีทักษะและเข้าใจในการดาเนินชีวิต กิน อยู่ ดู ฟังเป็น ปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ ๖. มุ่งมั่นในการทางาน ตั้งใจรับผิดชอบหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายสาเร็จทันตามเวลาที่กาหนด มีคุณภาพ และประสิทธิภาพ ขยัน อดทน ชื่นชมผลงานตนเองและสามารถปรับปรุงพัฒนาผลงานได้อย่างน่าชื่นชม ๗. รักความเป็นไทยปฏิบัติตนมีมารยาทไทยอย่างเหมาะสมมีสัมมาคารวะ มีความกตัญญูรู้คุณผู้ที่ให้ ความอุปการะ ช่วยเหลือและตอบแทนบุญคุณเมื่อมีโอกาส แต่งกายถูกต้องตามระเบียบของโรงเรียนและ กาลเทศะ รักความเป็นไทยร่วมกิจกรรมเทิดทูนสถาบัน ใช้ภาษาไทย เขียนเลขไทยได้อย่างถูกต้องเหมาะสม บอกแหล่งเรียนรู้ท้องถิ่นและเข้าร่วมชักชวนครอบครัว เพื่อนปฏิบัติตามวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นอย่าง สม่าเสมอ มีส่วนร่วมในการเผยแพร่วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น ๘. มีจิตสาธารณะอาสาช่วยเหลืองานของครอบครัวอย่างเต็มใจ มีส่วนร่วมกิจกรรม ๕ ส. ของ โรงเรียน ช่วยเหลือและเข้าร่วมกิจกรรมของชุมชน มีส่วนร่วมกับห้องเรียนในการรักษาทรัพย์สมบัติของ ห้องเรียนและโรงเรียน รู้จักแบ่งปัน เอื้ออาทรต่อความทุกข์ที่ผู้อื่นประสบโดยการบริจาคทรัพย์สิน สิ่งของเพื่อ สังคมด้วยจิตบริสุทธ์

๒๔

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2563-2566

1.4 ความท้าทายที่เป็นพลวัตของโลกศตวรรษที่ ๒๑ ประกอบด้วย ๑) แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญที่เกิดขึ้นบนโลก อาทิ กระแสการเปลี่ยนแปลงจากศตวรรษแห่ง อเมริกาสู่ศตวรรษแห่งเอเชีย กระแสการเปลี่ยนแปลงจากยุคแห่งความมั่งคั่งสู่ยุคแห่งความสุดโต่งทั้งธรรมชาติ การเมืองและธุรกิจ และกระแสการเริ่มเปลี่ยนแกนอานาจจากภาครัฐและเอกชนสู่ภาคประชาชน ๒) แรงขับเคลื่อนในระดับภูมิภาค ( Regional Force) ซึ่งเกิดจากการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของ ภูมิภาค ภายใต้กรอบความร่วมมือทวิภาคีและพหุภาคี ได้แก่ การรวมกลุ่มของประชาคมอาเซียน ( ASEAN Community) การรวมกลุ่มของเอเชียตะวันออก ( Regional Comprehensive Economic Partnership : RCEP) ๓) ประเด็นภายในประเทศ ( Local Issue) อาทิ ความเหลื่อมล้า วิกฤตด้านความมั่นคงการ เปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรและครัวเรือน รวมทั้งการก้าวข้ามกับดักประเทศรายได้ปานกลาง ๔) ยุทธศาสตร์ของประเทศ ( Country Strategy) อาทิ ยุทธศาสตร์การสร้างขีดความสามารถในการ แข่งขันของประเทศ ( Growth & Competitiveness) ยุทธศาสตร์การสร้างโอกาสบนความเสมอภาคและเท่า เทียมกันทางสังคม ( Inclusive Growth) ยุทธศาสตร์การเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Growth) และยุทธศาสตร์การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ การศึกษาเป็นเครื่องมือ/กลไกในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีความเป็นพลเมือง (เป็นคนดีมีวินัย เป็นพลเมืองที่ดีและมีคุณภาพของสังคม ประเทศ และของโลก) มีทักษะ ความรู้ความสามารถ และสมรรถนะ ในการปฏิบัติงานที่ตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศ (สามารถเรียนรู้ได้ตาม ความถนัดความสนใจ) และดารงชีวิตในสังคมอย่างเป็นสุข (มีงานทา มีอาชีพ มีรายได้รวมทั้งสามารถปรับตัว และดารงชีวิตในสังคมได้อย่างรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจและสังคม พหุวัฒนธรรมที่เป็นพลวัตใน โลกศตวรรษที่ ๒๑ ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง) 1.5ความเป็นพลเมือง ประกอบด้วย ๑) คุณลักษณะนิสัย/พฤติกรรมที่พึงประสงค์ : เป็นพฤติกรรมที่พลเมืองพึงปฏิบัติให้เป็นนิสัยที่ติดตัวไป ตลอดชีวิต ประกอบด้วย การดูแลรักษาสุขภาพอนามัยของร่างกายให้เจริญเติบโตอย่างเหมาะสมตามวัย การ สร้างลักษณะนิสัยในการใฝุรู้ใฝุเรียน มีสมรรถนะที่พึงประสงค์ มีจิตสาธารณะ มีความกระตือรือร้น ( Active Citizen) ในการทาประโยชน์เพื่อส่วนรวมและมีค่านิยมของความเป็นพลเมือง ๒) มีองค์ความรู้ที่สาคัญในศตวรรษที่ ๒๑ : เป็นความรู้เบื้องต้นที่สาคัญของการดารงชีวิตอย่างรอบ ด้านในสังคมอย่างเป็นสุข ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ภายใต้ระบบเศรษฐกิจและสังคมที่มีการ แข่งขันอย่างเสรีและไร้พรมแดน th ๓) มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ (๒๑ Century Skills) เป็นทักษะการเรียนรู้ของพลเมืองที่ ต้องติดตัวไปตลอดชีวิต ตั้งแต่อยู่ในวัยเรียนและเข้าสู่กาลังแรงงาน ประกอบด้วยทักษะ ความรู้ความสามารถ

๒๕

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

และสมรรถนะตามมาตรฐานหลักสูตร ซึ่งเป็นความรู้ขั้นพื้นฐาน การศึกษา

2563-2566

(Basic Literacy) ตามระดับและประเภท

๔) มีทักษะการดารงชีวิต ( Life Skill) : เป็นทักษะที่บ่งบอกถึงศักยภาพ ความสามารถและสมรรถนะที่ เพียงพอต่อการดารงชีวิตในสังคมอย่างเป็นสุข โดยไม่เป็นภาระกับสังคมประกอบด้วย ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skill) ทักษะการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทักษะทางสังคม ทักษะในการสร้างจินตนาการ ทักษะการ ทางานและความก้าวหน้าในอาชีพ ( Career Progress) ทักษะในการสร้างทรัพย์สินทางปัญญา และทักษะการ สร้างงานสร้างอาชีพด้วยตนเอง 1.6หลักการ/แนวคิดการจัดการศึกษา (Conceptual Design) - รัฐมีหน้าที่จัดการให้พลเมืองทุกคนได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพและมาตรฐาน สามารถพัฒนาขีด ความสามารถที่มีอยู่ในตัวตนของแต่ละบุคคลให้เต็มตามศักยภาพ จากการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม เพื่อยกฐานะและชนชั้นในสังคม อันนาไปสู่การลดความเหลื่อมล้าในการกระจายรายได้ - รัฐจะประกันโอกาสและความเสมอภาค ในการเข้าถึงบริการการศึกษาที่มีคุณภาพและมาตรฐานตาม ศักยภาพและความสามารถของแต่ละบุคคล โดยไม่คานึงถึงเพศ ผิวสีชนชั้น เชื้อชาติศาสนาและวัฒนธรรม - แยกบทบาท อานาจหน้าที่และความรับผิดชอบของรัฐในฐานะผู้กากับนโยบายและแผนผู้กากับ การศึกษา ผู้ประเมินผลการศึกษา ผู้ส่งเสริม สนับสนุน และผู้จัดการศึกษา ออกจากกันเพื่อมิให้เกิดผล ประโยชน์ทับซ้อน และนามาซึ่งการแข่งขันเพื่อให้ได้มาซึ่งคุณภาพและมาตรฐานประสิทธิภาพและประสิทธิผล ภายใต้ความเป็นอิสระที่มาพร้อมกับความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ - รัฐพึงปฏิบัติต่อสถานศึกษา (ทั้งสถานศึกษาของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน สถาน ประกอบการ องค์กรเอกชน มูลนิธิเป็นต้น) ภายใต้กฎ กติกา ระเบียบ วิธีปฏิบัติที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน - ทุกภาคส่วนของสังคมซึ่งเป็นผู้ได้รับประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อมจากการได้รับการศึกษาของ พลเมือง ต้องมีส่วนร่วมระดมทุนและร่วมรับภาระค่าใช้จ่ายเพื่อการศึกษา ผ่านการเสียภาษีตามหลัก ความสามารถในการจ่าย ( Ability to Pay) ซึ่งเป็นหน้าที่ของพลเมือง และการบริจาค รวมทั้งมีส่วนร่วม รับภาระค่าใช้จ่ายตามอัตราค่าเล่าเรียน ค่าธรรมเนียมการเรียน ค่าบริการหรือสิ่งอานวยความสะดวกอื่นที่ได้รับ เกินกว่าคุณภาพมาตรฐานขั้นต่าที่รัฐกาหนดตามอัตราที่สถานศึกษาเรียกเก็บ ตามหลักประโยชน์ที่ได้รับ (Benefit Principle) - สถานศึกษาต้องบริหารและจัดการศึกษาที่แสดงความรับผิดชอบ (Accountability) ต่อคุณภาพและ มาตรฐานของบริการการศึกษาที่ให้แก่ผู้เรียน ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตาม อัธยาศัยไม่ต่ากว่ามาตรฐานขั้นต่าที่รัฐกาหนด - รัฐจะกาหนดกรอบทิศทางการพัฒนากาลังคน จาแนกตามระดับ/ประเภทการศึกษาคณะ/สาขาวิชา ที่สนองตอบความต้องการของตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศ เพื่อใช้เป็นกรอบในการส่งเสริมสนับสนุน ทรัพยากรและการเงินเพื่อการศึกษา

๒๖

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2563-2566

- หลักสูตร กระบวนการจัดการเรียนการสอน ต้องมีความยืดหยุ่น หลากหลาย สนองตอบความ ต้องการของผู้เรียน ทั้งผู้ที่อยู่ในวัยเรียน และผู้ที่อยู่ในกาลังแรงงาน โดยไม่จากัดเวลา สถานที่และเป็นไปเพื่อ สร้างคุณลักษณะนิสัย/พฤติกรรมที่พึงประสงค์ ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑องค์ความรู้ที่สาคัญใน ศตวรรษที่ ๒๑ และทักษะการดารงชีวิต รวมทั้งพัฒนาทักษะ ความรู้ความสามารถ และสมรรถนะในการ ปฏิบัติงานที่ผู้เรียนสามารถทดสอบ วัดและประเมินผลลัพธ์การเรียน (Learning Outcome) เพื่อสะสมหน่วย การเรียน และเทียบโอน ทั้งการเรียนรู้ผ่านการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัยและ การเรียนรู้จากประสบการณ์การทางานเพื่อยกระดับคุณวุฒิตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ 2 มาตรฐานการศึกษา Design) มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2561 มีจานวน 3 มาตรฐาน ได้แก่ ประกอบด้วย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ แต่ละมาตรฐานมีรายละเอียดดังนี้ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคานวณ 2) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น และแก้ปัญหา 3) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม 4) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา 6) มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน 1) การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานที่กาหนด 2) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย 3) การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย 4) สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 2.1 มีเปูาหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากาหนดชัดเจน 2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 2.3 ดาเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและ ทุกกลุม่ เปูาหมาย 2.4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ๒๗

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2563-2566

2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ 2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ 3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก 3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนาผลมาพัฒนาผู้เรียน 3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการ เรียนรู้

๒๘

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2563-2566

3. แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานกรุงเทพมหานคร ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๓) วิสัยทัศน์

Design)

วย่ดี มีองค์ความรู้ มีทักษะในการดารงชีวิต รู้เท่าทัน “นักเรียนกรุงเทพมหานครเป็ประกอบด้ นพลเมืองที การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกในศตวรรษที่ 21” พันธกิจ ๑. ส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ เพื่อให้ผู้เรียนมีองค์ความรู้และมี คุณธรรม สามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก ๒. พัฒนาศักยภาพของครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครสู่ความเป็นมืออาชีพ ๓. พัฒนามาตรฐานการศึกษาและระบบประกันคุณภาพการศึกษา ๔. ส่งเสริมทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ๕. ส่งเสริมการใช้และพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการศึกษา ๖. พัฒนาระบบบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพที่เน้นบูรณาการเรียนการสอน ประสาน ความร่วมมือและสร้างเครือข่ายในการจัดการศึกษา ยุทธศาสตร์ / เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ที่ 1ยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษาและเสริมสร้างความเข้มแข็งทางวิชาการ เป้าประสงค์ 1. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้เพิ่มขึ้นตามเกณฑ์ที่ กาหนด 2. โรงเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนด 3. โรงเรียนมีคุณภาพการจัดการศึกษาพิเศษวงเล็บเรียนร่วมอย่างมีคุณภาพมาตรฐานที่ กาหนด ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาสมรรถนะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครมีความเป็นมือ อาชีพ เป้าประสงค์ 1. ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครมีความเป็นมืออาชีพ ยุทธศาสตร์ที่ 3เสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ของนักเรียนสู่ความเป็นเลิศ เป้าประสงค์ 1. นักเรียนมีทักษะการใช้นวัตกรรมหรือสื่อหรือเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้สู่ ความเป็นเลิศ 2. นักเรียนมีทักษะการอ่านการเขียนและการคิดคานวณตามระดับชั้น 3. โรงเรียนการจัดการเรียนการสอนผ่านภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสาร 4. มีการส่งเสริมการเรียนรู้สังคมพหุวัฒนธรรม (Multi culture) ยุทธศาสตร์ที่ 4เสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมและความเป็นพลเมืองที่ดี เป้าประสงค์ 1. นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ๒๙

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2563-2566

2. มีทักษะชีวิตและความเป็นพลเมืองที่ดี ยุทธศาสตร์ที่ 5พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อความเป็นเลิศในการศึกษา เป้าประสงค์ 1. มีโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารไอซีทีเพื่อการจัดการศึกษา ที่มีคุณภาพและเพียงพอ 2. ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 6 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการองค์กร เป้าประสงค์ 1. มีการทางานร่วมกันแบบบูรณาการ 2. มีภาพลักษณ์ขององค์กรที่ดี 3. มีการนางานวิจัยมาพัฒนาองค์กรและการจัดการศึกษา 4.นโยบายด้านการศึกษาของกรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา2562 Design) สาหรับนโยบายด้านการศึกษาของกรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2562 มุ่งเน้นใน 5 เรื่อง ได้แก่ วย 1. SMART Education ส่งเสริมการจัประกอบด้ ดการเรียนการสอนโดยใช้ ICT และสนับสนุนการจัดสรร เทคโนโลยีที่เหมาะสมและมีคุณภาพเพื่ออานวยความสะดวกในห้องเรียน 2. จัดการเรียนรู้แบบ Active Learning จัดการเรียนรู้โดยผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เน้นการนาไปใช้ใน ชีวิตจริง ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยวิธีที่หลากหลายและส่งเสริมการมีส่วนร่วมทุกกิจกรรม 3. ภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสาร สนับสนุนให้มีครูชาวต่างชาติที่มีสาเนียงถูกต้องมาสอนนักเรียน สังกัดกรุงเทพมหานครให้สามารถสื่อสารได้ 4. อ่านออก 100% เน้นพัฒนาการอ่าน โดยตั้งเปูาให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 สามารถอ่าน ออกทุกคน โดยมีผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านระดับชาติ (Reading test : RT) อยู่ในระดับ ปรับปรุงไม่เกินร้อยละ 5 เนื่องจากทักษะด้านการอ่านเป็นพื้นฐานสาคัญในการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ 5. ทักษะชีวิตและทักษะอาชีพ ส่งเสริมการปลูกฝังทักษะชีวิตเพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน รวมถึงให้เด็กมีทักษะ การคิด รู้จักแก้ไขปัญหา สามารถจัดการและควบคุมอารมณ์ของตนเอง มีทักษะการสื่อสาร ตัดสินใจถูกต้อง เพื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ทีคุณภาพ อีกทั้งส่งเสริมให้มีการจัดการเรียนการสอนวิชาชีพต่างๆ ให้นักเรียนระดับ มัธยมศึกษา ซึ่งเปิดสอนในรายวิชาเพิ่มเติมตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ข้อมูลจากการประชุม “ขับเคลื่อนนโยบายด้านการศึกษาสู่การปฏิบัติ” ซึ่งสานักการศึกษา กรุงเทพมหานคร จัดขึ้นเพื่อให้ผู้บริหาร และผู้เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาของกรุงเทพมหานครปีการศึกษา ๒๕๖๒

๓๐

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2563-2566

5.แนวทางการจัดการศึกษาของโรงเรียนวัดหนองใหญ่(พ.ศ.2563-2566) โรงเรียนวัดหนองใหญ่ สังกัดสานักงานเขตสายไหม กรุงเทพมหานคร มีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนา การศึกษาขั้นพื้นฐาน พัฒนาให้เด็กในพื้นที่ให้เป็นพลเมืองที่มีคุณภาพ ทั้งองค์ความรู้มีคุณธรรมและมีทักษะใน การดารงชีวิต โดยมีหน้าที่สาคัญเกี่ยวกับงานด้านการศึกษาขั้นพื้นฐานของกรุงเทพมหานคร นาแนวนโยบาย แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานกรุงเทพมหานคร มาใช้จัดการศึกษาให้เป็นระบบอย่างมีคุณภาพ ส่งเสริม วิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา ส่งเสริมการนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในการบริหาร การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง สร้างเครือข่ายสารสนเทศด้านการศึกษา ส่งเสริมให้โรงเรียนมี ระบบการประกันคุณภาพภายใน เพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาอย่างต่อเนื่อง มาตรการส่งเสริม - กิจกรรมส่งเสริมการออม ความพอเพียงตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - การอ่าน เขียนภาษาไทย และการสรุปความ - อนุรักษ์พลังงาน วัฒนธรรมไทยและสิ่งแวดล้อม - สร้างวินัยใส่ตนเพื่อเป็นคนที่สมบูรณ์ - ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ความเป็นสากล เพื่อให้การดาเนินงานด้านการจัดการศึกษาของโรงเรียนวัดหนองใหญ่ มีกรอบทิศทางการดาเนินงาน ในการพัฒนาที่สอดคล้องกับสภาวะการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน จึงจัดทาแผนพัฒนาการศึกษา โดยอาศัย แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔ และแผนพัฒนากรุงเทพมหานครระยะ ๒๐ ปี แผนการศึกษา ขั้นพื้นฐานกรุงเทพมหานคร ฉบับที่ ๒ (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๓) รวมทั้งแนวนโยบายของกรุงเทพมหานคร โดยมี สาระสาคัญ ดังนี้ วิสัยทัศน์ “ โรงเรียนวัดหนองใหญ่จัดการศึกษาตามมาตรฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดีมีความรู้คู่คุณธรรม เป็นผู้นาในการออม เตรียมพร้อมสู่สากล ” เอกลักษณ์ “ สถานศึกษาแห่งการออม พร้อมใจรักษ์สิ่งแวดล้อม” อัตลักษณ์ “ มีนิสัยรักการออม ” ๓๑

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2563-2566

พันธกิจ ๑. เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ และคุณภาพผู้เรียนให้มีสมรรถนะ ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ และ มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ มีทักษะชีวิตและความเป็นพลเมืองที่ดีตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่ สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและเป้าหมายหลักสูตร 2.พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ ประสานความร่วมมือและ สร้างเครือข่ายโรงเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนดสู่มาตรฐานสากล 3. พัฒนาศักยภาพสมรรถนะและปฏิรูปการเรียนรู้ของครูและบุคลากรทางการศึกษา กรุงเทพมหานครสู่ความเป็นมืออาชีพ โดยจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 4. จัดระบบประกันคุณภาพภายในที่มีคุณภาพ โดยเน้นทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม เป้าประสงค์ 1. ผู้เรียนมีความสามารถด้านการเรียนรู้ มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑สมรรถนะ การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสร้างนวัตกรรม เพื่อมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ผ่านตามเกณฑ์ที่โรงเรียนกาหนด 2. ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และค่านิยมที่ดีมีทักษะชีวิตและความเป็นพลเมืองที่ดีตามที่ สถานศึกษากาหนดมีความภูมิใจ เห็นคุณค่าของความเป็นไทยสอดคล้องมาตรฐานการศึกษาและเป้าหมาย หลักสูตร 3.โรงเรียนมีเปูาหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจชัดเจน 4.โรงเรียนส่งเสริมพัฒนาระบบบริหารและการจัดการคุณภาพของสถานศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนทุกคน 5. โรงเรียนพัฒนาระบบเทคโนโลยีและฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการ จัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพโรงเรียน 6. พัฒนาสภาพแวดล้อมทางที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ และมีความปลอดภัย 7. โรงเรียนพัฒนาเสริมสร้างแรงจูงใจในความเป็นครูมืออาชีพ 8. ครูมีความเป็นมืออาชีพใช้เทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญผ่านกระบวนการ คิดและปฏิบัติจริงและสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ 9. ครูประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบมีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก 10. ครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับ เพื่อพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ 11. ครูใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้และพัฒนาการจัดการศึกษา จากงานวิจัย 12. โรงเรียนระบบการประกันคุณภาพและมีคุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนด 13. ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ๓๒

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2563-2566

มี 4 ยุทธศาสตร์ ดังต่อไปนี้ ยุทธศาสตร์ที ๑ ด้านคุณภาพผู้เรียน เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ และคุณภาพผู้เรียนให้มีสมรรถนะ ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑และ มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ มีทักษะชีวิตและความเป็นพลเมืองที่ดีตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่ สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและเป้าหมายหลักสูตร เป้าประสงค์ 1.ผู้เรียนมีความสามารถด้านการเรียนรู้ มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑สมรรถนะ การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสร้างนวัตกรรม เพื่อมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ผ่านตามเกณฑ์ที่โรงเรียนกาหนด 2.ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และค่านิยมที่ดีมีทักษะชีวิตและความเป็นพลเมืองที่ดีตามที่ สถานศึกษากาหนดมีความภูมิใจ เห็นคุณค่าของความเป็นไทยสอดคล้องมาตรฐานการศึกษาและเป้าหมาย หลักสูตร ตัวชี้วัด ด้านการเรียนรู้ ๑.ร้อยละของผู้เรียนที่มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคานวณตามเกณฑ์ ของแต่ละระดับชั้น 2.ร้อยละของผู้เรียนมีความสามารถในการคิดจาแนกแยกแยะ ใคร่ครวญไตร่ตรองพิจารณาอย่าง รอบคอบโดยใช้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหาอย่างมี เหตุผล 3 .ร้อยละของผู้เรียนมีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม 4.ร้อยละผู้เรียนมีความก้าวหน้าใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5. ร้อยละผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา 6. ร้อยละของผู้เรียนที่มีความรู้ ทักษะพื้นฐานในการจัดการ เจตคติที่ดีพร้อมที่จะศึกษาต่อใน ระดับชั้นที่สูงขึ้น การทางานหรืออาชีพ ด้านคุณลักษณะและค่านิยมที่ดี 1. ร้อยละผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากาหนด 2 .ร้อยละของผู้เรียนที่มีความภูมิใจในท้องถิ่น เห็นคุณค่าของความเป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ วัฒนธรรมและประเพณีไทย รวมทั้งภูมิปัญญาไทย 3 .ร้อยละของผู้เรียนยอมรับและอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างระหว่างบุคคลในด้านเพศ วัยเชื้อชาติ ศาสนา ภาษาวัฒนธรรม ประเพณี 4. ร้อยละของผู้เรียนมีการรักษาสุขภาพกายสุขภาพจิต อารมณ์ และสังคม และแสดงออกอย่าง เหมาะสมในแต่ละช่วงวัยสามารถอยู่ร่วมกับคนอื่นอย่างมีความสุข เข้าใจผู้อื่น ไม่มีความขัดแย้งกับผู้อื่น กลยุทธ์ ๑.พัฒนาระบบการจัดการศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียนสอดคล้อง ๓๓

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2563-2566

มาตรฐานการศึกษาและเปูาหมายหลักสูตร(มฐ.๑/1.1) 2 .จัดกิจกรรมส่งเสริมคุณลักษณะที่พึงประสงค์ที่สอดคล้องมาตรฐานการศึกษาและเป้าหมายหลักสูตร (มฐ.๑/1.2) ยุทธศาสตร์ที ๒ด้านการบริหารและการจัดการ พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ ประสานความร่วมมือและสร้าง เครือข่ายโรงเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนดสู่มาตรฐานสากล เป้าประสงค์ 1.โรงเรียนมีเปูาหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจชัดเจน 2.โรงเรียนส่งเสริมพัฒนาระบบบริหารและการจัดการคุณภาพของสถานศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนทุกคน 3.โรงเรียนส่งเสริมพัฒนาระบบบริหารและการจัดการคุณภาพของสถานศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนทุกคน 4.โรงเรียนพัฒนาเสริมสร้างแรงจูงใจในความเป็นครูมืออาชีพ 5.โรงเรียนพัฒนาสภาพแวดล้อมทางที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ และมีความปลอดภัย 6.โรงเรียนพัฒนาระบบเทคโนโลยีและฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการ จัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพโรงเรียน ตัวชี้วัด 1. โรงเรียนกาหนดเปูาหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากาหนดชัดเจน(1) 2.โรงเรียนมีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 3. โรงเรียนมีดาเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุก กลุ่มเปูาหมาย 4. ร้อยละครูมีการพัฒนาให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ 5.โรงเรียนจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพทั้งภายใน และภายนอกห้องเรียน และสภาพแวดล้อมทาง สังคม ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ และมีความปลอดภัย 6.จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ กลยุทธ์ กลยุทธ์ที่ 1 การจัดทาแผนการบริหารและจัดการของโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมและพัฒนาระบบบริหารและการจัดการคุณภาพของสถานศึกษาสถานศึกษา กลยุทธ์ที่ 3 เพิ่มศักยภาพการจัดการศึกษาทุกคน (ปกติ+การศึกษาพิเศษเรียนร่วม) กลยุทธ์ที่ 4 โรงเรียนพัฒนา เสริมสร้างแรงจูงใจในความเป็นครูมืออาชีพ กลยุทธ์ที่ 5 พัฒนาสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียนที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ กลยุทธ์ที่ 6 ส่งเสริมและพัฒนาระบบบริหารและการจัดการงานวิชาการและระบบเทคโนโลยี และฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ ที่มีประสิทธิภาพ ๓๔

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2563-2566

ยุทธศาสตร์ที ๓ ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอน พัฒนาศักยภาพสมรรถนะและปฏิรูปการเรียนรู้ของครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครสู่ ความเป็นมืออาชีพโดยจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เป้าประสงค์ 1.ครูมีความเป็นมืออาชีพใช้เทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญผ่านกระบวนการ คิดและปฏิบัติจริงและสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ 2.ครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ 3. ครูใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้และพัฒนาการจัดการศึกษาจาก งานวิจัย ตัวชี้วัด 1. ร้อยละของครูจัดกระบวนการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนาไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตได้(1) 2.ร้อยละของครูใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 3.ร้อยละของครูมีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก(3) 4.ร้อยละของครูมีการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนาผลมาพัฒนาผู้เรียน 5.ร้อยละของครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการ เรียนรู้(5) กลยุทธ์ 1.ส่งเสริมพัฒนาครูใช้เทคนิควิธีการสอนที่หลากหลายเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 2.พัฒนาการจัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ( PLC)ภายในโรงเรียน 3.ส่งเสริมครูใช้สื่อและเทคโนโลยี การศึกษาจากงานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียน เป็นสาคัญ ยุทธศาสตร์ที ๔ ด้านการประกันคุณภาพภายใน จัดระบบประกันคุณภาพภายในที่มีคุณภาพ โดยเน้น กระบวนการมีส่วนร่วม เป้าประสงค์ 1. โรงเรียนระบบการประกันคุณภาพและมีคุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนด 2.ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ตัวชี้วัด 1.ร้ อยละความสาเร็จของ สถานศึกษาการวางระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ที่ ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนอย่างเป็นรูปธรรม มีขั้นตอนอย่างชัดเจน 2. ความสาเร็จของ สถานศึกษาการวางระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาโดย ผู้เกี่ยวข้องทุกฝุาย อาทิ เครือข่ายผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชน/ท้องถิ่นให้ความร่วมมือ กลยุทธ์ที่ 1.พัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในอย่างต่อเนื่อง 2.พัฒนาสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษา ๓๕

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภา

สาระสาคัญของแผนพัฒนาคุณภาพ

ตามประกาศกฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภา มาตรฐานการประกันคุณภาพ ตามแนวทางการพัฒนาตามข้อเสนอแนะ สมศ. และจา มัธยมศึกษา)ด้านวินัย คุณธรรม จริยธรรม จิตอาสา การนิเทศภายใน ระบบดูแลช่วยเห เรียนแนวทางการพัฒนาการศึกษา ประกอบด้วย ยุทธศาสตร์ที่ ๑ มาตรฐา มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน การจัดก 1.งานพัฒนาวิชาการ 1.งานก 2.โครงการกิจกรรมจิตอาสานักเรียนในโรงเรียนวัดหนองใหญ่ 2.งานพ 3.โครงการธนาคารโรงเรียน 3.โครงก 4.โครงการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดและสื่อสารสู่สากล นโยบาย 5.โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ 4.โครงก 6.โครงการรักการอ่านสืบสานภาษาไทย* 5.โครงก 7.โครงการสถานศึกษาพอเพียง เรียน* 8.โครงการส่งเสริมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 6.โครงก 9.โครงการส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน สภาพแว 10.โครงการส่งเสริมสุนทรียภาพศิลปะ ดนตรีและนาฏศิลป์ ของโรงเ 11.โครงการหนึ่งสมองสองมือเด็กสร้างงาน 7.โครงก 12.โครงการเทิดทูน สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์และรักษ์ ภาษาไท วัฒนธรรมไทย 8.โครงก 13.โครงการแนะแนวการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต ผู้ปกครอ 14.โครงการโรงเรียนคุณธรรม 9.โครงก 15.โครงการโรงเรียนปลอดยาเสพติด กาลังใจ 16.โครงการส่งเสริมสุขภาพ

าพการศึกษา

2563-2566

พการศึกษาโรงเรียน (๒๕๖3-2566)

าพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๙ แต่ละยุทธศาสตร์ มีรายละเอียด โครงการ/กิจกรรม สอดคล้อง ากผลสรุปการดาเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา(ระดับประถมศึกษา และ หลือ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ

ยุทธศาสตร์ที่ ๒ านด้านการบริหารและ การ การศึกษาพิเศษ พัฒนาวิชาการ การบริหารงานตาม ยกรุงเทพมหานคร การพัฒนาครูสู่มืออาชีพ การพัฒนาวิจัยในชั้น

การพัฒนา วดล้อมใน*การทางาน เรียน การรักการอ่านสืบสาน ทย* การสัมมนาเครือข่าย องเพื่อพัฒนาโรงเรียน การเสริมสร้างขวัญและ จ

ยุทธศาสตร์ที่ ๓ มาตรฐานด้าน กระบวนการจัดการ เรียนการสอน 1.งานการศึกษาพิเศษ 2.งานพัฒนาวิชาการ 3.โครงการประกัน คุณภาพภายใน 4.โครงการพัฒนาวิจัย ในชั้นเรียน* 5.โครงการพัฒนา สภาพแวดล้อม*ในการ ทางานของโรงเรียน

ยุทธศาสตร์ที่ ๔ หมายเหตุ ด้านการประกัน คุณภาพ

* 2ยุทธศาสตร์

1.โครงการประกัน คุณภาพภายใน 2.โครงการสัมมนา เครือข่ายผู้ปกครอง เพื่อพัฒนาโรงเรียน

๓๖

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภา

กลยุทธ์ตามแผนยุทธศาสตร์(การศึกษาขั้นพื้นฐาน:ประถมศึกษา มัธ

ยุทธศาสตร์ท1เพิ ี ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ และคุณภาพผู้เรียนให้มีสมรรถนะ ทัก

พลเมืองที่ดีตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้น

๑.ร้อยละของผู้เรียนที่มี ความสามารถในการอ่าน การ เขียน การสื่อสาร และการคิด คานวณตามเกณฑ์ของแต่ละ ระดับชั้น(1)

๒๕๖๔

ผู้เรียนมีความสามารถด้านการ เรียนรู้ มีทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ ๒๑สมรรถนะ การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารสร้างนวัตกรรม เพื่อมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม หลักสูตรสถานศึกษา ผ่านตาม เกณฑ์ที่โรงเรียนกาหนด

๒๕๖๓

มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน๑.1 ยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน กลยุทธ์ที่ ๑พัฒนาระบบการจัดการศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรีย เป้าห เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ๘๕

๘๖

าพการศึกษา

2563-2566

ธยมศึกษา)

กษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑และ มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ มีทักษะชีวิตและความเป็น นพื้นฐานและเป้าหมายหลักสูตร

๒๕๖5

๒๕๖6

ยนสอดคล้องมาตรฐานการศึกษาและเปูาหมายหลักสูตร(มฐ.๑/1.1) หมาย ฝ่าย แผน/โครงการ/ มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ รับผิดชอบ กิจกรรม ๘๗

๘๘

งานวิชาการ 1.งานพัฒนาวิชาการ 2.โครงการยกระดับ ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ 3.โครงการรักการอ่าน สืบสานภาษาไทย

มฐ.1.1/1

๓๗

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภา

ผู้เรียนมีความสามารถด้านการ เรียนรู้ มีทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ ๒๑สมรรถนะ การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารสร้างนวัตกรรม เพื่อมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม หลักสูตรสถานศึกษา ผ่านตาม เกณฑ์ที่โรงเรียนกาหนด

2.ร้อยละของผู้เรียนมี ๘๕ ความสามารถในการคิดจาแนก แยกแยะ ใคร่ครวญไตร่ตรอง พิจารณาอย่างรอบคอบโดยใช้ เหตุผลประกอบการตัดสินใจ มี การอภิปรายแลกเปลี่ยนความ คิดเห็น และแก้ปัญหาอย่างมี เหตุผล(2)

๒๕๖๔

๒๕๖๓

กลยุทธ์ที่ ๑พัฒนาระบบการจัดการศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรีย เป้า เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ๘๖

าพการศึกษา

2563-2566

๒๕๖5

๒๕๖6

ยนสอดคล้องมาตรฐานการศึกษาและเปูาหมายหลักสูตร(มฐ.๑/1.1) าหมาย ฝ่าย แผน/โครงการ/ มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ รับผิดชอบ กิจกรรม ๘๗

๘๘

งานวิชาการ โครงการพัฒนาทักษะ กระบวนการคิดและ สื่อสารสู่สากล

มฐ.1.1/2

๓๘

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภา

3.ร้อยละของผู้เรียนมี ความสามารถในการสร้าง นวัตกรรม(3)

๒๕๖๔

ผู้เรียนมีความสามารถด้านการ เรียนรู้ มีทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ ๒๑สมรรถนะ การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารสร้างนวัตกรรม เพื่อมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม หลักสูตรสถานศึกษา ผ่านตาม เกณฑ์ที่โรงเรียนกาหนด

๒๕๖๓

กลยุทธ์ที่ ๑พัฒนาระบบการจัดการศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรีย เป้า เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ๘๕

๘๖

าพการศึกษา

2563-2566

๒๕๖5

๒๕๖6

ยนสอดคล้องมาตรฐานการศึกษาและเปูาหมายหลักสูตร(มฐ.๑/1.1) าหมาย ฝ่าย แผน/โครงการ/ มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ รับผิดชอบ กิจกรรม ๘๗

๘๘

งานวิชาการ โครงการพัฒนาทักษะ กระบวนการคิดและ สื่อสารสู่สากล

มฐ.1.1/3

๓๙

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภา

3.ร้อยละของผู้เรียนมี ความสามารถในการสร้าง นวัตกรรม(3)

๒๕๖๔

ผู้เรียนมีความสามารถด้านการ เรียนรู้ มีทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ ๒๑สมรรถนะ การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารสร้างนวัตกรรม เพื่อมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม หลักสูตรสถานศึกษา ผ่านตาม เกณฑ์ที่โรงเรียนกาหนด

๒๕๖๓

กลยุทธ์ที่ ๑พัฒนาระบบการจัดการศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรีย เป้า เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ๘๕

๘๖

4.ร้อยละผู้เรียนมีความก้าวหน้า ๘๕ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร(4)

๘๖

2563-2566

าพการศึกษา

๒๕๖5

๒๕๖6

ยนสอดคล้องมาตรฐานการศึกษาและเปูาหมายหลักสูตร(มฐ.๑/1.1) าหมาย ฝ่าย แผน/โครงการ/ มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ รับผิดชอบ กิจกรรม ๘๗

๘๘

๘๗

๘๘

งาน บริหารงาน ทั่วไป

โครงการหนึ่งสมอง สองมือเด็กสร้างงาน

งานวิชาการ 1.งานพัฒนาวิชาการ 2.โครงการพัฒนา ทักษะกระบวนการคิด และสื่อสารสู่สากล งาน บริหารงาน ทั่วไป

มฐ.1.1/3

มฐ1.1/4

โครงการสถานศึกษา พอเพียง

๔๐

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภา

5.ร้อยละผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนตามหลักสูตร สถานศึกษา(5)

๒๕๖๔

ผู้เรียนมีความสามารถด้านการ เรียนรู้ มีทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ ๒๑สมรรถนะ การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารสร้างนวัตกรรม เพื่อมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม หลักสูตรสถานศึกษา ผ่านตาม เกณฑ์ที่โรงเรียนกาหนด

๒๕๖๓

กลยุทธ์ที่ ๑พัฒนาระบบการจัดการศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรีย เป้า เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ๘๕

๘๖

าพการศึกษา

2563-2566

๒๕๖5

๒๕๖6

ยนสอดคล้องมาตรฐานการศึกษาและเปูาหมายหลักสูตร(มฐ.๑/1.1) าหมาย ฝ่าย แผน/โครงการ/ มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ รับผิดชอบ กิจกรรม ๘๗

๘๘

งานวิชาการ 1.งานพัฒนาวิชาการ 2.โครงการยกระดับ ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้

มฐ.๑.1 1/5

๔๑

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภา

6.ร้อยละของผู้เรียนที่มีความรู้ ทักษะพื้นฐานในการจัดการ เจตคติที่ดีพร้อมที่จะศึกษาต่อ ในระดับชั้นที่สูงขึ้น การทางาน หรืออาชีพ(6)

๒๕๖๔

ผู้เรียนมีความสามารถด้านการ เรียนรู้ มีทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ ๒๑สมรรถนะ การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารสร้างนวัตกรรม เพื่อมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตาม หลักสูตรสถานศึกษา ผ่านตาม เกณฑ์ที่โรงเรียนกาหนด

๒๕๖๓

กลยุทธ์ที่ ๑พัฒนาระบบการจัดการศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรีย เป้า เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ๘๕

๘๖

2563-2566

าพการศึกษา

๒๕๖5

๒๕๖6

ยนสอดคล้องมาตรฐานการศึกษาและเปูาหมายหลักสูตร(มฐ.๑/1.1) าหมาย ฝ่าย แผน/โครงการ/ มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ รับผิดชอบ กิจกรรม ๘๗

๘๘

งาน บริหารงาน ทั่วไป

1.โครงการหนึ่งสมอง สองมือเด็กสร้างงาน

มฐ.1-๑.1/6

งานวิชาการ 2.โครงการแนะแนว การศึกษาและพัฒนา คุณภาพชีวิต

มฐ.1-๑.1/6

๔๒

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภา

๒๕๖๔

ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ 1.ร้อยละผู้เรียนมีคุณลักษณะ และค่านิยมที่ดีมีทักษะชีวิตและ และค่านิยมที่ดีตามที่ ความเป็นพลเมืองที่ดีตามที่ สถานศึกษากาหนด(1) สถานศึกษากาหนดมีความภูมิใจ เห็นคุณค่าของความเป็นไทย สอดคล้องมาตรฐานการศึกษา และเป้าหมายหลักสูตร

๒๕๖๓

มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน๑.๒. ส่งเสริมคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน กลยุทธ์ที่ 2 จัดกิจกรรมส่งเสริมคุณลักษณะที่พึงประสงค์ที่สอดคล้องมาตรฐานการศึกษ เป้า เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ๘๕

๘๖

2563-2566

าพการศึกษา

๒๕๖5

๒๕๖6

กษาและเป้าหมายหลักสูตร (มฐ.๑/1.2) าหมาย ฝ่าย แผน/โครงการ/ รับผิดชอบ กิจกรรม ๘๗

๘๘

งาน บริหารงาน ทั่วไป

มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้

1.โครงการกิจกรรมจิต มฐ.๑.2/1 อาสานักเรียนใน โรงเรียนวัดหนองใหญ่ 2.โครงการธนาคาร โรงเรียน 3.โครงการเทิดทูน สถาบัน ชาติศาสนา พระมหากษัตริย์ และรักษ์วัฒนธรรมไทย

งานวิชาการ 4.โครงการส่งเสริม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 5.โครงการโรงเรียน คุณธรรม

มฐ.๑.2/1

๔๓

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภา

1. ร้อยละของผู้เรียนที่มีความ ภูมิใจในท้องถิ่น เห็นคุณค่าของ ความเป็นไทย มีส่วนร่วมในการ อนุรักษ์วัฒนธรรมและประเพณี ไทย รวมทั้งภูมิปัญญาไทย(2)

๒๕๖๔

ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และค่านิยมที่ดีมีทักษะชีวิตและ ความเป็นพลเมืองที่ดีตามที่ สถานศึกษากาหนดมีความภูมิใจ เห็นคุณค่าของความเป็นไทย สอดคล้องมาตรฐานการศึกษา และเป้าหมายหลักสูตร

๒๕๖๓

กลยุทธ์ที่ 2 จัดกิจกรรมส่งเสริมคุณลักษณะที่พึงประสงค์ที่สอดคล้องมาตรฐานการศึกษ เป้า เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ๘๕

๘๖

2563-2566

าพการศึกษา

๒๕๖5

๒๕๖6

กษาและเป้าหมายหลักสูตร (มฐ.๑/1.2) าหมาย ฝ่าย แผน/โครงการ/ รับผิดชอบ กิจกรรม ๘๗

๘๘

มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้

งานวิชาการ 1.โครงการรักการอ่าน สืบสานภาษาไทย 2.โครงการส่งเสริม สุนทรียภาพ ศิลปะ ดนตรีและนาฏศิลป์ 2.โครงการโรงเรียน คุณธรรม งานบริหาร งานทั่วไป

มฐ1.2/2

3.โครงการเทิดทูน สถาบัน ชาติศาสนา พระมหากษัตริย์ และรักษ์วัฒนธรรมไทย 4.โครงการหนึ่งสมอง สองมือเด็กสร้างงาน

๔๔

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภา

1.ร้อยละของผู้เรียนยอมรับ และอยู่ร่วมกันบนความ แตกต่างระหว่างบุคคลในด้าน เพศ วัยเชื้อชาติศาสนา ภาษา วัฒนธรรม ประเพณี (3)

๒๕๖๔

ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และค่านิยมที่ดีมีทักษะชีวิตและ ความเป็นพลเมืองที่ดีตามที่ สถานศึกษากาหนดมีความภูมิใจ เห็นคุณค่าของความเป็นไทย สอดคล้องมาตรฐานการศึกษา และเป้าหมายหลักสูตร

๒๕๖๓

กลยุทธ์ที่ 2 จัดกิจกรรมส่งเสริมคุณลักษณะที่พึงประสงค์ที่สอดคล้องมาตรฐานการศึกษ เป้า เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ๘๕

๘๖

2563-2566

าพการศึกษา

๒๕๖5

๒๕๖6

กษาและเป้าหมายหลักสูตร (มฐ.๑/1.2) าหมาย ฝ่าย แผน/โครงการ/ รับผิดชอบ กิจกรรม ๘๗

๘๘

งาน บริหารงาน ทั่วไป

มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้

1.โครงการ สถานศึกษาพอเพียง 2.โครงการส่งเสริม ประชาธิปไตยใน โรงเรียน 3.โครงการเทิดทูน สถาบัน ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์และรักษ์ วัฒนธรรมไทย

มฐ.1 ๑.2/3

งานวิชาการ 4.โครงการส่งเสริม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 5.โครงการส่งเสริม สุนทรียภาพ ศิลปะ ดนตรีและนาฏศิลป์

๔๕

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภา

3. ร้อยละของผู้เรียนมีการ รักษาสุขภาพกายสุขภาพจิต อารมณ์ และสังคม และ แสดงออกอย่างเหมาะสมในแต่ ละช่วงวัยสามารถอยู่ร่วมกับคน อื่นอย่างมีความสุข เข้าใจผู้อื่น ไม่มีความขัดแย้งกับผู้อื่น(4)

๒๕๖๔

ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และค่านิยมที่ดีมีทักษะชีวิตและ ความเป็นพลเมืองที่ดีตามที่ สถานศึกษากาหนดมีความภูมิใจ เห็นคุณค่าของความเป็นไทย สอดคล้องมาตรฐานการศึกษา และเป้าหมายหลักสูตร

๒๕๖๓

กลยุทธ์ที่ 2 จัดกิจกรรมส่งเสริมคุณลักษณะที่พึงประสงค์ที่สอดคล้องมาตรฐานการศึกษ เป้า เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ๘๕

๘๖

2563-2566

าพการศึกษา

๒๕๖5

๒๕๖6

กษาและเป้าหมายหลักสูตร (มฐ.๑/1.2) าหมาย ฝ่าย แผน/โครงการ/กิจกรรม รับผิดชอบ ๘๗

๘๘

งานวิชาการ 1.โครงการส่งเสริม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 2.โครงการส่งเสริม สุนทรียภาพ ศิลปะ ดนตรีและนาฏศิลป์ งาน บริหารงาน ทั่วไป

มาตรฐาน/ตัว บ่งชี้ มฐ.1 ๑.2/4

3.โครงการโรงเรียนปลอดยา เสพติด 4.โครงการส่งเสริมสุขภาพ

๔๖

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภา

ยุทธศาสตร์ที ๒พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการการศึกษาอย่างมีประสิท มาตรฐานสากล

โรงเรียนมีเปูาหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจชัดเจน

ตัวชี้วัด 1.โรงเรียนกาหนดเปูาหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่ สถานศึกษากาหนดชัดเจน(1)

๒๕๖๔

เป้าประสงค์

(มฐ. เป้า

๒๕๖๓

มาตรฐานด้านการบริหารและการจัดการ มาตรฐานสากล กลยุทธ์ที่ 1 การจัดทาแผนการบริหารและจัดการของโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง

๘๕

๘๖

2563-2566

าพการศึกษา

ทธิภาพ ประสานความร่วมมือและสร้างเครือข่ายโรงเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนด สู่

๒๕๖5

๒๕๖6

.๒) าหมาย

๘๗

๘๘

ฝ่าย แผน/โครงการ/กิจกรรม รับผิดชอบ งานวิชาการ 1.โครงการประกัน คุณภาพภายใน

มาตรฐาน/ตัว บ่งชี้ มฐ.๒/1

๔๗

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภา

กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมและพัฒนาระบบบริหารและการจัดการคุณภาพของสถานศึกษาส

โรงเรียนส่งเสริมพัฒนาระบบ บริหารและการจัดการคุณภาพ ของสถานศึกษา เพื่อพัฒนา คุณภาพผู้เรียนทุกคน

ตัวชี้วัด 2.โรงเรียนมีระบบบริหาร จัดการคุณภาพของสถานศึกษา (2)

๒๕๖๔

เป้าประสงค์

๒๕๖๓

เป้า

100

100

าพการศึกษา

2563-2566

สถานศึกษา(มฐ.๒)

๒๕๖5

๒๕๖6

าหมาย

100

100

ฝ่าย แผน/โครงการ/กิจกรรม รับผิดชอบ งานงบ ประมาณ

1.โครงการบริหารงาน ตามนโยบาย กรุงเทพมหานคร

งาน วิชาการ

2.โครงการประกัน คุณภาพภายใน

มาตรฐาน/ตัว บ่งชี้ มฐ.๒/๒

งาน โครงการพัฒนาเครือข่าย บริหารงาน สัมพันธ์ชุมชนสังกัด กรุงเทพมหานคร ทั่วไป

๔๘

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

กลยุทธ์ที่ 3

แผนพัฒนาคุณภา

เพิ่มศักยภาพการจัดการศึกษาทุกคน (ปกติ+การศึกษาพิเศษเรียนร่ว

เป้าประสงค์

ตัวชี้วัด

๒๕๖๓

๒๕๖๔

เป้า

โรงเรียนส่งเสริมพัฒนาระบบ บริหารและการจัดการคุณภาพ ของสถานศึกษา เพื่อพัฒนา คุณภาพผู้เรียนทุกคน

3 โรงเรียนมีดาเนินงานพัฒนา วิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบ ด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุกกลุ่มเปูาหมาย(3)

๘๕

๘๖

กลยุทธ์ที่ 4 โรงเรียนพัฒนา

เสริมสร้างแรงจูงใจในความเป็นครูมืออาชีพ

โรงเรียนพัฒนาเสริมสร้าง แรงจูงใจในความเป็นครูมือ อาชีพ

ตัวชี้วัด 4..ร้อยละ ครูมีการพัฒนาให้มี ความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ(4)

๒๕๖๔

เป้าประสงค์

๒๕๖๓

เป้า

๘๕

๘๖

าพการศึกษา

2563-2566

วม)

๒๕๖5

๒๕๖6

าหมาย

๘๗

๘๘

๒๕๖5

๒๕๖6

าหมาย

๘๗

๘๘

ฝ่าย แผน/โครงการ/กิจกรรม รับผิดชอบ งาน วิชาการ

1.งานพัฒนาวิชาการ 2.งานจัดการศึกษา พิเศษ 3.โครงการพัฒนาวิจัยใน ชั้นเรียน

ฝ่าย แผน/โครงการ/กิจกรรม รับผิดชอบ งาน โครงการพัฒนาครูสู่ครู บริหารงาน มืออาชีพ ทั่วไป

มาตรฐาน/ตัว บ่งชี้ มฐ.2/3

มาตรฐาน/ตัว บ่งชี้ มฐ.2/4

งานบุคคล โครงการเสริมสร้างขวัญ และกาลังใจ

๔๙

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภา

๒๕๖๔

พัฒนาสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียนที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ เป้าหม เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ๒๕๖๓

กลยุทธ์ที่ 5

โรงเรียนพัฒนาระบบเทคโนโลยี และฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อ สนับสนุนการบริหารจัดการและ การจัดการเรียนรู้ที่มี ประสิทธิภาพโรงเรียน

6 จัดระบบเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อสนับสนุนการ บริหารจัดการและการจัดการ เรียนรู้

๒๕๖๔

5. โรงเรียนจัดสภาพแวดล้อม +2 +3 ทางกายภาพทั้งภายใน และ ภายนอกห้องเรียน และ สภาพแวดล้อมทางสังคม ที่เอื้อ ต่อการจัดการเรียนรู้ และมี ความปลอดภัย (5) กลยุทธ์ที่ 6 ส่งเสริมและพัฒนาระบบบริหารและการจัดการงานวิชาการและระบ เรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ เป้า เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ๒๕๖๓

โรงเรียนพัฒนาสภาพแวดล้อม ทางที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ และมีความปลอดภัย + เพิ่ม

๘๕

๘๖

2563-2566

าพการศึกษา

๒๕๖5

๒๕๖6

มาย(แหล่ง)

+4

+5

ฝ่าย แผน/โครงการ/กิจกรรม รับผิดชอบ งาน โครงการพัฒนา บริหารงาน สภาพแวดล้อมในการ ทางานของโรงเรียน ทั่วไป

มาตรฐาน/ตัว บ่งชี้ มฐ.๒/5

บบเทคโนโลยีและฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการ

๘๗

๒๕๖6

๒๕๖5

าหมาย

๘๘

ฝ่าย แผน/โครงการ/กิจกรรม รับผิดชอบ งาน วิชาการ

1.งานพัฒนาวิชาการ 2.โครงการประกัน คุณภาพภายใน

มาตรฐาน/ตัว บ่งชี้ มฐ.2/6

๕๐

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภา

กลยุทธ์ตามแผนยุทธศาสตร์(การศึกษาขั้นพื้นฐาน:ประถมศึกษา ม

ยุทธศาสตร์ที ๓ พัฒนาศักยภาพสมรรถนะและปฏิรูปการเรียนรู้ของครูและบุคล

1.ร้อยละของครูจัด กระบวนการเรียนรู้ผ่าน กระบวนการคิดและปฏิบัติ จริง และสามารถนาไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตได้(1)

๒๕๖๔

ครูมีความเป็นมืออาชีพใช้เทคนิค วิธีการสอนที่หลากหลาย เน้นผู้เรียน เป็นสาคัญผ่านกระบวนการคิดและ ปฏิบัติจริงและสามารถนาไป ประยุกต์ใช้ได้

๒๕๖๓

ผู้เรียนเป็นสาคัญ ผู้เรียนเป็ นสาคัญ านกระบวนการจัดการเรียนการสอน มาตรฐานด้ กลยุทธ์ที่๑. ส่งเสริมพัฒนาครูใช้เทคนิควิธีการสอนที่หลากหลายเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เป้า เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ๘๕

๘๖

2563-2566

าพการศึกษา

มัธยมศึกษา)

ลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานครสู่ความเป็นมืออาชีพ โดยจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้น

๒๕๖5

๒๕๖6

(มฐ.๓) าหมาย

๘๗

๘๘

ฝ่าย แผน/โครงการ/กิจกรรม รับผิดชอบ งาน วิชาการ

1.งานจัดการศึกษา พิเศษ 2.งานพัฒนาวิชาการ

มาตรฐาน/ตัว บ่งชี้ มฐ.3/ 1

๕๑

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภา

๒๕๖๔

ครูมีความเป็นมืออาชีพใช้เทคนิค วิธีการสอนที่หลากหลาย เน้นผู้เรียน เป็นสาคัญผ่านกระบวนการคิดและ ปฏิบัติจริงและสามารถนาไป ประยุกต์ใช้ได้

๒๕๖๓

กลยุทธ์ที่๑. ส่งเสริมพัฒนาครูใช้เทคนิควิธีการสอนที่หลากหลายเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เป้า เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด 2.ร้อยละของครูใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และ แหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการ เรียนรู้(2)

๘๕

๘๖

3.ร้อยละของครูมีการ บริหารจัดการชั้นเรียนเชิง บวก(3)

๘๕

๘๖

4.ร้อยละของครูมีการ ตรวจสอบและประเมิน ผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และ นาผลมาพัฒนาผู้เรียน(4)

๘๕

๘๖

าพการศึกษา

2563-2566

มาตรฐาน/ตัว บ่งชี้

๒๕๖6

ฝ่าย แผน/โครงการ/กิจกรรม รับผิดชอบ

๒๕๖5

(มฐ.๓) าหมาย

๘๗

๘๘

งาน วิชาการ

1.งานพัฒนาวิชาการ 2.โครงการพัฒนาและ ส่งเสริมการใช้แหล่ง เรียนรู้

มฐ.3/2

๘๗

๘๘

งาน วิชาการ

งานพัฒนาวิชาการ

มฐ.3/3

๘๗

๘๘

งาน วิชาการ

1.งานพัฒนาวิชาการ 2.โครงการพัฒนาวิจัยใน ชั้นเรียน

มฐ.3/4

๕๒

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภา

5.ร้อยละของครูมีการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อ พัฒนาและปรับปรุงการ จัดการเรียนรู้(5)

๒๕๖๔

ครูมีความเป็นมืออาชีพใช้เทคนิค วิธีการสอนที่หลากหลาย เน้นผู้เรียน เป็นสาคัญผ่านกระบวนการคิดและ ปฏิบัติจริงและสามารถนาไป ประยุกต์ใช้ได้

๒๕๖๓

กลยุทธ์ที่๑. ส่งเสริมพัฒนาครูใช้เทคนิควิธีการสอนที่หลากหลายเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เป้า เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ๘๕

๘๖

าพการศึกษา

2563-2566

๒๕๖5

๒๕๖6

(มฐ.๓) าหมาย

๘๗

๘๘

ฝ่าย แผน/โครงการ/กิจกรรม รับผิดชอบ งาน วิชาการ

งานพัฒนาวิชาการ

มาตรฐาน/ตัว บ่งชี้ มฐ.3/5

๕๓

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภา

๒๕๖๔

ครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนา ปรับปรุงการจัดการเรียนรู้

๒๕๖๓

กลยุทธ์ที่2. พัฒนาการจัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (PLC)ภายในโรงเรียน (มฐ.๓ เป้า เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด 1ร้อยละของครูใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และ แหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการ เรียนรู้(2)

๘๕

๘๖

2.ร้อยละของครูมีการ บริหารจัดการชั้นเรียนเชิง บวก(3) 3.ร้อยละของครูมีการ ตรวจสอบและประเมิน ผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และ นาผลมาพัฒนาผู้เรียน(4)

๘๕

๘๖

๘๕

๘๖

4.ร้อยละของครูมีการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อ พัฒนาและปรับปรุงการ จัดการเรียนรู้(5)

๘๕

๘๖

าพการศึกษา

2563-2566

มาตรฐาน/ตัว บ่งชี้

๒๕๖6

ฝ่าย แผน/โครงการ/กิจกรรม รับผิดชอบ

๒๕๖5

๓) าหมาย

๘๗

๘๘

งาน วิชาการ

งานพัฒนาวิชาการ

มฐ.๓/2

๘๗

๘๘

งาน วิชาการ

งานพัฒนาวิชาการ

มฐ.3/3

๘๗

๘๘

งาน วิชาการ

งานพัฒนาวิชาการ

มฐ.3/4

๘๗

๘๘

งาน วิชาการ

งานพัฒนาวิชาการ

มฐ.3/5

๕๔

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภา

กลยุทธ์ที่3 ส่งเสริมครูใช้สื่อและเทคโนโลยี

๒๕๖๓

๒๕๖๔

เป้าประสงค์

การศึกษาจากงานวิจัยเพื่อพัฒนาการ เป้า ตัวชี้วัด

ครูใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และ 2 ร้อยละของครูใช้สื่อ แหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้และ เทคโนโลยีสารสนเทศ และ พัฒนาการจัดการศึกษาจากงานวิจัย แหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการ เรียนรู้(2)

๘๕

๘๖

1.ร้อยละของครูมีการ ตรวจสอบและประเมิน ผู้เรียนอย่างเป็นระบบและ นาผลมาพัฒนาผู้เรียนด้วย งานวิจัยในชั้นเรียน(4)

๘๕

๘๖

๑. ร้อยละของครูมีการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อ พัฒนาและปรับปรุงการ จัดการเรียนรู้(5)

๘๕

๘๖

าพการศึกษา

2563-2566

๒๕๖5

๒๕๖6

รเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ าหมาย ฝ่าย รับผิดชอบ

แผน/โครงการ/ กิจกรรม

มาตรฐาน/ตัว บ่งชี้

๘๗

๘๘

งานวิชาการ งานพัฒนาวิชาการ

มฐ.3/2

๘๗

๘๘

งานวิชาการ 1.งานพัฒนาวิชาการ 2.โครงการพัฒนาวิจัย ในชั้นเรียน

มฐ.3/4

๘๗

๘๘

งานวิชาการ งานพัฒนาวิชาการ

มฐ.3/5

๕๕

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภา

กลยุทธ์ตามแผนยุทธศาสตร์(การศึกษาขั้นพื้นฐาน:ประถมศึกษา มัธยมศ

ยุทธศาสตร์ที ๔ จัดระบบประกันคุณภาพภายในที่มีคุณภาพ โดยเน้น กระบวนการ มาตรฐานด้านการประกันคุณภาพ

อาเซียน

โรงเรียนระบบการประกัน คุณภาพและมีคุณภาพตาม มาตรฐานที่กาหนด

ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัด การศึกษา

ตัวชี้วัด 1.ร้อยละความสาเร็จของ สถานศึกษาการวางระบบการ ประกันคุณภาพภายในของ สถานศึกษา ที่ส่งผลต่อคุณภาพ ผู้เรียนอย่างเป็นรูปธรรม มี ขั้นตอนอย่างชัดเจน 1.ร้อยละความสาเร็จของ สถานศึกษาการวางระบบการ ประกันคุณภาพภายในของ สถานศึกษาโดยผู้เกี่ยวข้องทุก ฝุาย อาทิ เครือข่ายผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชน/ท้องถิ่นให้ความร่วมมือ

๒๕๖๔

เป้าประสงค์

๒๕๖๓

เป้า

100

100

๘๕

๘๖

าพการศึกษา

2563-2566

ศึกษา)

รมีส่วนร่วม

แผน/โครงการ/ กิจกรรม

มาตรฐาน/ตัว บ่งชี้

๒๕๖6

ฝ่าย รับผิดชอบ

๒๕๖5

าหมาย

100

100

งานวิชาการ โครงการประกัน คุณภาพภายใน

มฐ.4

๘๗

๘๘

งาน บริหารงาน ทั่วไป

มฐ.4

โครงการสัมมนา เครือข่ายผู้ปกครอง เพื่อพัฒนาโรงเรียน

๕๖

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภา

โครงการ/กิจกรรม เพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษ การศึกษาขั้นพื้นฐาน: ประถมศึกษา มัธยมศึกษา โครงการ/กิจกรรม

1.งานการจัดการศึกษาพิเศษ 1.1. การเสริมทักษะช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจาวันสาหรับนักเรียนที่มีค ต้องการพิเศษเรียนร่วม 1.2. ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยสื่อสาหรับนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ เรีย 1.3. ศิลปะ ดนตรีบาบัด สาหรับนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ 2.งานพัฒนาวิชาการ 2.1 งานพัฒนาหลักสูตร 2.2 งานนิเทศภายใน 2.3 งานพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยี 2.4 งานวัดผลและประเมินผล 3.โครงการกิจกรรมจิตอาสา นักเรียนในโรงเรียนวัดหนองใหญ่ 3.1 กิจกรรมขยะเป็นเงินเป็นทอง 3.2 กิจกรรมให้ความรู้ 3R 3.3 กิจกรรมBig Cleanning Day 3.4 กิจกรรมทาสื่อประชาสัมพันธ์การนากลับมาใช้ใหม่ 4.โครงการธนาคารโรงเรียน 4.1 กิจกรรมธนาคารโรงเรียน

าพการศึกษา

2563-2566

ษา โรงเรียนวัดหนองใหญ่ สานักงานเขตสายไหม

ความ

ยนร่วม

ฝ่ายงาน บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานทั่วไป บริหารงานทั่วไป บริหารงานทั่วไป บริหารงานทั่วไป บริหารงานทั่วไป บริหารงานทั่วไป บริหารงานทั่วไป

ผู้รับผิดชอบ ครูเฉลิมศรี เจริญศิริ/ครูละลิตาหมั่นผดุง ครูเฉลิมศรี เจริญศิริ/ครูละลิตาหมั่นผดุง ครูเฉลิมศรี เจริญศิริ/ครูละลิตาหมั่นผดุง ครูเฉลิมศรี เจริญศิริ/ครูละลิตาหมั่นผดุง รองฯอาทิตย์วงศ์กาภู ครูกัญญากุลจรัสอนันต์ ครูฐิภัตชรีย์ดิษฐเที่ยง ครูมนตรีสาราญ ครูจารุวรรณพลศร ครูสุวรรณาอยู่คุ้ม ครูสุวรรณาอยู่คุ้ม ครูสุวรรณาอยู่คุ้ม ครูสุกัญญามาสาซ้าย ครูยุพาพรพิชัยช่วง ครูไพรวัลย์อัศฤกษ์ ครูจรรยงศรีอุบล ๕๗

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภา

โครงการ/กิจกรรม 5.โครงการบริหารงานตามนโยบายกรุงเทพมหานคร 5.1. ส่งเสริมกีฬานักเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร 5.2. เกษตรปลอดสารพิษ 5.3. เพิ่มศักยภาพยกระดับผลสัมฤทธิ์ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร 5.4. ภาษาอังกฤษเพื่อทักษะชีวิต 5.5. พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานค 5.6 เรียนดีเรียนฟรีอย่างมีคุณภาพ 5.7. ส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานเพื่อการเรียนรู้ 5.8. สอนภาษาจีน 5.9ว่ายน้าเป็นเล่นน้าปลอดภัย 5.10. ประชุมสัมมนาคณะกรรมการสถานศึกษา 6.โครงการประกันคุณภาพภายใน 6.1. กิจกรรมประกันคุณภาพภายใน 7.โครงการพัฒนาครูสู่ครูมืออาชีพ 7.1 กิจกรรมพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี 7.2กิจกรรมรายงานผลการอบรมสัมมนาของบุคลากรรายปี 7.3กิจกรรมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษสาหรับครู

าพการศึกษา

คร

2563-2566 ฝ่ายงาน บริหารฯงบประมาณ บริหารฯงบประมาณ บริหารฯงบประมาณ บริหารฯงบประมาณ บริหารฯงบประมาณ บริหารฯงบประมาณ บริหารฯงบประมาณ บริหารฯงบประมาณ บริหารฯงบประมาณ บริหารฯงบประมาณ บริหารฯงบประมาณ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานบุคคล บริหารงานบุคคล บริหารงานบุคคล บริหารงานบุคคล

ผู้รับผิดชอบ รองฯวีระพงษ์วงษ์ชาลี ครูพิพัฒน์ สิงห์เอี่ยม ครูโสภา เทพทอง ครูฐิภัตชรีย์ดิษฐเที่ยง ครูจิตรลดา มาตศรี ครูฐิภัตชรีย์ดิษฐเที่ยง รองฯวีระพงษ์วงษ์ชาลี ครูมนตรี สาราญ ครูศุจิวรรณ สาราญ ครูพงษ์สิทธิ์คาจันทร์ ครูจิรนันท์ คงจันทร์ ครูฐิภัตชรีย์ดิษฐเที่ยง /ครูภัทรจรินทร์พันธุ์วารีสกุล ครูฐิภัตชรีย์ดิษฐเที่ยง /ครูภัทรจรินทร์พันธุ์วารีสกุล รองจเรอบทอง รองอาทิตย์/ครูศิริกุลคาเป็ก ครูปาริฉัตรทิพย์สุริย์ ครูกุลชัย มหาวงค์

๕๘

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภา

โครงการ/กิจกรรม 8.โครงการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดและการสื่อสารสู่สากล 8.1 กิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์ 8.2 กิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์ 8.3 กิจกรรมส่งเสริมความเป็นเลิศทางคณิตศาสตร์ 8.4 Spark English in your mind. 8.5 กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์ 8.6 กิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ 8.7 กิจกรรมวันสันติภาพสากล 8.8 กิจกรรมค่ายภาษาอังกฤษ 8.9 กิจกรรมวันคริสต์มาส 8.10 กิจกรรมนิทรรศการวิชาการ 8.11 กิจกรรมค่ายคณิตศาสตร์ 8.12 English is fun 9.โครงการพัฒนาวิจัยในชั้นเรียน 9.1.กิจกรรมพัฒนาวิจัยในชั้นเรียน 10.โครงการพัฒนาสภาพแวดล้อมในการทางานของโรงเรียน 10.1 กิจกรรมพัฒนาสภาพแวดล้อมในการทางานของโรงเรียน

าพการศึกษา

2563-2566

ฝุายงาน บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานทั่วไป บริหารงานทั่วไป

ผู้รับผิดชอบ ครูราตรีเอี่ยมทอง/ ครูกุลชัยมหาวงศ์ ครูรจนาศิริโชตินันท์ ครูศิริพรปิติพัฒน์ ครูสรัชญาทิมแตง ครูสมศรีเพ็งน่วม ครูเสาวะรักษ์จักรนารายณ์ ครูมนตรีสาราญ ครูกุลชัยมหาวงศ์ ครูกุลชัยมหาวงศ์ ครูจิตรลดามาตศรี ครูรัตนอรฤทธิฉิม ครูกัญญากุลจรัสอนันต์ ครูศุจิวรรณ สาราญ ครูรัตนอรฤทธิฉิม ครูรัตนอรฤทธิฉิม ครูราตรีเอี่ยมทอง ครูราตรีเอี่ยมทอง

๕๙

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภา

โครงการ/กิจกรรม 11.โครงการพัฒนาและส่งเสริมการใช้แหล่งเรียนรู้ 11.1. พัฒนาแหล่งเรียนรู้ 11.2. ส่งเสริมให้นักเรียนใช้แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย

12.โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ 12.1. ส่งเสริมนักเรียนเรียนดี(ชิงทุน ป.2) 12.2. การทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐานระดับชาติ( O-NET, RT และ N 13.โครงการรักการอ่านสืบสานภาษาไทย 13.1. พัฒนาคุณภาพการอ่านของนักเรียนชั้นป.1- ม.3 13.2. ลูกรัก 13.3. บันทึกการอ่าน 13.4. ภาษาพาเพลิน 13.5. ลายมืองามตามแบบไทย 13.6. วันสุนทรภู่ 13.7. สัปดาห์ห้องสมุด 13.8. วันภาษาไทยแห่งชาติ 13.9. ค่ายภาษาไทย 13.10. สื่อสนุกสร้างสรรค์ภาษา

าพการศึกษา

NT)

2563-2566

ฝุายงาน บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ

ผู้รับผิดชอบ ครูศิริกุลคาเป็ก ครูศิริกุลคาเป็ก ครูศิริกุลคาเป็ก รองฯอาทิตย์วงศ์กาภู ครูวันดีสาริยธรรม ครูฐิภัตชรีย์ดิษฐเที่ยง/ครูจารุวรรณ พลศร ครูอุมาพรพันธะไชย ครูปาริฉัตร ทิพย์สุริย์ ครูสุวนิตย์พงษ์พานิช ครูวันดีสารยธรรม ครูจารุวรรณพลศร ครูทิพวรรณศิริสายสมบูรณ์ ครูศศิธรโพธิ์สังข์ ครูอัยวรรณมงคลพิทักษ์กุล ครูรุ่งนภากองทุ่งมน ครูวันเพ็ญวิจิตรกิ่ง ครูอุมาพรพันธะไชย ๖๐

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภา โครงการ/กิจกรรม

14.โครงการสถานศึกษาพอเพียง 14.1. กิจกรรมสถานศึกษาพอเพียง 15.โครงการสัมมนาเครือข่ายผู้ปกครองเพื่อพัฒนาโรงเรียน 15.1 กิจกรรมประชุมผู้ปกครอง 15.2กิจกรรมสร้างสรรค์สัมพันธ์ บ้าน วัดและชุมชน 16.โครงการส่งเสริมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (วิชาการ) 16.1 กิจรรมเข้าค่ายลูกเสือ-ยุวกาชาด 16.2 กิจกรรมห้องเรียนในโลกกว้าง 16.3กิจกรรมพิธีปฏิญาณตนและสวนสนามยุวกาชาด 16.4 กิจกรรมวันสถาปนาคณะลูกเสือแห่งชาติ /ยุวกาชาด 16.5กิจกรรมวันมหาธีรราชเจ้า 16.6กิจกรรมเข้าประจาหมู่ยุวกาชาด 17.โครงการส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน 17.1. กิจกรรส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน 18.โครงการส่งเสริมสุนทรียภาพศิลปะ ดนตรีและนาฏศิลป์ 18.1 กิจกรรมส่งเสริมศักยภาพนักเรียนด้านนาฏศิลป์ ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1-3 18.2 กิจกรรมพัฒนาความสามารถของนักเรียนด้านดนตรีสากล

าพการศึกษา

2563-2566

ฝ่ายงาน บริหารงานทั่วไป บริหารงานทั่วไป บริหารงานทั่วไป บริหารงานทั่วไป บริหารงานทั่วไป

ผู้รับผิดชอบ ครูโสภาเทพทอง ครูโสภาเทพทอง

บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานทั่วไป บริหารงานทั่วไป บริหารงานวิชาการ

ครูจีรนันท์คงจันทร์ ครูภัทร์จรินทร์พันธุ์วารีสกุล ครูไพรวัลย์ อัศฤกษ์ ครูพิพัฒน์สิงห์เอี่ยม ครูพิพัฒน์สิงห์เอี่ยม ครูยุพาพรพิชัยช่วง ครูวิชิตา ด่านปรีดา ครูทวนทองเนียมสวย ครูสุภรณ์ ชานาญดี ครูรุ่งนภากองทุ่งมน ครูสุวนิตย์พงษ์พานิช ครูสุวนิตย์พงษ์พานิช ครูรัตนอรฤทธิฉิม

บริหารงานวิชาการ

ครูสุวรรณีเมืองทอง

บริหารงานวิชาการ

ครูสุภรณ์ชานาญดี ๖๑

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภา

โครงการ/กิจกรรม 18.3 กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาทักษะด้านนาฏศิลป์ไทยสู่ความเป็นเลิศ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 18.4 กิจกรรมฝึกทักษะการเปุาขลุ่ยเพียงออ 18.5 กิจกรรมสร้างสรรค์งานศิลป์ 18.6 กิจกรรมวาดเส้นเล่นสี 19.โครงการหนึ่งสมองสองมือเด็กสร้างงาน 19.1 ค่ายพัฒนาอาชีพเพื่อการพึ่งพาตนเอง 19.2 กิจกรรมนักธุรกิจน้อย 20.โครงการเทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนาพระมหากษัตริย์และรักษ์วัฒนธรรมไทย 20.1 กิจกรรมวันวิสาขบูชา 20.2 กิจกรรมวันไหว้ครู 20.3 กิจกรรมวันอาสาฬหบูชา/วันเข้าพรรษา 20.4 กิจกรรมวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราช 20.5 กิจกรรมวันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระปรเมนทร รามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณฯพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว

าพการศึกษา

ชินี

2563-2566 ผู้รับผิดชอบ

ฝ่ายงาน บริหารงานวิชาการ

ครูรัตนอรฤทธิฉิม

บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานทั่วไป บริหารงานทั่วไป บริหารงานทั่วไป บริหารงานทั่วไป บริหารงานทั่วไป บริหารงานทั่วไป บริหารงานทั่วไป บริหารงานทั่วไป

ว่าที่ร.ต.ไพรวัลย์รอดทอง ครูเกษราทองใบใหญ่ ครูมณีรัตน์นิยมทอง ครูจรรยงศรีอุบล ครูจรรยงศรีอุบล ครูรัตนอรฤทธิฉิม ครูพรวินัสเคหารมย์ ครูสาทิพบัวบุตร ครูเบญจพร สุธารัตน์ ครูทวนทองเนียมสวย ครูกษิภณตรีเดชี

บริหารงานทั่วไป

ครูพิชชาภรณ์ทินวุฒิ

๖๒

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

โครงการ/กิจกรรม 20.6 กิจกรรมวันแม่แห่งชาติ 20.7 กิจกรรมวันพ่อแห่งชาติและวันชาติ 20.8 กิจกรรมตักบาตรวันขึ้นปีใหม่ 20.9 กิจกรรมวันมาฆบูชา 20.10 กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนามารยาทไทย 21.โครงการเสริมสร้างขวัญและกาลังใจ 21.1. กิจกรรมเสริมสร้างขวัญและกาลังใจ 21.2. กิจกรรมสัมมนา/ศึกษาดูงาน/ทัศนศึกษา 22.โครงการแนะแนวการศึกษาและพัฒนาคุณภาพชีวิต 22.1 กิจกรรมแนะแนวการศึกษาต่อ 22.2 กิจกรรมระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 22.3 กิจกรรมวันเอดส์โลก 22.4 กิจกรรมปัจฉิมนิเทศ 22.5 ทุนการศึกษา 23.โครงการโรงเรียนคุณธรรม 23.1 กิจกรรมปฏิบัติธรรมนาสุข 23.2 กิจกรรมแสดงตนเป็นพุทธมามกะ 23.3 กิจกรรมสอบธรรมศึกษาสนามหลวง

แผนพัฒนาคุณภา

าพการศึกษา

2563-2566

ฝ่ายงาน บริหารงานทั่วไป บริหารงานทั่วไป บริหารงานทั่วไป บริหารงานทั่วไป บริหารงานทั่วไป บริหารงานบุคคล บริหารงานบุคคล บริหารงานบุคคล บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานวิชาการ บริหารงานทั่วไป บริหารงานทั่วไป บริหารงานทั่วไป บริหารงานทั่วไป

ผู้รับผิดชอบ ครูศศิธรหอมยามเย็น ครูนนท์นาชิน ครูพรวินัสเคหารมย์ ครูสุกุลนันท์ณัจฉริยะมาศ ครูณิชนันท์แน่นนันท์ ครูเกษราทองใบใหญ่ ครูเกษราทองใบใหญ่ ครูเกษราทองใบใหญ่ ครูจุฑามาศศรีวิเศษ ครูจุฑามาศศรีวิเศษ ครูจุฑามาศศรีวิเศษ ครูพงษ์สิทธิ์คาจันทร์ ครูจุฑามาศศรีวิเศษ ครูสุวรรณี เมืองทอง ครูศศิธรหอมยามเย็น ครูสาทิพบัวบุตร ครูสาทิพบัวบุตร ครูทวนทองเนียมสวย ๖๓

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภา

โครงการ/กิจกรรม 24.โครงการโรงเรียนปลอดยาเสพติด 24.1 กิจกรรมรายงานNispa(เสริมภูมิคุ้มกันในการปูองกันและแก้ไขปัญห ยาเสพติด 24.2 กิจกรรมวันงดสูบบุหรี่โลก 24.3 กิจกรรมต่อต้านยาเสพติด 24.4 กิจกรรม To be number one 25.โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ 25.1 กิจกรรมกีฬาสี 25.2 กิจกรรมเด็กไทยไร้พุง 25.3 กิจกรรม Sport Day 25.4 กิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ 25.5 กิจกรรมกาจัดลูกน้ายุงลาย 25.6 กิจกรรมสัปดาห์ รักษาโรคฟัน 25.7ตรวจสุขภาพนักเรียน

าพการศึกษา

หา

2563-2566

ฝ่ายงาน บริหารงานทั่วไป บริหารงานทั่วไป บริหารงานทั่วไป บริหารงานทั่วไป

ผู้รับผิดชอบ ครูละลิตาหมั่นผดุง ครูละลิตาหมั่นผดุง ครูละลิตาหมั่นผดุง

บริหารงานทั่วไป

ครูละลิตาหมั่นผดุง ครูกุลชัยมหาวงศ์

บริหารงานทั่วไป บริหารงานทั่วไป บริหารงานทั่วไป บริหารงานทั่วไป บริหารงานทั่วไป บริหารงานทั่วไป บริหารงานทั่วไป บริหารงานทั่วไป

ครูกาญจนาภรณ์เปลี่ยนศรีเพ็ชร์ ครูไพรวัลย์อัศฤกษ์ ครูกาญจนาภรณ์เปลี่ยนศรีเพ็ชร์ ครูพงษ์สิทธิ์คาจันทร์ ครูไพรวัลย์อัศฤกษ์ ครูวิชิตาด่านปรีดา ครูกาญจนาภรณ์เปลี่ยนศรีเพ็ชร์ ครูกาญจนาภรณ์เปลี่ยนศรีเพ็ชร์

๖๔

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2563-2566

บทที่ 4 หลักการบริหารจัดการเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย หลักการ การบริหารจัดการพัฒนาโรงเรียนวัดหนองใหญ่ สร้างขึ้นเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนา โรงเรียนที่เป็นระบบ เพื่อให้ผู้บริหาร ครู บุคลากรของโรงเรียน เกิดความเข้าใจตรงกัน ในการนาวิสัยทัศน์ พันธกิจ เปูาประสงค์จากแผนพัฒนาฯไปสู่การปฏิบัติโดยจัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปี สร้างเสริมการมี ส่วนร่วมจากผู้ปกครอง ชุมชนและผู้เกี่ยวข้องในการพัฒนาผู้เรียน พัฒนาครู พัฒนาสภาพแวดล้อมโรงเรียน ไปสู่เปูาหมาย ซึ่งจะเห็นว่าผลสัมฤทธิ์ของแผนพัฒนาจะเกิดขึ้นได้จากการประสานงานร่วมมือกันภายใต้การ บริหารงานโดยใช้หลักการบริหารแบบธรรมาภิบาลที่เน้นหลักนิติธรรม คุณธรรม เน้นการมีส่วนร่วมในการ บริหารงาน มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้และหลักความคุ้มค่า เน้นการนาระบบข้อมูลสารสนเทศและ เทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้เพื่อให้การปฏิบัติงานเกิดประสิทธิภาพเกิดประสิทธิผลสูงสุดต่อผู้เรียน โดยมีระบบการ วางแผนงานที่ชัดเจน การมอบหมายงาน การติดตามผลและการส่งเสริมขวัญกาลังใจในการปฏิบัติงานและมีการ ประเมินผลการดาเนินกิจกรรม/โครงการตามแผนงานอย่างต่อเนื่อง (PDCA) แนวทางการบริหารแผนพัฒนาโรงเรียนไปสู่การปฏิบัติ 1. สร้างความเข้าใจแก่ครูและบุคลากรของโรงเรียนวัดหนองใหญ่ เพื่อนาพันธกิจในแผนพัฒนา ไป จัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปีของโรงเรียนโดยกระจายลงสู่การจัดโครงการ/กิจกรรม เพื่อตอบสนอง แผนพัฒนาของโรงเรียน นโยบายกรุงเทพมหานครตามภารกิจที่กาหนดในแผนฯ ตามหน้าที่ความรับผิดชอบ ของแต่ละฝุาย รวมทั้งการติดตามผลและรายงานผล โดยการจัดประชุมชี้แจง/สัมมนาที่เหมาะสมเพื่อสรุปเป็น ปฏิทินการปฏิบัติราชการประจาปีแต่ละปีการศึกษา 2. การนาแผนไปสู่การปฏิบัติ โดยการสร้างความเข้าใจที่ตรงกันถึงแนวทางการปฏิบัติโครงการ/ กิจกรรม และความสัมพันธ์ของโครงการกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ เปูาหมายของแต่ละแผนงานในแผนพัฒนา ซึ่งใน การดาเนินโครงการจะต้องเริ่มจากการร่วมกันวางแผนกาหนดเปูาหมาย แนวดาเนินการอย่างชัดเจน แล้วจึง ปฏิบัติงานตามแผนดาเนินโครงการ/กิจกรรม มีการติดตามประเมินผลตลอดโครงการ/กิจกรรม เพื่อสรุปนาเสนอ ต่อฝุายงานที่รับผิดชอบต่อไป 3. การเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน กล่าวคือผู้บริหารโรงเรียนจัดให้มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อ ต่อการจัดโครงการ/กิจกรรม การสร้างขวัญกาลังใจในการปฏิบัติงานเพื่อให้การปฏิบัติงานประสบความสาเร็จ ตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ผู้บริหารจะเป็นผู้อานวยการสนับสนุนการจัดโครงการ/กิจกรรมให้ดาเนินตาม แผนงานที่วางไว้ อีกทั้งกากับ ติดตามผลการปฏิบัติงานให้ดาเนินตามแผนการปฏิบัติงานของแต่ละโครงการ/ กิจกรรม

๖๕

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2563-2566

4. การติดตามและประเมินผล จัดทาแผนการปฏิบัติราชการประจาปีที่สอดคล้องกับแผนพัฒนา โรงเรียน โดยมอบหมายให้ผู้รับผิดชอบโครงการ สรุปผลโครงการ/กิจกรรมตามแบบรายงานสรุปผลของ โครงการตามที่กาหนดหลังจากเสร็จสิ้นโครงการ/กิจกรรมแล้วนาเสนอต่อฝุายงานบริหารที่เกี่ยวข้องเพื่อสรุป แผนงานของแต่ละฝุาย ซึ่งจะมีคณะกรรมการติดตามผลการปฏิบัติโครงการจัดทาสรุปการปฏิบัติงานของ โรงเรียนและจัดทารายงานการปฏิบัติราชการประจาปี เสนอให้คณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการ เครือข่ายผู้ปกครองเห็นชอบ แล้วรายงานการผลการประเมินตนเองของโรงเรียนวัดหนองใหญ่ (SAR) เสนอต่อ สานักการศึกษา กรุงเทพมหานครต่อไป (หน่วยงานต้นสังกัด)

๖๖

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2563-2566

เอกสารอ้างอิง กลุ่มงานพัฒนามาตรฐานและการประกันคุณภาพสานักงานยุทธศาสตร์การศึกษาสานักการศึกษา. เอกสารเผยแพร่ การประกันคุณภาพการศึกษา สรุปผลการประเมินภายนอกรอบสาม (พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๕๘) ของสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร.กรุงเทพฯ.๒๕๕๙. สานักการศึกษากรุงเทพมหานคร.แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพมหานคร ฉบับที่ ๒ ( ๒๕๖๐ – ๒๕๖๓ ).กรุงเทพฯ.๒๕๕๘ สานักการศึกษากรุงเทพมหานคร.รายงานการประเมินผลแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๕๙.กรุงเทพฯ.๒๕๕๙. สานักงานศึกษาธิการภาค ๑๓ กระทรวงศึกษาธิการ.(ร่าง)รายงานทิศทางการพัฒนาการศึกษา ระดับภาคการศึกษากรุงเทพมหานคร ในช่วงปีพ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๙.กรุงเทพฯ.๒๕๕๙. สานักงานรัฐมนตรี.แนวทางการปฏิรูปการศึกษา.รายละเอียดแสดงใน http://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=45500&Key=news20. 1 มิถุนายน 2559. สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ, กรอบทิศทางแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๔, กรุงเทพฯ.๒๕๕๙. สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ,แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579, กรุงเทพฯ .2560

๖๗

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2563-2566

ภาคผนวก

๖๘

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2563-2566

คาสั่งโรงเรียนวัดหนองใหญ่ ที/่ ๒๕๖3 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการจัดทาปรับปรุงแผนพัฒนาคุณภาพโรงเรียนวัดหนองใหญ่ (๒๕๖3-๒๕๖6)และแผนปฏิบัติการประจาปี 2563 ……………………………………………………………………………………………..…………………………………………………....………….

ด้วยโรงเรียนวัดหนองใหญ่ ดาเนินการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพโรงเรียน (2563-2566) แผนปฏิบัติการ ประจาปี 2563 เพื่อให้การดาเนินเป็นไปด้วยเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ ขอแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทาแผนพัฒนา คุณภาพการศึกษา และ แผนปฏิบัติการประจาปี 2563 ดังต่อไปนี้ ๑. นางอุบล ศรีทองสุข ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ปรึกษา

2. นางปริษา ทองช่างเหล็ก ผู้อานวยการสถานศึกษา โรงเรียนวัดหนองใหญ่ ประธาน 3. นายวีรพงษ์ วงษ์ชาลี รองผู้อานวยการสถานศึกษาฝุายงบประมาณ กรรมการ 4. นายจเร อบทอง รองผู้อานวยการสถานศึกษาฝุายบริหารทั่วไป/บุคคลกรรมการ 5. นายไพรวัลย์ อัศฤกษ์ ครู คศ.3 หัวหน้างานบุค คล หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา กรรมการ 6. นางสาวจรรยง ศรีอุบล ครู คศ.3 หัวหน้างานงบประมาณ กรรมการ 7. นายพิพัฒน์ สิงห์เอี่ยม ครู คศ.2(3) หัวหน้างานบริหารทั่วไป หัวหน้ากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กรรมการ 8. นางสาวอุมาพร พันธะไชย ครคศ.3 หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย กรรมการ 9. นางกัญญา กุลจรัสอนันต์ ครคศ.3 หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ กรรมการ 10.นางเสาวะรักษ์ จักรนารายณ์ครคศ.3 หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กรรมการ 11.นางพิชชาภรณ์ ทินวุฒิ ครคศ.3 หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กรรมการ 12.นางรัตนอรฤทธิฉิม ครคศ.2 หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ กรรมการ ๑3.นางโสภา เทพทอง ครคศ.3 หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ กรรมการ ๑4.นางสาวจิตรลดา มาตศรี ครคศ.2 หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศกรรมการ ๑5.นางสาวภัทร์จรินทร์ พันธุ์วารีสกุล ครู คศ.2 หัวหน้าสายชั้นอนุบาล 1 กรรมการ 16.นางสาวเบญจมาศ ครุฑธะกะครู คศ.2 หัวหน้าสายชั้นอนุบาล 2 กรรมการ

๖๙

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2563-2566

17.นายมนตรี สาราญ ครู คศ.2 หัวหน้าสายชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 กรรมการ 18.นางสุวรรณี เมืองทอง ครู คศ.2 หัวหน้าสายชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 กรรมการ 19.นางกาญจนา มุ่งดี ครู คศ.3 หัวหน้าสายชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 กรรมการ 20.นางศุจิวรรณ สาราญ ครู คศ.2 หัวหน้าสายชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 กรรมการ 21.นางสาวสรัชญา ทิมแตง ครู คศ.2 หัวหน้าสายชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 กรรมการ 22.นางเกษรา ทองใบใหญ่ ครู คศ.3 หัวหน้าสายชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กรรมการ 23.นางอัยวรรณ มงคลพิทักษ์กุลครูคศ.2 หัวหน้าสายชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กรรมการ 24.นางสาวเบญจพร สุธารัตน์ ครูผู้ช่วย หัวหน้าสายชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กรรมการ 25.นางสาวศิริพร ปิติพัฒน์ ครู คศ.3 หัวหน้าสายชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กรรมการ

2

26.ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกท่าน กรรมการ 27.นายอาทิตย์ วงศ์กาภูรองผู้อานวยการสถานศึกษา ฝุายวิชาการ กรรมการและเลขานุการ 28.นางฐิภัตชรีย์ดิษฐเที่ยง ครู คศ.3 หัวหน้างานวิชาการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 9.นางสาวยุพาพร พิชัยช่วง ครูผู้ช่วย กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

ทั้งนี้ ให้ผู้ได้รับแต่งตั้งปฏิบัติหน้าที่ด้วยความมุ่งมั่น เสียสละ รับผิดชอบ และองค์กรเป็นสาคัญ สั่ง ณ วันที่ ๑

เพื่อประสิทธิภาพของผู้เรียน

เดือน กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖3

(นางปริษา ทองช่างเหล็ก) ผู้อานวยการสถานศึกษา โรงเรียนวัดหนองใหญ่

๗๐

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2563-2566

๗๑

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2563-2566

๗๒

Get in touch

Social

© Copyright 2013 - 2024 MYDOKUMENT.COM - All rights reserved.